8. Homelands: indigenous
Territories and Sovereignty
8. บ้านเกิด : อาณาเขตและอธิปไตยของชนพื้นเมืองดั้งเดิม
“The
coal is the liver of the earth,” says Roberta Blackgoat of Black Mesa in Arizona.
“When you take it out, she dies.”[1]141
Throughout the Americas, indigenous communities are working to protect and heal
the blood and bones, the liver and heart, and the whole of the earth.
“ถ่านหินเป็นตับของพิภพโลก”,
โรเบอร์ตา แบล็กโกท แห่ง แบล็กเมซา ในอริโซนา, กล่าว. “เมื่อไรที่คุณเอามันออกมา, เธอตาย”. ทั่วทั้งทวีปอเมริกา,
ชุมชนพื้นเมืองดั้งเดิมกำลังทำงานเพื่อปกป้องและเยียวยาเลือดและกระดูก,
ตับและหัวใจ, และองค์รวมของพิภพโลก.
In
Latin America today, some of the largest political mobilizations against
corporate exploitation of land are from indigenous peoples, organizations, and
movements. So, too, are the most developed strategies for alternative
political, cultural, and environmental approaches – alternative to the norm, though
for indigenous peoples they are often traditional. In some instances,
indigenous peoples have forced protective laws through their country’s
governments. In others, they have thwarted free-trade pacts and ousted
corporations. In yet others, they have renounced national government and asserted
self-governance.
ในลาตินอเมริกาทุกวันนี้,
การขับเคลื่อนทางการเมืองที่ใหญ่ที่สุดที่ต่อต้านการผลาญที่ดินโดยบรรษัท
จากชนพื้นเมืองดั้งเดิม, องค์กร, และขบวนการต่างๆ.
แล้วก็เป็นยุทธศาสตร์ที่พัฒนามากที่สุดสำหรับชนแนวทางการเมือง, วัฒนธรรม, และสิ่งแวดล้อมทางเลือก—ทางเลือกของบรรทัดฐาน,
แม้ว่าสำหรับชนพื้นเมืองดั้งเดิม มักจะเป็นประเพณีดั้งเดิม. ในบางกรณี,
ชนพื้นเมืองดั้งเดิมได้บังคับใช้กฎหมายคุ้มครองผ่านรัฐบาลของประเทศของตน. ในกรณีอื่นๆ, พวกเขาได้สกัดกั้นข้อตกลงการค้าเสรี
และ ขับไล่บรรษัท. แต่ยังมีกรณีอื่นๆ
ที่พวกเขาปฏิเสธรัฐบาลแห่งชาติและยืนกรานการปกครองตนเอง.
“The
words conservation and ecology, as we use them in the Western sense, don’t
exactly fit what Indian people did or do with the land. It was their
livelihood, which depended on reciprocity. Thus, the trees were not seen just
as trees, they were also relatives. The trees are relatives and other species
are relatives and they watched you all the time. It was a forest of eyes that
looked at you to see how you were handling the remains of plants and
animals.”
—
Dennis Martinez, O’odham writer. teacher, and founder of Indigenous Peoples’
Restoration Network[2]142
“คำว่า อนุรักษ์ และ นิเวศ,
ดังที่เราใช้มันในความรู้สึกของชาวตะวันตก,
ไม่เข้ากันเหมาะเจาะกับสิ่งที่ชาวอินเดียนกระทำในอดีตหรือปัจจุบันกับผืนดิน. มันเป็นวิถีชีวิตของพวกเขา,
ที่ขึ้นอยู่กับการแลกเปลี่ยนพึ่งพาอาศัยกัน.
ดังนั้น, ต้นไม้ไม่ถูกมองว่าเป็นเพียงต้นไม้, พวกเขาเป็นญาติด้วย. ต้นไม้เป็นญาติ และ สายพันธุ์อื่นก็เป็นญาติ
และพวกเขาเฝ้ามองคุณอยู่ตลอดเวลา.
มันเป็นป่าแห่งดวงตาที่มองดูคุณ
เพื่อดูว่าคุณจัดการกับซากของต้นไม้และสัตว์อย่างไร”.
-เดนนิส มาร์ติเนส, โอ’โอธาม, นักเขียน, ครู, และ ผู้ก่อตั้ง เครือข่ายฟื้นฟูชนพื้นเมืองดั้งเดิม
|
The
current territories of indigenous peoples cover an estimated 20 percent of the
earth’s land[3]143
and as much as 85 percent of the earth’s protected areas[4]144
– the single greatest concentration of unexploited natural resources on the
planet. Indigenous lands are thus a prime target for corporations, governments,
and large landowners who are seeking to privatize and extract natural resources
for profit. One of the most widespread exploitations of the land is the drilling
and mining for oil, gas, and coal in order to fuel an insatiable global demand for
energy. Other riches that are targets for appropriation are minerals, water,
forests, seeds, human genetic information, medicinal plants, animals, and
indigenous knowledge itself, otherwise known as intellectual property rights.
อาณาเขตชนพื้นเมืองดั้งเดิมในปัจจุบัน
ครอบคลุมโดยประเมิน 20% ของผืนดินบนพิภพโลก และ 85% เป็นเขตสงวนของโลก—นับเป็นการกระจุกตัวที่ยิ่งใหญ่ที่สุดอันเดียวของทรัพยากรธรรมชาติบนโลกที่ไม่ถูกถลุง. แดนชนพื้นเมืองดั้งเดิม จึงเป็นเป้าแรกของบรรษัท,
รัฐบาล, และเจ้าของที่ดินรายใหญ่
ผู้แสวงหาทางแปลงและสกัดทรัพยากรธรรมชาติให้เป็นกำไรเอกชน. การผลาญที่ดินที่แพร่หลายมากที่สุด คือ
การขุดเจาะและทำเหมืองเพื่อน้ำมัน, แก๊ส, และถ่านหิน
เพื่อผลิตเป็นเชื้อเพลิงป้อนความต้องการพลังงานระดับโลกที่ไม่รู้จักอิ่ม
(เปรต???). ความรุ่มรวยอื่นๆ
ที่เป็นเป้าของการจัดสรร คือ แร่ธาตุ, น้ำ, ป่า, เมล็ด, ข้อมูลสายพันธุ์ของมนุษย์,
สมุนไพรรักษาโรค, สัตว์, และ องค์ความรู้ของชนพื้นเมืองดั้งเดิมเอง, ซึ่งในแง่อื่น
เป็นที่รู้จักในฐานะ สิทธิทางปัญญา.
Beyond
stealing, resource-extracting industries leave behind heavy casualties: toxic
oil spills, dirty rivers, drought from deforestation, floods from dams, altered
ecosystems, human displacement, and health epidemics. Companies with no
accountability to the communities in which they operate often choose to pollute
and risk potential fines rather than to pay the higher costs necessary to
change their practices and reduce their impact. Many harmful projects done in
the name of ‘development’ are financed by the World Bank and Inter-American Development
Bank, and facilitated by the rules of the WTO and free-trade treaties.
โพ้นจากการขโมย,
อุตสาหกรรมสกัดทรัพยากรได้ทิ้งความตายไว้ข้างหลัง เช่น พิษน้ำมันที่หกกระเด็น,
แม่น้ำสกปรก, ความแห้งแล้งจากการทำลายป่าไม้, น้ำท่วมจากเขื่อน, ระบบนิเวศที่ถูกเปลี่ยน,
การขับไล่ย้ายคน, และโรคระบาด.
บริษัทไม่มีพันธะผูกพันใดๆ กับชุมชนในที่ๆ พวกเขาดำเนินกิจการ
มักจะเลือกสร้างมลพิษและเสี่ยงการถูกปรับ
แทนที่จะจ่ายเพิ่มต้นทุนอันจำเป็นต่อการปรับเปลี่ยนวิธีปฏิบัติและลดผลกระทบของพวกเขา. หลายๆ โครงการอันตรายกระทำในนามของ ‘การพัฒนา’ ได้รับการสนับสนุนทางการเงินจากธนาคารโลก
และ ธนาคารระหว่างอเมริกัน, และอำนวยความสะดวกโดยกฎของ องค์การค้าโลก และ
ข้อตกลงการค้าเสรี.
Courtesy of
Groundswell International / At this seed fair, people celebrate and exchange
recovered native varieties in the Ecuadorian highland community of Tzimbuto.
ณ ที่งานเมล็ด,
ประชาชนฉลองและแลกเปลี่ยนสายพันธุ์พื้นเมืองที่ฟื้นคืนมา ใน ชุมชนที่สูงอีกัวดอร์
แห่ง ซิมบูโต.
Now,
increasingly, indigenous lands are also being targeted as places to grow
biofuel crops like oil palms, jatropha, and genetically engineered trees. Vast
plantations of these crops strip the land of rich biodiversity and replace it
with monocultures, triggering a host of ecological consequences. They also divert
precious land and water from their essential survival uses, sometimes
triggering food crises.
ตอนนี้,
แดนพื้นเมืองดั้งเดิมกำลังกลายเป็นเป้ามากขึ้น เพื่อใช้ปลูกพืชเชื้อเพลิงชีวภาพ
เช่น น้ำมันปาล์ม, jatropha, และต้นไม้ จีอี (ผ่านวิศวกรรมตัดแต่งสายพันธุ์). สวนพาณิชย์แปลงมหาศาลของพืชเหล่านี้
เปลื้องความรุ่มรวยหลากหลายทางชีวภาพ และ แทนที่มันด้วยพืชเชิงเดี่ยว,
เป็นจุดชนวนให้เกิดผลพวงเชิงนิเวศ.
พวกเขายังผันแผ่นดินอันล้ำค่าและแหล่งน้ำให้เหินห่างจากการใช้เพื่อความอยู่รอด,
บางทีก็จุดชนวนให้เกิดวิกฤตอาหาร.
“The
Okanagan word for ‘our place on the land’ and ‘our language’ is the same. We also
refer to the land and our bodies with the same root syllable… The soil, the water,
the air, and all the other life forms contributed parts to be our flesh. We
are our land/place.”
—
Jeannette Armstrong, Okanagan, Canadian author and activist[5]145
“คำภาษา โอคานากาน สำหรับความหมายว่า
‘ที่ของพวกเราบนแผ่นดิน’ และ ‘ภาษาของเรา’ เป็นคำเดียวกัน.
เรายังเอ่ยถึงแผ่นดินและร่างกายของเราด้วยรากพยางค์เดียวกัน...ดิน, น้ำ,
อากาศ, และสรรพสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
ทั้งหมดที่มีคุณูปการต่อบางส่วนของเนื้อหนังของเรา. เราเป็นแผ่นดินของพวกเรา”.
-เจนเน็ต อาร์สตรอง,
โอคานากาน, นักเขียนชาวแคนาดา และ นักกิจกรรม
|
Most
indigenous movements in Latin America, as elsewhere, want to sustain or rebuild
their own government structures. Especially since the 1980s, indigenous struggles
to control and protect their lands have been embedded in two broader goals. The
first is the right to self-government, to determine and administer their
economic, educational, judicial, and food and agricultural systems. The second
is the right to territory, meaning everything under, on, and over the land, as
well as the political space to exercise control of it. These rights, they say,
are not given by the state, but rather are intrinsic.
การขับเคลื่อนของชนพื้นเมืองดั้งเดิมส่วนใหญ่ในลาตินอเมริกา,
เช่นเดียวกับที่อื่นๆ,
ต้องการธำรงหรือก่อโครงสร้างของรัฐบาลของตนเองขึ้นใหม่. โดยเฉพาะอย่างยิ่งตั้งแต่ทศวรรษ 1908s, การต่อสู้ของชนพื้นเมืองดั้งเดิมเพื่อควบคุมและปกป้องแผ่นดินของพวกเขา
ได้ฝังอยู่ในสองเป้าหมายกว้างๆ. เป้าแรก
คือ สิทธิในการปกครองตนเอง, เพื่อตัดสินและบริหารระบบเศรษฐกิจ, การศึกษา,
การพิจารณาคดี, และอาหารและเกษตรของพวกเขาเอง.
เป้าที่สอง คือ สิทธิเหนืออาณาเขต, หมายถึง ทุกสิ่งภายใต้, บน,
และเหนือแผ่นดิน, ตลอดจนพื้นที่ทางการเมือง เพื่อใช้ควบคุมมัน. สิทธิเหล่านี้, พวกเขากล่าว, รัฐไม่ได้ให้,
แต่อยู่ในธรรมชาติแล้ว.
In
some cases, indigenous peoples have simply declared their land autonomous, and begun
to recognize only their own government. They are also mobilizing to change national
government and global economic policies, working with other indigenous and social
movements through direct action and political pressure. They commonly employ tactics
of marches, road-blocks, sit-ins, and extra-legal tactics. Less often, they
engage in lawsuits and lobbying.
ในบางกรณี, ชนพื้นเมืองดั้งเดิมเพียงแต่แถลงว่า ดินแดนของเขาปกครองตนเอง,
และก็เริ่มยอมรับเพีบงรัฐบาลของพวกเขาเอง.
พวกเขายังขับเคลื่อนให้เปลี่ยนนโยบายเศรษฐกิจของชาติและของโลก,
ทำงานกับขบวนการอื่นๆ ทางสังคมและของชนพื้นเมืองดั้งเดิม
ด้วยวิธีปฏิบัติการตรงและสร้างแรงกดดันทางการเมือง. พวกเขามักใช้วิธีเดินขบวน, ขวางถนน,
นั่งประท้วง, และกลยุทธนอกกฎหมาย.
ไม่บ่อยนักที่พวกเขาใช้การฟ้องร้องและการล็อบบี้.
A
Global Inspiration: Zapatista Autonomy in Southern Mexico
แรงบันดาลใจระดับโลก
: การปกครองตนเอง ซาปาติสตา ในเม็กซิโกตอนใต้
The
Zapatistas, a Mayan movement in southern Mexico, have served as an
international model of indigenous autonomy and protection of lands and culture.
The Zapatistas burst onto the front page of world news with their armed
uprising on January 1, 1994 – the same day the North American Free Trade
Agreement went into effect, and only months after the Mexican president modified
the country’s constitution to allow the open-market sale of ejidos, or communal
lands. With their declaration “Ya basta!” or “Enough already!”, the Zapatistas
rocked Mexico’s stable neoliberal rule and catalyzed similar anti-globalization
movements around the globe.
ซาปาติสตาส์,
เป็นขบวนการขับเคลื่อนของชาวมายันในตอนใต้ของเม็กซิโก,
ได้ทำหน้าที่เป็นต้นแบบระหว่างประเทศของความเป็นเอกราชของชนพื้นเมืองดั้งเดิมและปกป้องแผ่นดินและวัฒนธรรม. ซาปาติสตาส์
โพล่งใส่หน้าแรกของข่าวโลกด้วยการลุกจับอาวุธขึ้นสู้เมื่อวันที่ 1 มกราคม 1994—วันเดียวกับที่ นาฟตา
(ข้อตกลงการค้าเสรีแห่งอเมริกาเหนือ) มีผลบังคับใช้,
และเพียงไม่กี่เดือนหลังจากประธานาธิบดีเม็กซิโก ได้ปรับรัฐธรรมนูญของประเทศ
ให้อนุญาตให้มีตลาดเปิดขาย ejidos, หรือ แดนร่วมชุมชน
(ชุมชนมีสิทธิ์ใช้ร่วมกัน แต่ไม่มีโฉนด). ด้วยคำประกาศของพวกเขา “Ya
basta!” หรือ “พอได้แล้ว!”
ซาปาติสตาส์เขย่าการปกครองเชิงเสรีนิยมใหม่ที่เสถียรของเม็กซิโก และ
กระตุ้นการเคลื่อนไหวที่เหมือนกับการต่อต้านโลกาภิวัตน์ทั่วโลก.
After
several years of negotiating and pressuring the government to respect their
rights to self-governance and control of their own lands and people, in 2001 the
Zapatistas publically declared their autonomy. They created 32 autonomous municipalities
spanning the state of Chiapas. Each municipality elects its own governing council
to oversee the territories and serve as courts, often using principles of
restorative justice, which focuses on reintegrating people back into the
community instead of imprisoning them. They have created community infrastructure,
including hospitals and clinics, independent media, warehouses to store crops,
cooperatives, and Mayan-language schools. An autonomous Zapatista banking
system provides capital for new community projects. All of this has been done
using participatory democracy, where everyone is – in theory, anyway – an
active part of decision-making. The government has violently attacked Zapatista
communities over and over, yet the movement perseveres and thrives.
หลังจากต่อรองและกดดันหลายปี
ให้รัฐบาลเคารพต่อสิทธิในการปกครองตนเองและควบคุมดินแดนและประชาชนของพวกเขาเอง,
ในปี 2001 ซาปาติสตาส์
ได้ประกาศตัวในที่สาธารณะถึงความเป็นเอกเทศของตน.
พวกเขาได้สร้างเทศบาลที่ปกครองตนเอง 32 แห่ง
กระจายไปทั่วรัฐ ชิอปาส. แต่ละเทศบาลเลือกตั้งสภาปกครองของตนเอง
เพื่อดูแลอาณาเขตและทำหน้าที่ศาล,
โดยมักจะใช้หลักการยุติธรรมแบบทำให้คืนสู่สภาพปกติ,
ซึ่งเน้นที่ผนวกประชาชนกลับเข้าสู่ชุมชน แทนที่จะกักขังพวกเขา. พวกเขาได้สร้างระบบสาธารณูปโภคชุมชน,
รวมทั้งโรงพยาบาลและคลินิก, สื่ออิสระ, โกดังเพื่อเก็บพืชผล, สหกรณ์,
และโรงเรียนใช้ภาษามายัน. ทั้งหมดนี้
กระทำการด้วยวิธีประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม, ที่ๆ ทุกคน, ในทางทฤษฎี,
เป็นส่วนหนึ่งในเชิงรุกของการกระบวนการตัดสินใจ.
รัฐบาลได้โจมตีชุมชนซาปาติสตาส์อย่างรุนแรง ครั้งแล้วครั้งเล่า,
แต่ขบวนการยังคงมานะบากบั่นด้วยความมุ่งมั่น และ เจริญรุ่งเรืองดี.
“In
the heart of the Earth, in the place where the sun shines directly, we say
that the territories we inhabit are ours due to time, history and rights.”
—
From the final declaration of the Second Continental Summit of Indigenous
Peoples and Nationalities of Abya Yala, Quito, Ecuador, July 25, 2004
“ในหัวใจของพิภพโลก, ในที่ๆ
พระอาทิตย์ฉายแสงส่องตรงลงมา, พวกเราบอกว่า อาณาเขตที่พวกเราอยู่อาศัย
เป็นของพวกเราด้วยเหตุแห่งกาลเวลา, ประวัติศาสตร์ และ สิทธิ์”.
-จากคำประกาศครั้งสุดท้ายของการประชุมสุดยอดระดับทวีปของชนพื้นเมืองดั้งเดิม
และ ชนชาติต่างๆ แห่ง Abya
Yala, Quito, Ecuador, วันที่ 25 กรกฎาคม
2004
|
Allison Manuel
/ A mural depicts Mexican revolutionaries Ricardo Flores Magón, Emiliano
Zapata, and Subcommander Marcos in a Mayan Zapatista community in Chiapas,
Mexico.
ภาพเขียนบนฝาผนังแสดงถึงนักปฏิวัติเม็กซิกัน
ริคาร์โด ฟลอเรส มากอง, เอมิลิอโน ซาปาตา, และ รองผู้บัญชาการ มาร์กอส ในชุมชน
มายัน ซาปาติสตา ใน ชิอปาส, เม็กซิปาส
Apples
and Zapatistas[6]146
แอปเปิลและซาปาติสตาส์
The
following excerpt is from the book Conversations with Durito: Stories of the
Zapatistas and Neoliberalism by Subcomandante Marcos. Durito is a pipe-smoking,
glasses-wearing beetle with whom Marcos has an ongoing dialogue. Durito studies
“neoliberalism and its strategy of domination in Latin America,” he tells
Marcos, in order to find out “how long your struggle is going to last, and
whether or not you are going to win.” Marcos asks why the beetle wants to know.
“To know how long we beetles are going to have to take care that you do not
squash us with your big boots,” he answers.
ต่อไปนี้เป็นข้อความที่ยกมาจากหนังสือ
“สนทนากับ ดูริโต: เรื่องราวของ ซาปาติสตาส์ และ เสรีนิยมใหม่” โดย สับโคมานดานเต มาร์กอส. ดูริโต เป็นเต่าทองสูบยากล้อง, สวมแว่น ที่
มาร์กอส เสวนาด้วยอย่างต่อเนื่อง.
ดูริโตศึกษา “เสรีนิยมใหม่และยุทธศาสตร์ของมันในการเป็นใหญ่ในลาตินอเมริกา”,
เราบอกมาร์กอสว่า, เพื่อค้นหาว่า “การต่อสู้ของคุณจะอยู่รอดไปได้นานสักเท่าไร,
และว่า คุณจะชนะได้หรือไม่”.
มาร์กอสถามว่า ทำไมเต่าทองจึงต้องการรู้.
“เพื่อจะได้รู้ว่า
นานสักเท่าไรที่พวกเราเต่าทองจะต้องช่วยดูแลว่าคุณจะไม่บดขยี้พวกเราด้วยรองเท้าบู๊ตใหญ่เบ้อเร่อของคุณ”,
เขาตอบ.
Durito
says that life is like an apple.
ดูริโต บอกว่า
ชีวิตก็เหมือนกับแอปเปิล.
He
also says that there are those who eat them green, those who eat them rotten,
and those who eat them ripe.
เขายังบอกด้วยว่า
มีพวกที่ชอบกินมันดิบๆ, พวกที่กินมันตอนเน่าแล้ว, และพวกที่กินมันตอนสุก.
Durito
says that there are some, very few, who can choose how they eat an apple:
either in a beautiful fruit arrangement, pureed, in one of those odious (to Durito)
apple sodas, in juice, in cake, in cookies, or in whatever their gastronomy dictates.
ดูริโต บอกว่า มีน้อยคน,
ไม่กี่คน, ที่สามารถเลือกได้ว่าจะกินแอปเปิลอย่างไร เช่น
จะเป็นในจานที่จัดไว้อย่างสวยงาม, ปั่นเป็นน้ำข้นๆ, หนึ่งในโซดากลิ่นแอปเปิล,
ในน้ำผลไม้, ในเค้ก, ในคุกกี้, หรือในอะไรก็ได้ที่ศาสตร์ศิลป์ในการทำอาหารบงการ.
Durito
says that the indigenous people feel obligated to eat the rotten apple, that the
consumption of green apples is imposed upon youth, that children are promised a
beautiful apple all the while it’s poisoned with worms of deceit, and that
women are told they will be given an apple but only get half an orange.
ดูริโต กล่าวว่า
ชนพื้นเมืองดั้งเดิมรู้สึกว่า เป็นพันธะต้องกินแอปเปิลเน่า, ว่าการบริโภคแอปเปิลดิบ
ต้องบังคับให้เยาวชนกิน, ว่าเด็กๆ
ได้รับคำสัญญาว่าจะได้แอปเปิลลูกสวยในขณะที่มันถูกทำให้เป็นพิษด้วยหนอนแห่งความหลอกลวง,
และว่าผู้หญิงถูกบอกว่า จะให้พวกเธอแอปเปิลหนึ่งลูก แต่ได้เพียงส้มครึ่งลูก.
Durito
says that life is like an apple.
ดูริโต บอกว่า ชีวิตก็เหมือนแอปเปิลลูกหนึ่ง.
He
also says that when a Zapatista is faced with an apple, he stands vigilant with
his blade ready, and with a skillful slice, he cuts the apple in half.
เขายังบอกด้วยว่า
เมื่อซาปาติสตาคนหนึ่งเผชิญหน้ากับแอปเปิลลูกหนึ่ง, เขายืนอย่างระแวดระวังพร้อมด้วยมีด,
และด้วยการฝานอย่างชำนาญ, เขาหั่นแบ่งแอปเปิลเป็นครึ่ง.
Durito
says that the Zapatista neither intends to eat the apple, nor is he interested in
whether the apple is ripe, rotten, or green.
ดูริโต บอกว่า ซาปาติสตา
ไม่ได้ตั้งใจที่จะกินแอปเปิล, หรือสนใจว่า แอปเปิลลูกนี้สุก, เน่า หรือ ดิบ.
Durito
says that while the heart of the apple is exposed, the Zapatista, with great
care, removes the seeds, then tills a parcel of land and plants the seeds.
ดูริโต บอกว่า
ในขณะที่หัวใจของแอปเปิลได้ถูกเผยออก, ซาปาติสตา, ด้วยความถนุถนอม, แกะเมล็ดออกมา,
แล้วไถที่ดินแปลงหนึ่ง และเพาะเมล็ดให้เป็นต้น.
Next,
says Durito, the Zapatista waters the little plant with his tears and blood,
and guards its growth.
ต่อไป, ดูริโต กล่าว, ซาปาติสตา
รดน้ำต้นไม้น้อยด้วยน้ำตาและเลือด, และพิทักษ์การเติบโตของมัน.
Durito
says that the Zapatista will not even see the apple tree blossom, much less the
fruit it will give.
ดูริโต กล่าวว่า ซาปาติสตา
จะไม่ได้แม้แต่เห็นต้นแอปเปิลออกดอก, ยิ่งน้อยกว่านักที่จะได้รับผล.
Durito
says that the Zapatista planted the apple tree so that one day, when he is not
here, just about anyone would be able to cut a ripe apple and be free to eat it,
either in a fruit arrangement, pureed, as juice, in a pie, or in one of those
odious (to Durito) apple sodas.
ดูริโต บอกว่า ซาปาติสตา
ปลูกต้นแอปเปิลเพื่อว่า วันหนึ่ง, เมื่อเขาไม่ได้อยู่ที่นี่แล้ว, ใครก็ได้จะสามารถหั่นแอปเปิลที่สุกแล้ว
และ มีอิสระที่จะกินมัน, จะเป็นในจานผลไม้ที่จัดไว้, ปั่นเป็นน้ำข้น,
เป็นน้ำผลไม้, ในขนมพาย, หรือ ในโซดากลิ่นแอปเปิลหนึ่งๆ.
Durito
says that the Zapatista’s problem is this: to plant the seed and guard its growth.
Durito says that the problem for everyone else is to struggle to be free to choose
how to eat the apple that will come.
ดูริโต บอกว่า ปัญหาของซาปาติสตา
คือ อย่างนี้:
ในการเพาะเมล็ดและพิทักษ์ให้มันเจริญงอกงาม. ดูริโต บอกว่า ปัญหาสำหรับทุกๆ คน คือ
ดิ้นรนต่อสู้เพื่อให้มีอิสระที่จะเลือกว่าจะกินแอปเปิลที่จะมาถึงอย่างไร.
Durito
says that this is the difference between the Zapatistas and the rest of humanity:
where everyone sees an apple, the Zapatista sees a seed, goes and cultivates the
land, plants the seed, and guards it.
ดูริโต บอกว่า
นี่เป็นความแตกต่างระหว่าง ซาปาติตาส์ และ มนุษยชนที่เหลือ : ที่ๆ ทุกคนมองเห็นแอปเปิลลูกหนึ่ง, ซาปาติสตา เห็นเมล็ด, เอามันออกมา และ
ไถพรวนผืนดิน, เพาะปลูกเมล็ดให้เป็นต้น, และพิทักษ์รักษามันไว้.
Outside
of that, says Durito, we Zapatistas are like the kid next door. If anything,
we’re uglier, says Durito, while watching from the corner of his eye as I take
off my ski mask.
ภายนอกของที่นั่น, ดูริโตกล่าว,
พวกเรา ซาปาติสตาส์ ก็เหมือนเด็กๆ ข้างบ้าน.
ถ้ามีอะไรบ้าง, พวกเราน่าเกลียดกว่า, ดูริโต กล่าว,
ในขณะชำเลืองจากหางตาของเขาในขณะที่ฉันถอดหน้ากากสกีของฉันออก.
—
Subcomandante Insurgente Marcos, from some dawn in the 21st century
-สับโคมานดานเต (รองผู้บัญชาการ)
อินเซอร์เจนเต (ผู้ก่อการกบฏ) มาร์กอส, จากรุ่งอรุณในศตวรรษที่ 21
Part
of a Single Struggle: Challenging Big Oil in Peru
ส่วนหนึ่งของการต่อสู้เดี่ยว : ท้าทายน้ำมันใหญ่ในเปรู
Throughout
Peru, indigenous communities are working together to defend their lands from
exploitation by energy corporations. For many years, the Peruvian government permitted
multinational companies to conduct oil, gas, and mining projects in the Amazon
without the consent of the peoples who live on these lands.
ตลอดทั่วทั้งเปรู, ชุมชนพื้นเมืองดั้งเดิมกำลังทำงานด้วยกันเพื่อป้องกันที่ดินของพวกเขาจากการล้างผลาญโดยบรรษัทพลังงาน. เป็นเวลาหลายปีแล้วที่รัฐบาลเปรู
ได้อนุญาตให้บรรษัทข้ามชาติ ลงมือทำโครงการน้ำมัน, แก๊ส และเหมือง ในอเมซอน
โดยปราศจากการยินยอมของประชาชนที่อาศัยบนผืนดินเหล่านั้น.
In
2008, in order to facillitate the U.S.-Peru Trade Promotion Agreement,
then-President Alan García signed a group of laws designed to further lure
foreign corporations to the region. One of the most contentious laws would have
allowed indigenous lands to be more easily sold to private investors. Indigenous
movements organized protests in response and forced the government to overturn
the decree.
ในปี 2008, เพื่อเอื้ออำนวยต่อ ข้อตกลงการค้า สหรัฐฯ-เปรู, ประธานาธิบดีในขณะนั้น
อลอง การ์เซีย ได้ลงนามในกฎหมายชุดหนึ่งที่ออกแบบเพื่อดึงดูดล่อใจให้บรรษัทต่างชาติเข้ามาในภูมิภาคนี้. กฎหมายที่ถกเถียงกันมากที่สุด
จะอนุญาตให้ดินแดนชนพื้นเมืองดั้งเดิม สามารถเอามาขายได้ง่ายขึ้นแก่นักลงทุนเอกชน. ขบวนการชนพื้นเมืองดั้งเดิม
ได้จัดกระบวนรวมตัวกัน ประท้วงโต้ตอบ และ บังคับให้รัฐบาลพลิกกฎหมายเหล่านั้น.
Another
wave of massive demonstrations swept the country in the spring of 2009. Tens of
thousands of indigenous people, led by the Inter-Ethnic Association for the Development
of the Peruvian Amazon (AIDESEP), took to the streets, blocking highways and
oil-production facilities. “The president thought we would be docile in
accepting plans that could completely change the way we hunt for food and raise
crops, and we are not,” said Juan Agustín, a leader of AIDESEP.[7]147
Thirty-four people, including both civilians and police, were killed when
police cracked down on June 5, 2009.[8]148
Following this tragedy, the government revoked two more of the decrees.
อีกระลอกคลื่นของการประท้วงมวลชนที่ขยายไปทั่วประเทศในฤดูใบไม้ผลิของ
2009. ชนพื้นเมืองดั้งเดิมหลายหมื่น,
นำโดย สมาคมระหว่างชาติพันธุ์เพื่อการพัฒนาอเมซอนแห่งเปรู (AIDESEP), ได้เดินไปเต็มถนน, ขวางทางหลวงและแหล่งผลิตน้ำมัน. “ประธานาธิบดีคิดว่า พวกเราจะว่านอนสอนง่าย
ยอมรับแผนที่อาจเปลี่ยนวิถีการล่าสัตว์และปลูกพืชของพวกเราอย่างเบ็ดเสร็จ,
แต่พวกเราไม่”, ฮวน ออกุสติน, ผู้นำคนหนึ่งของ AIDESEP กล่าว. ประชาชน 34 คน, รวมทั้งพลเรือนและตำรวจ,
ถูกฆ่า เมื่อตำรวจปราบปรามในวันที่ 5 มิถุนายน 2009. หลังจากโศกนาฏกรรมครั้งนี้,
รัฐบาลได้เพิกถอนกฎหมายสองฉบับ.
The
years of protest brought about a major victory in May 2010, when Peru’s
congress approved a law requiring that indigenous communities be consulted
regarding oil, gas, and mining projects on their land. In late 2011, President
Ollanta Humala approved the law.[9]149
หลายปีแห่งการประท้วง
ได้นำสู่ชัยชนะในเดือนพฤษภาคม 2010, เมื่อคองเกรสของเปรู
อนุมัติกฎหมายฉบับหนึ่งที่ว่า
จะต้องปรึกษาชุมชนพื้นเมืองดั้งเดิมก่อนเกี่ยวกับโครงการน้ำมัน, แก๊ส, และเหมือง บนที่ดินของพวกเขา. ในปลายปี 2011,
ประธานาธิบดีโอลลันตา ฮูมาลา ได้อนุมัติกฎหมายนี้.
In
another recent achievement, in June 2011, the Quechua people of northern Peru prevailed
in getting the Loreto regional government to pledge to meet long-standing demands
for public services, like schools and doctors, as well as to investigate the
damage being caused by oil companies. This research will be crucial if
communities decide to take legal action against Pluspetrol, the Argentinean
company that runs some of the largest oil operations in the Amazon and that has
left some 40 years’ worth of oil spills, poisoned rivers, and degraded forests.
Also in northern Peru in the same year, leaders from neighboring indigenous
federations announced a historic agreement to put aside long-standing disputes
and unify their efforts to challenge oil corporations.[10]150
The pact allows communities to work together on lawsuits, protests, and
government negotiations. “We are uniting more every day,” says indigenous
leader Alfonso Lopez Tejada. “Each one of us feels more like part of a single
struggle.”[11]151
ในอีกหนึ่งชัยชนะเมื่อเร็วๆ นี้,
ในเดืนอมิถุนายน 2011, ประชาชนเควชอัวของเปรูเหนือ สามารถโน้มน้าวให้รัฐบาลภาค ลอเรโต
ให้สัญญาว่าจะจัดให้มีบริการสาธารณะตามข้อเรียกร้องอันเนิ่นนาน เช่น
โรงเรียนและแพทย์ ตลอดจนตรวจสอบความเสียหายที่ก่อขึ้นโดยบริษัทน้ำมัน. งานวิจัยนี้จะมีความสำคัญยิ่ง
หากชุมชนตัดสินใจที่จะฟ้องร้อง พลัสปิโตร, ซึ่งเป็นบริษัทของชาวอาเจนตินา
ที่ดำเนินกิจการน้ำมันที่ใหญ่ที่สุดในอเมซอน และ ที่ได้ละทิ้งขยะที่มีมูลค่าประมาณ
40 ปีของน้ำมันหกกระเด็น, แม่น้ำเป็นพิษ,
และป่าเสื่อมโทรม. ในปีเดียวกันในเปรูเหนือ,
ผู้นำจากสหพันธ์ชนพื้นเมืองดั้งเดิมจากเพื่อนบ้าน ได้ประกาศข้อตกลงประวัติศาสตร์
ที่วางข้อขัดแย้งที่มีมานานไว้ข้างๆ และจับมือกันร่วมกันท้าทายบรรษัทน้ำมัน. ข้อตกลงนี้
ทำให้ชุมชนทำงานด้วยกันได้ในการฟ้องร้อง, ประท้วง, และต่อรองกับรัฐบาล. “พวกเราสามัคคีขึ้นทุกวัน”,
ผู้นำชนพื้นเมืองดั้งเดิม อัลฟองโซ โลเปซ เตเฮดา กล่าว. “พวกเราแต่ละคน รู้สึกเหมือนกับว่า
เป็นส่วนหนึ่งของการดิ้นรนต่อสู้”.
©David Lauer / A theater
presentation about the struggle to defend Native corn at the Blessing of the
Seeds in Chihuahua, Mexico in 2009.
การแสดงบนเวทีเกี่ยวกับการต่อสู้เพื่อป้องกันข้าวโพดถิ่นที่งาน
พรจากเมล็ด ในเมือง ชิฮัวฮัว, เม็กซิโก, 2009
The
Rights of Mother Earth
สิทธิของพระแม่ธรณี
From
the invitation to the Rights of Mother Earth International Indigenous
Conference in 2012 by Tom B.K. Goldtooth of the Indigenous Environmental
Network and Dr. Daniel Wildcat of Haskell Indian Nation University.
จากคำเชื้อเชิญให้เข้าร่วมงานประชุมชนพื้นเมืองดั้งเดิมระหว่างประเทศ
เรื่อง สิทธิของพระแม่ธรณี ในปี 2012 โดย ทอม บี.เค.โกลด์ทูธ แห่งเครือข่ายสิ่งแวดล้อมชนพื้นเมืองดั้งเดิม
และ ดร.เดเนียล ไวล์แคท แห่งมหาวิทยาลัยชนชาติอินเดียน ฮาสกัลล์.
“Our
prophecies and teachings tell us that life on Mother Earth is in danger and is
coming to a time of great transformation. As Indigenous Peoples, we are
accepting the responsibility designated by our prophecies to tell the world
that we must live in peace with each other and the Earth to ensure harmony
within Creation.
“คำพยากรณ์และคำสอนของพวกเรา
บอกเราว่า ชีวิตของพระแม่ธรณีกำลังอยู่ในอันตรายและจะถึงเวลาแห่งการพลิกผันครั้งยิ่งใหญ่. ในฐานะชนพื้นเมืองดั้งเดิม. เราขอรับผิดชอบที่กำหนดโดยคำพยากรณ์ของพวกเรา
ให้แจ้งต่อโลกว่า พวกเราจะต้องอยู่อย่างสันติต่อกันและกัน และ ต่อพิภพโลก
เพื่อประกันความกลมกลืนภายในสรรพสิ่ง (ของจักรวาล?).
Our
Indigenous lifeways are the original “green economies.” This is more than an
abstract philosophy. Our Mother Earth is the source of life. Water is her
lifeblood. The well-being of the natural environment predicts the physical,
mental, emotional and spiritual longevity of our Peoples. Mother Earth’s health
and that of our Indigenous Peoples are intrinsically intertwined. When our
homelands are in a state of good health our Peoples are truly healthy. This inseparable
relationship must be respected for the sake of our future generations and for
the well-being of the Earth herself.
ในวิถีชีวิตแบบชนพื้นเมืองดั้งเดิมของพวกเรา
เป็น “เศรษฐกิจสีเขียว” ต้นฉบับแรกเริ่ม.
นี่เป็นมากกว่าปรัชญานามธรรม.
พระแม่ธรณีของพวกเรา เป็นแหล่งแห่งชีวิต.
น้ำเป็นเลือดแห่งชีวิตของท่าน.
ความอยู่ดีมีสุขของสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ เป็นการพยากรณ์อายุขัยด้าน กายภาพ,
จิตใจ, อารมณ์ และ จิตวิญญาณ ของประชาชนของพวกเรา. สุขภาพของพระแม่ธรณี
และของประชาชนพื้นเมืองดั้งเดิม พันพัวสนิทแนบตามธรรมชาติ. เมื่อแดนถิ่นของพวกเราอยู่ในสภาวะแข็งแรง
ประชาชนของพวกเราก็จะสมบูรณ์แข็งแรงอย่างแท้จริง.
ความสัมพันธ์ที่แยกไม่ออกนี้ จะต้องได้รับการเคารพเพื่อเห็นแก่อนุชนในอนาคต
และ เพื่อความอยู่ดีมีสุขของตัวพระแม่ธรณีเอง.
Alliances
are being formed globally of Indigenous and non-indigenous groups and
individuals committed to creating a system of jurisprudence that sees and
treats the natural ecosystems of Mother Earth as a fundamental, rights-bearing
entity. Governments must move away from a legal system that views nature only
as property. A new paradigm, which is based on Indigenous worldview, needs to
be forwarded that embrace humanities’ responsibility as true guardians for Mother
Earth and future generations, and which honors the interrelationship in all
life.”
พันธมิตรต่างๆ
ได้ก่อตัวขึ้นทั่วโลกระหว่างกลุ่มชนพื้นเมืองดั้งเดิม และ
ไม่ใช่ชนพื้นเมืองดั้งเดิม และ
ปัจเจกที่มุ่งมั่นที่จะสร้างระบบกฎหมายที่มองเห็นและกระทำต่อระบบนิเวศธรรมชาติของพระแม่ธรณี
ประหนึ่งเป็นเอกลัษณ์ที่เป็นรากฐานและให้สิทธิ์ต่างๆ. รัฐบาลทั้งหลายจะต้องถอยห่างออกจากระบบกฎหมายที่มองเห็นธรรมชาติเป็นเพียงทรัพย์สิน. กรอบคิด (มโนทัศน์?) ใหม่,
ที่ตั้งอยู่บนทัศนะต่อความสัมพันธ์ของตนกับโลกและสรรพสิ่ง ของชนพื้นเมืองดั้งเดิม,
จำเป็นต้องผลักดันไปข้างหน้า ที่โอบรวมความรับผิดชอบของมนุษยชาติทั้งมวล ให้เป็นผู้พิทักษ์ที่แท้จริงสำหรับพระแม่ธรณี
และ อนุชนในอนาคต, และที่ให้เกียรติต่อความสัมพันธ์ระหว่างกันในสรรพสิ่งทั้งปวง.
Courtesy
of Grassroots International /Indigenous farmers in Guatemala participate in a
workshop about making compost.
ชาวไร่ชาวนาพื้นเมืองดั้งเดิม
ในกัวเตมาลา มีส่วนร่วมในการอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการทำปุ๋ยหมัก.
Recognizing
Indigenous Autonomy: U.N. Declaration on the Rights of Indigenous Peoples
ยอมรับการปกครองตนเองของชนพื้นเมืองดั้งเดิม: ปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของชนพื้นเมืองดั้งเดิม (UNDRIP)
In
2007, after more than 30 years of advocacy by indigenous peoples and allies,
the U.N. adopted the United Nations Declaration on the Rights of Indigenous
Peoples (UNDRIP). The declaration affirms numerous rights of indigenous
peoples, including their right to autonomy and self-government, and their right
to “freely determine their political status and freely pursue their economic, social
and cultural development.”[12]152
UNDRIP includes language respecting land rights and mandates consent from
indigenous communities before governments can approve projects that affect
their lands, territories, or resources. The declaration has been widely
celebrated as a legal tool and framework with which to challenge unjust laws
and shape future policy. It can be used to influence both national and
international discussions that affect indigenous communities, including trade
agreements and climate negotiations.
ในปี 2007, หลังจากกว่า 30 ปีของการสนับสนุนโดยชนพื้นเมืองดั้งเดิมและพันธมิตรต่างๆ,
ยูเอ็นก็ได้ยอมรับ UNDRIP.
ปฏิญญานี้ ยืนยันสิทธิมากมายของชนพื้นเมืองดั้งเดิม,
รวมทั้งสิทธิในการปกครองตนเอง, และ สิทธิในการ
“ตัดสินสถานภาพทางการเมืองของพวกเขาอย่างเสรีอิสระ และ ทำการพัฒนาเชิงเศรษฐกิจ,
สังคม และ วัฒนธรรม อย่างเสรีอิสระด้วย”. UNDRIP ใช้ภาษาของการเคารพต่อสิทธิของแผ่นดิน และ
จะต้องได้รับความเห็นชอบจากชุมชนพื้นเมืองดั้งเดิม
ก่อนที่รัฐบาลจะสามารถอนุมัติโครงการที่มีผลกระทบต่อที่ดิน, อาณาเขต,
หรือทรัพยากร. ปฏิญญานี้
ได้ถูกใช้ให้เป็นเครื่องมือและกรอบการทำงานทางกฎหมาย
เพื่อใช้ท้าทายกฎหมายที่ไม่เป็นธรรม และ ใช้ปรับแต่งนโยบายในอนาคต.
มันสามารถใช้เพื่อสร้างจูงใจในการอภิปรายในระดับชาติและนานาชาติ
ที่มีผลต่อชุมชนพื้นเมืองดั้งเดิม, รวมทั้งข้อตกลงการค้า และ
การต่อรองเรื่องภูมิอากาศ.
Because
the declaration is nonbinding, however, governments have ample opportunities to
ignore or interpret provisions as they see fit. The U.S. State Department, for
example, interpreted the prior consent provision as “a process of meaningful
consultation with tribal leaders, but not necessarily the agreement of those leaders,
before the actions addressed in those consultations are taken.”[13]153
The U.S. was one of four countries that originally voted against the
declaration, though after steady pressure from Native American organizations
and allies, it changed its position and signed on in 2010, three years later.
Like other nonbinding global initiatives, the potential of this declaration to
create structural change will depend on whether decision-makers are held
accountable.
แต่เพราะปฏิญญานี้
ไม่มีพันธะผูกพัน รัฐบาลต่างๆ มีโอกาสมากมายที่จะเพิกเฉย หรือ
แปลข้อความตามแต่ที่พวกเขาจะเห็นว่าเหมาะสม.
ยกตัวอย่าง, กระทรวงกลาโหม สหรัฐฯ แปลข้อความที่ว่า ความเห็นชอบก่อน เป็น
“กระบวนการปรึกษาหารือที่มีความหมายกับผู้นำเผ่า, แต่ไม่จำเป็นต้องเป็นการตกลงร่วมกันของพวกผู้นำ,
ก่อนที่ปฏิบัติการดังกล่าวในการหารือเหล่านั้นจะเกิดขึ้น”. สหรัฐฯ เป็นหนึ่งในสี่ประเทศที่แรกเริ่มลงคะแนนคัดค้านปฏิญญานี้,
แม้ว่า หลังจากถูกกดดันอย่างต่อเนื่องจากองค์กรอเมริกันถิ่นต่างๆ และพันธมิตร,
มันได้เปลี่ยนจุดยืนและลงนามในปี 2010, สามปีต่อมา. เช่นเดียวกับการริเริ่มระดับโลกที่ไม่ผูกพันอื่นๆ,
ศักยภาพในการสร้างการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง จะขึ้นอยู่ที่ผู้ทำการตัดสินใจ
มีความรับผิดชอบ เชื่อถือ พึ่งพา ได้หรือไม่.
“Whereas
colonization favored the Christian god, today’s globalization model favors
the gods of money and technology… This time, they’re not Christian; they’re
just rich. But the tyranny is the same.”
—
Winona LaDuke, Anishinaabekwe (Ojibwe) activist and environmentalist[14]154
“ในขณะที่การล่าอาณานิคมเข้าข้างพระเจ้าของชาวคริสเตียน,
โมเดลโลกาภิวัตน์ทุกวันนี้ เข้าข้างพระเจ้าแห่งเงินตรา และ เทคโนโลยี...ครั้งนี้,
พวกเขาไม่ใช่คริสเตียน; พวกเขาเป็นเพียงคนรวย. แต่ทรราชก็เหมือนกันหมด”.
-วิโนนา ดาลุ๊ค,
นักกิจกรรมและนักสิ่งแวดล้อม Anishinaabekwe (Ojibwe)
|
Can’t
See the Forest for the Trees: Why REDD+ Is Not Green[15]155
ไม่เห็นป่า
เห็นแต่ต้นไม้ :
ทำไม REDD+ จึงไม่ใช่สีเขียว
Indigenous
communities around the world are drawing attention both to the dangers of
climate change and one of its so-called solutions. REDD+ (Reducing Emissions
from Deforestation and Forest Degradation) is a global program promoted by the
U.N., industrialized nations, and international financial institutions like the
World Bank. The program allows countries and corporations to buy ‘clean-air’
credits from countries with undeveloped forests. In exchange, governments,
indigenous organizations, and other groups agree to preserve areas of their forests,
with the rationale that the trees’ absorption of carbon, the element that
causes global warming, will counteract damage done by industrial polluters.
ชุมชนพื้นเมืองดั้งเดิมทั่วโลก
กำลังดึงดูดความสนใจต่อทั้งภยันตรายของภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงและหนึ่งในสิ่งที่ถูกเรียกว่า
ทางออก. REDD+ (การลดการปล่อยก๊าซจากการทำลายป่าและป่าเสื่อมโทรม)
เป็นโปรแกมระดับโลกที่ส่งเสริมโดยยูเอ็น, ชาติอุตสาหกรรม,
และสถาบันการเงินระหว่างประเทศ เช่น ธนาคารโลก.
โปรแกมอนุญาตให้ประเทศและบรรษัทซื้อเครดิต ‘อากาศสะอาด’
จากประเทศที่มีป่าที่ยังไม่พัฒนา.
เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน, รัฐบาล, องค์กรพื้นเมืองดั้งเดิม, และกลุ่มอื่นๆ
ตกลงที่จะรักษาบริเวณป่าของพวกเขา, ด้วยหลักการและเหตุผลว่า ต้นไม้ดูดซับคาร์บอน,
ธาตุที่เป็นต้นเหตุให้โลกร้อน, จะถ่วงดุลกับความเสียหายกระทำโดยผู้สร้างมลภาวะอุตสาหกรรม.
Many
REDD+ negotiations involve indigenous lands and indigenous organizations have
been at the forefront of denouncing the program, along with social movements.
REDD+ is problematic in several ways. First, the logic allows industries that
release carbon to essentially pay to continue polluting, instead of working to
reduce emissions at their source. Second, the very premise – attaching a
monetary value to the ecological role of forests – commodifies what indigenous
people say should never be commodified.
การต่อรอง REDD+ รวมที่ดินและองค์กรพื้นเมืองดั้งเดิม
ได้อยู่แถวหน้าของการประณามโปรแกมนี้, พร้อมกับขบวนการทางสังคมอื่นๆ. REDD+ มีปัญหามาก. ประเด็นแรก,
ตรรกะของมันอนุญาตให้อุตสาหกรรมที่ปล่อยคาร์บอนจ่ายเพื่อสร้างมลภาวะต่อไปได้,
แทนที่จะทำงานเพื่อลดการปล่อยแก๊สที่ต้นทาง.
ประเด็นที่สอง, สมมติฐานของมัน—ที่ติดป้ายราคาให้บทบาทเชิงนิเวศของป่า—แปลงให้เป็นสินค้าในสิ่งที่ชนพื้นเมืองดั้งเดิมบอกว่า
ไม่ควรถูกทำให้เป็นสินค้า.
Third,
the market-based approach raises questions about who ‘owns’ the forests.
Agreements made with state or national governments, or with indigenous
‘leaders’ who may falsely claim to represent their people, cannot be trusted to
protect either the priorities and well-being of the communities that live in
the areas affected, or the earth itself.
ประเด็นที่สาม, แนวทางที่ตั้งอยู่บนตลาด
ทำให้เกิดคำถามว่า ใครเป็น ‘เจ้าของ’ ป่ากันแน่. ข้อตกลงที่ทำกับรัฐหรือรัฐบาลกลาง, หรือกับ ‘ผู้นำ’ ของชนพื้นเมืองดั้งเดิม
ผู้อาจแอบอ้างว่าเป็นตัวแทนของประชาชน, ไม่สามารถเชื่อได้ว่าจะปกป้องไม่ว่าจะเป็นลำดับความสำคัญและความอยู่ดีมีสุขของชุมชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ๆ
ได้รับผลกระทบ, หรือพิภพโลกเอง.
The
fourth issue concerns the kind of activities REDD+ will allow. Tree
plantations, vast fields of one species of tree like oil palm or eucalyptus,
are planted for quick harvest and large profit. By the U.N.’s definition, these
ecologically destructive plantations can be counted as forests. This means that
corporations and governments could log species-rich jungles or ancient woods,
create plantations in their place, and collect REDD+ payments. At the same
time, REDD+ regulations could prohibit traditional indigenous agricultural
practices and cause indigenous communities to be evicted. REDD+ directly threatens
communities in industrialized countries, too. When industries can buy the right
to continue polluting instead of changing their destructive practices, everyone
and everything suffers.
ประเด็นที่สี่ เกี่ยวกับประเภทของกิจกรรมที่
REDD+ จะอนุญาต. สวนพาณิชย์ต้นไม้,
ทุ่งมหึมาของต้นไม้สายพันธุ์เดียว เช่น น้ำมันปาล์ม หรือ ยูคาลิปตัส,
ถูกปลูกเพื่อการเก็บเกี่ยวด่วน และ กำไรงาม.
ตามคำนิยามของ ยูเอ็น, สวนพาณิชย์ที่ทำลายล้างนิเวศเหล่านี้
สามารถจะนับเป็นป่าได้. นี่หมายความว่า
บรรษัทและรัฐบาลสามารถตัดป่าที่รุ่มรวยทางสายพันธุ์ หรือ ป่าโบราณ,
แล้วสร้างสวนพาณิชย์ขึ้นแทน, และเก็บค่า REDD+. ในขณะเดียวกัน, กฎระเบียบของ REDD+ สามารถห้ามวิธีปฏิบัติทางเกษตรของชนพื้นเมืองดั้งเดิม และ
ทำให้ชุมชนพื้นเมืองดั้งเดิมถูกขับไล่จากที่ดิน.
REDD+ ยังข่มขู่ชุมชนโดยตรงในประเทศอุตสาหกรรมด้วย. เมื่ออุตสาหกรรมสามารถซื้อสิทธิเพื่อสร้างมลภาวะต่อไป
แทนที่จะเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่ทำลายล้าง, ทุกคนและทุกอย่างเดือดร้อน.
Indigenous
communities around the world have been forming alliances, gathering at
international climate talks, and amplifying their voices of dissent. At the December
2011 UN Conference in South Africa, a new coalition, the Global Alliance of
Indigenous Peoples and Local Communities against REDD and for Life, called for
a moratorium on REDD+. “We are here to express our concern about the false
solutions that have made a business out of climate change,” said Marlon Santi,
former President of the National Confederation of Indigenous Nationalities of
Ecuador.[16]156
ชุมชนพื้นเมืองดั้งเดิมทั่วโลกได้ก่อตัวเป็นพันธมิตร,
รวมตัวกันในการพูดคุยนานาชาติเรื่อง ภูมิอากาศ, และ ขยายสียงไม่เห็นด้วยของพวกเขา.
ณ ที่ประชุมยูเอ็น เมื่อเดือนธันวาคม 2011 ในอัฟริกาใต้,
เครือข่ายใหม่, พันธมิตรโลกของชนพื้นเมืองดั้งเดิมและชุมชนท้องถิ่นต่อต้าน REDD
และสนับสนุนชีวิต, ได้เรียกร้องให้ระงับ REDD+. “พวกเรามารวมกัน ณ ที่นี้ เพื่อแสดงออกถึงความห่วงใยของพวกเราเกี่ยวกับทางออกผิดๆ
ที่ได้ทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงกลายเป็นธุรกิจ”, มาร์ลอน ศานติ,
อดีตประธานของสหพันธ์ชาติของชนชาติพื้นเมืองดั้งเดิมแห่งอีกัวดอร์ กล่าว.
“When
a natural function like forest respiration becomes a product with a price, it’s
easy to see who’s going to end up with control of the forests.”
—
Gustavo Castro Soto, Co-coordinator, Otros Mundos, Chiapas, Mexico[17]157
“เมื่อหน้าที่ธรรมชาติอย่างหนึ่ง
เช่น การหายใจของป่ากลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีราคาติดอยู่, มันง่ายที่จะเห็นได้ว่า
ใครจะกลายเป็นผู้ควบคุมป่าในที่สุด”.
-กุสตาโว คาสโตร โซโต,
ผู้ประสานงาน, Otros
Mundos, Chiapas, Mexico
|
In
Harmony by Saúl Atanasio Roque Morales
ในความกลมกลืน โดย อตานาซิโอ โมราเลส
Saúl
Atanasio Roque Morales is a Xoxocotla Indian from the state of Morelos, Mexico.
He is a member of the Council of Peoples and the Xoxocotla Drinking Water
Association.
โมราเลส เป็นชาวอินเดียนจาก Xoxocotla, รัฐ โมเรโลส, เม็กซิโก. เขาเป็นสมาขิกคนหนึ่งของสภาประชาชน
และ สมาคมน้ำดื่ม Xoxocotla.
Within
our community, we still hold the cultural values we inherited from our
ancestors. In daily life, we are always in harmony with nature, our lands, our
water, our air. We still watch our children chase the butterflies and birds. We
see the harmony between the crops and the land, and we continue to perform
ceremonies that give thanks. It never crosses our mind to abandon our lands.
ภายในชุมชนของเรา,
พวกเรายังยึดถือค่านิยมเชิงวัฒนธรรมตกทอดจากบรรพชนของเรา. ในชีวิตประจำวัน, พวกเรา, เราอยู่กลมกลืนกับธรรมชาติเสมอ,
ที่ดินของเรา, น้ำของเรา, อากาศของเรา.
เรายังเฝ้ามองลูกหลานของเราวิ่งไล่ผีเสื้อและนก. เราเห็นความกลมกลืนระหว่างพืชและที่ดิน, และ
เรายังคงทำพิธีกรรมกล่าวขอบคุณต่อไป.
มันไม่เคยผุดขึ้นในใจของพวกเราเลยว่าจะละทิ้งที่ดินของเรา.
Our
environment is the treasure of the future generations. We don’t like the way
that modernity is advancing, destroying our territory and our environment. We
believe technological modernity is better named a ‘death threat.’
สิ่งแวดล้อมของพวกเราเป็นสมบัติของอนุชนในอนาคต. เราไม่ชอบวิธีที่ความทันสมัยกำลังรุกคืบ,
ทำลายอาณาเขตของเราและสิ่งแวดล้อมของเรา.
เราเชื่อว่า เทคโนดลยีแห่งความทันสมัย ควรเรียกว่า ‘การขู่เข็ญแห่งความตาย’”.
The
communities are all being impacted by social and environmental problems. In the
past few years, industrial and housing projects have been growing and
multiplying. We learned that there were to be construction projects erected,
including ones to build [more than 37,000] houses, close to our spring. There
are also plans to build a golf course. Other companies are opening up [plant]
nurseries. There’s another company that’s devastating a mountain called Montenegro
to extract material to produce cement. We’re seeing our lands be devastated and
paved over and our water levels lowering. Some communities have gas
installations built on them. Others are defending their ecological reserves so
their forests don’t keep on being devastated. We’re seeing wastewater
contamination because there’s no treatment plant or way to dispose of these
waters. We’re all affected by the run-off.
ชุมชนต่างพากันได้รับผลกระทบจากปัญหาทางสังคมและสิ่งแวดล้อม. ในไม่กี่ปีที่ผ่านมา,
โครงการอุตสาหกรรมและที่อยู่อาศัยได้ขยายตัวทวีคูณ. เราได้เรียนรู้ว่า
จะมีโครงการก่อสร้างตั้งขึ้น, รวมทั้งอื่นๆ ที่จะสร้างที่อยู่อาศัยอื่นๆ [กว่า 37,000 หลัง], ใกล้ธารน้ำของเรา. มีแผนที่จะทำสนามกอล์ฟ. บริษัทอื่นๆ กำลังเปิดโรงเพาะต้นไม้. อีกบริษัทหนึ่งที่ทำลายภูเขา เรียกว่า
มอนเตเนโกร เพื่อสกัดวัสดุไปทำซีเมนต์. เรากำลังเห็นผืนแผ่นดินของเราถูกทำลาย
และ ปูลาดทับ และระดับน้ำของเราก็ลดลง.
บางชุมชนมีโรงงานแก๊สสร้างทับที่ดินของพวกเขา. ชุมชนอื่นๆ กำลังปกป้องสำรองเชิงนิเวศของพวกเขา
เพื่อว่าป่าของพวกเขาจะไม่ต้องถูกทำลายล้างไปเรื่อยๆ. เรากำลังเห็นการปนเปื้อนจากน้ำทิ้ง
เพราะไม่มีโรงกำจัดมลพิษ หรือ วิธีทิ้งน้ำเสียเหล่านี้. เราล้วนได้รับผลกระทบจากน้ำที่ไหลชะลงมา.
We
also have a problem with increasing trash, with industry producing only
disposable waste that isn’t biodegradable. In the community of Acuyquetlan
where there’s an open-air landfill, they’ve found cancer and children born with
deformities. We joined in support of this community’s fight and we blocked
highways to keep them from dumping more trash. Our fight drew international
attention because trash piles began to build up around Cuernavaca since the
city could no longer dump in the community. The people succeeded in closing the
landfill indefinitely and the local authorities agreed to take remediation
actions to avoid the pollution leaching into the water. But we’re still waiting
for this to happen and the government continues to insist that the landfill be
reopened.
เราก็ยังมีปัญหากับขยะที่เพิ่มมากขึ้น,
กับอุตสาหกรรมที่มีแต่ทิ้งขยะของเสียที่ไม่สามารถย่อยสลายได้. ในชุมชนของ Acuyquetlan ที่ๆ
มีกองขยะเปิดโล่ง, มีการพบผู้ป่วยเป็นมะเร็งและเด็กๆ พิการแต่กำเนิด. เราได้เข้าร่วมกับชุมชนนี้ในการต่อสู้ และ
เราได้ขวางทางหลวงเพื่อไม่ให้พวกเขาทิ้งขยะที่นั่นมากขึ้น. การต่อสู้ของเรา
ได้ดึงดูดความสนใจระหว่างประเทศ เพราะกองขยะเริ่มก่อตัวรอบๆ Cuernavaca ตั้งแต่เมืองไม่สามารถทิ้งขยะในชุมชน.
ประชาชนปิดกองขยะเปิดอย่างไม่มีกำหนดได้สำเร็จ และ ผู้มีอำนาจท้องถิ่น
ตกลงว่าจะหาทางจัดการช่วยเหลือเพื่อหลีกเลี่ยงการปนเปื้อนน้ำบาดาล. แต่เราก็ยังคงรอคอยว่าจะเกิดขึ้นเมื่อไร และ
รัฐบาลก็ยังคงยืนกรานให้เปิดกองขยะเปิดให้ใช้อีกครั้ง.
The
constitution says that all natural resources belong to the nation and the
nation consists of our people, the indigenous people. The land is the great
heritage of our people, but the authorities are protecting the companies
because they’re getting paid by them. Part of our movement calls for the entire
region to be declared a protected natural area.
รัฐธรรมนูญบอกว่า
ทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมด เป็นของชาติ และ ชาติประกอบด้วยประชาชนของเรา,
ประชาชนพื้นเมืองดั้งเดิม.
ผืนดินเป็นมรดกอันยิ่งใหญ่ของประชาชนของเรา, แต่ผู้มีอำนาจกำลังปกป้องบริษัท
เพราะพวกเขาได้รับเงินจากพวกมัน.
ส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนของเรา เรียกร้องให้ทั่งทั้งภูมิภาค
ให้ประกาศเป็นเขตสวงนทางธรรมชาติ.
There
are areas where it’s all right to construct, but where our springs are
replenished should be respected. We organized 13 communities to defend our
springs. We didn’t get much attention, so after three years, we decided to
block highways. We did it to communicate our problem, but we were met with
repression and some people got wounded. The people also fought back: they made
the police run, they destroyed a couple patrol cars, they took arms from the
cops and because of this, some of our people were detained.
มีพื้นที่บางแห่งที่ก่อสร้างได้,
แต่เป็นที่ๆ ธารน้ำของเราได้รับการเติมเต็มอยู่เรื่อยๆ และ
ควรได้รับการเคารพ. เราได้จัดกระบวน 13 ชุมชน เพื่อปกป้องธารน้ำของเรา.
เราไม่ได้รับความสนใจมากเท่าไร, ดังนั้น หลังจากสามปีผ่านไป,
เราตัดสินใจว่าจะขวางทางหลวง. เราทำเพื่อสื่อปัญหาของเรา,
แต่เรากลับพบกับการปราบปรามและบางคนก็ได้รับบาดเจ็บ. ประชาชนก็สู้กลับเหมือนกัน เช่น
ทำให้ตำรวจวิ่ง, พวกเขาได้ทำลายรถตำรวจไปสองสามคัน, พวกเขาริบอาวุธจากตำรวจ และ
เพราะเหตุนี้, ประชาชนของเราบางคนก็ถูกคุมขัง.
We
agreed to establish a dialogue to find a solution. When the dialogue began, we
agreed to lift the blockade. They suspended the first construction project for
2,000 houses, but then the construction company started to build again. We
withdrew from the negotiations because they didn’t keep their side of the
bargain. Instead, we organized a People’s Congress to get support for our
demands. The first Congress took place in Xoxocotla with 48 communities. We addressed
all the communities’ environmental and ecological concerns. After the Congress,
we held more protests in Cuernavaca, denouncing all of the socio-environmental
injustices facing our state. We had more people participate than ever. We’re
hoping those 48 communities will double in size.
เราตกลงที่จะมีการสานเสวนาเพื่อหาทางออก. เมื่อการสานเสวนาเริ่มขึ้น,
เราตกลงที่จะยกเลิกการขวางทาง.
พวกเขาระงับโครงการก่อสร้างแรกสำหรับบ้าน 2,000 หลัง ชั่วคราว,
แต่แล้วบริษัทก็เริ่มสร้างอีก.
เราถอนตัวจากการเจรจาต่อรอง เพราะพวกเขาไม่ได้รักษาสัญญาฝ่ายเขา. พวกเราจัดกระบวนเป็น คองเกรสของประชาชนขึ้นแทน
เพื่อหาทางสนับสนุนการเรียกร้องของพวกเรา.
การประชุมคองเกรสครั้งแรกเกิดขึ้นใน Xoxocotla ด้วย 48 ชุมชน.
เรากล่าวถึงความห่วงใยด้านสิ่งแวดล้อมและนิเวศของชุมชนทั้งหมด. หลังจากการประชุมคองเกรส, เราจัดประท้วงใน Cuernavaca, ประณามความอยุติธรรมด้านสังคม-สิ่งแวดล้อมที่พวกเราเผชิญ. เรามีคนเข้าร่วมมากกว่าก่อนๆ. เราหวังว่า 48 ชุมชนนั้นจะเพิ่มเป็นสองเท่า.
As
long as there’s no justice, we’ll keep fighting. That’s our manifesto. We won’t
let the government or foreign companies own or exploit our resources. We say
that the fight is not only for us, it’s for all of humanity because we all need
nature.
ตราบที่ยังไม่มีความยุติธรรม, พวกเราจะต่อสู้กันต่อไป.
นั่นคือแถลงการณ์ของพวกเรา. พวกเราจะไม่ยอมให้รัฐบาลหรือบริษัทต่างชาติ
ถือกรรมสิทธิ์ หรือ ถลุงใช้ทรัพยากรของเรา.
พวกเราบอกว่า การต่อสู้นี้ไม่ใช่เพื่อพวกเราเท่านั้น,
มันเป็นเพื่อมนุษยชาติทั้งปวง เพราะพวกเราล้วนจำเป็นต้องพึ่งธรรมชาติ.
Creating
a Just Transition: Quitting Coal in Black Mesa
สร้างการเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรม
: หยุดถ่านหินในแบล็คเมซา
The
Navajo and Hopi peoples of Black Mesa, Arizona, live atop the largest coal
deposit in the U.S. For 40 years, their lands have been strip-mined by Peabody
Western Coal Company, in collusion with federal and local governments. As a
result, 12,000 people have been forced to relocate from their ancestral homes.
The water supply has substantially dried up. Toxic byproducts have been making
people sick. Sacred sites have been destroyed.
ชนเผ่านาวาโฮและโฮปิแห่งแบล็คเมซา,
รัฐอริโซนา, อาศัยอยู่บนแหล่งที่มีแร่ถ่านหินใหญ่ที่สุดในสหรัฐฯ. เป็นเวลา 40
ปีแล้วที่แผ่นดินของพวกเขาถูกทำเหมืองเปลือยโดย บริษัทถ่านหินตะวันตกพีบอดี้, ที่สมรู้ร่วมคิดกับรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น. ผลคือ, ประชาชน 12,000 คนถูกบังคับให้ย้ายออกจากบ้านบรรพชนของพวกเขา. แหล่งน้ำได้เหือดแห้งไปมาก. พิษในผลพลอยได้ ได้ทำให้ประชาชนเจ็บป่วย. สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ได้ถูกทำลายลง.
Navajo
and Hopi organizers are steadily pushing for an end to this destruction with
protests, lobbying, marches, and ongoing community education. And they have
been seeing the fruits of their labor. In January 2010, a judge from the
Department of the Interior revoked Peabody Coal’s permit to operate the Black
Mesa Mine, one of the two large strip mines on Black Mesa.[18]158
นักจัดกระบวนนาวาโฮและโฮปิ
ได้ผลักดันให้ยุติการทำลายล้างนี้มาตลอด ด้วยการประท้วง, ล็อบบี้, เดินขบวน,
และให้การศึกษาชุมชนอย่างต่อเนื่อง.
และพวกเขาก็ได้เห็นผลจากแรงงานของพวกเขา.
ในเดือนมกราคม 2010,
ผู้พิพากษาจากกระทรวงมหาดไทย ได้เพิกถอนใบอนุญาตของ ถ่านหินพีบอดี้
ที่ดำเนินกิจการอยู่ในเหมืองแบล็คเมซา, ซึ่งเป็นหนึ่งในสองเหมืองเปลือยบนดินแดนแบล็คเมซา.
When the Navajo Nation Council was
negotiating with Peabody Coal Company / regarding mining operations on Navajo
land without consulting with the local community, Black Mesa Water Coalition
organized a 100-mile horse ride and march to the Council’s April 2010 session.
The event persuaded the Council to come to Black Mesa and listen to community
concerns.
เมื่อสภาชนชาตินาวาโฮ
กำลังเจรจาต่อรองกับ บริษัทถ่านหินพีบอดี้ / เกี่ยวกับการขุดถ่านหินในดินแดนนาวาโฮ
โดยปราศจากการปรึกษากับชุมชนท้องถิ่น, เครือข่ายน้ำแห่งแบล็คเมซา
ได้จัดกระบวนขี่ม้า 100 ไมล์
และการเดินขบวนไปยังสภาในระหว่างการประชุมเดือนเมษายน 2010. กิจกรรมนี้
ได้โน้มน้าวให้สภามาที่แบล็คเมซา และ รับฟังความห่วงใยของชุมชน.
That
same year, community groups sued the Federal Office of Surface Mining for
withholding records related to the coal mining. In early 2011, the agency
agreed to release the documents.[19]159
This information will help Native American Wahleah Johns, Black Mesa Water
Coalition and environmental groups understand and address the damage that has
been done to their land and help them monitor Peabody’s cleanup plans. The
information could also provide the basis for future lawsuits against Peabody’s
remaining Kayenta Mine. The struggle to close the mines is complicated because
both the Hopi and Navajo Nations are economically reliant on the coal industry,
since it provides jobs and a significant part of the nations’ budgets.
ปีเดียวกันนั้น,
กลุ่มชุมชนได้ฟ้องร้องสำนักงานทำเหมืองแร่บนผิวดินของรัฐบาลกลาง
ที่ไม่ยอมเปิดเผยบันทึกเกี่ยวกับการทำเหมืองถ่านหิน. ในต้นปี 2011, หน่วยงานตกลงเปิดเผยเอกสารดังกล่าว. ข้อมูลนี้ จะช่วยให้ชาวอเมริกันถิ่น Wahleah
Johns, เครือข่ายน้ำแบล็คเมซา และ กลุ่มสิ่งแวดล้อม
เข้าใจและแก้ไขความเสียหายมที่ได้กระทำบนผืนแผ่นดินของพวกเขา และ
ช่วยให้พวกเขาติดตามแผนการทำความสะอาดของพีบอดี้ได้. ข้อมูลนี้
ยังใช้เป็นพื้นฐานสำหรับการฟ้องร้องในอนาคตต่อสู้กับเหมืองที่เหลือ กาเยนตา
ของพีบอดี้.
การต่อสู้เพื่อปิดเหมืองซับซ้อนมาก เพราะเศรษฐกิจของชนชาตินาวาโฮและโฮปิ
ต่างต้องพึ่งอุตสาหกรรมถ่านหิน, เพราะมันให้งานจ้าง และ ได้รับงบประมาณชาติก้อนใหญ่มาก.
Groups
like the Black Mesa Water Coalition (BMWC) are therefore working both to shut
down the mines and, at the same time, craft a ‘just transition’ – creating
sustainable income alternatives to transition away from coal. In 2009, the
Coalition helped push through the first green jobs legislation among Native
peoples in the U.S., to fund environmentally sound projects. One endeavor currently
in development is an expansive solar-energy project on reclaimed mine land,
while another is exploring the marketing of Native wool. The Coalition maps
current green programs and organizations and has created a toolkit to help
Navajo Nation members start green businesses. It also hosts community forums on
environmental issues.
กลุ่มเช่น เครือข่ายน้ำแบล็คเมซา
จึงทำงานทั้งปิดเหมืองและ, ในขณะเดียวกัน, คิดหาทางเพื่อ “การเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรม”—สร้างรายได้ทางเลือกที่ยั่งยืน
เพื่อให้เปลี่ยนผ่านพ้นจากถ่านหิน. ในปี 2009, เครือข่ายได้ช่วยผลักดัน กฎหมายงานสีเขียวเป็นครั้งแรก
ในระหว่างชนเผ่านาวาโฮ ในสหรัฐฯ,
เพื่อให้ทุนสนับสนุนโครงการที่เข้าท่าเชิงสิ่งแวดล้อม. ความพยายามหนึ่งที่กำลังอยู่ในขั้นพัฒนา คือ
โครงการพลังงานแสงอาทิตย์ที่แผ่ขยายบนพื้นที่เหมืองที่ได้ทวงคืนมาได้,
ในขณะที่อีกโครงการ สำรวจการตลาดสำหรับขนแกะถิ่น.
เครือข่ายได้ทำแผนที่โปรแกมและองค์กรสีเขียว และ ได้สร้างกล่องเครื่องมือ
เพื่อช่วยให้สมาชิกชนชาตินาวาโฮเริ่มธุรกิจสีเขียวได้. นอกจากนี้ยังได้เป็นเจ้าภาพ
เวทีชุมชนในประเด็นสิ่งแวดล้อมด้วย.
[1] 141. Judith Niles,
“The Black Mesa Syndrome: Indian Lands, Black Gold,” Orion Magazine online,
Summer 1998, www.orionmagazine.org/index.php/articles/article/6025/.
[2] 142. Dennis Martinez,
“Restoring Indigenous History and Culture to Nature,” in Original Instructions:
Indigenous Teachings for a Sustainable Future, Melissa K. Nelson, ed. (Vermont:
Bear & Company, 2008), 92.
[3] 143. UN, “State of
the World’s Indigenous Peoples”, 2009, 84, http://www.un.org/esa/socdev/unpfii/documents/SOWIP_web.pdf.
[4] 144. Ron Weber, John
Butler, and Patty Larson, eds., “Preface” in Indigenous Peoples and
Conservation Organizations: Experiences in Collaboration, World Wildlife Fund,
February 2000.
[5] 145. Jeannette
Armstrong, “Sharing One Skin” in Cultural Survival Quarterly, Winter 2006,
http://www.culturalsurvival.org/publications/cultural-survival-quarterly/canada/sharing-one-skin.
[6] 146. Subcomandante
Marcos, Conversations with Durito: Stories of the Zapatistas and Neoliberalism,
Accion Zapatista Editorial Collective, ed. (New York: Autonomedia Press, 2005),
315.
[7] 147. Simon Romero, “Fatal
Clashes Erupt in Peru at Roadblock,” New York Times online, June 5, 2009,
http://www.nytimes.com/2009/06/06/world/americas/06peru.html.
[8] 148. Amazon Watch,
“Peruvian National Indigenous Movement and Policy,” accessed February 22, 2012,
http://amazonwatch.org/work/peruvian-national-indigenous-movement-and-policy.
[9] 149. BBC News,
“Peru’s President Approves Indigenous Consultation Law,” September 6, 2011,
accessed February 22, 2012,
http://www.bbc.co.uk/news/world-latin-america-14812506.107
[10] 150. Darrin
Mortenson, “Landmark Agreement on Amazon Oilfields Shows Indigenous Movements’
New Power,” Truthout, June 9, 2011, accessed February 22, 2012,
www.truth-out.org/bereftdrama-amazon/1307632808.
[11] 151. Ibid.
[12] 152. UN, “United
Nations Declaration on the Rights of Indigenous Peoples,” March 2008.
[13] 153. U.S. Department
of State, “Announcement of U.S. Support for the United Nations Declaration on
the Rights of Indigenous Peoples,” December 16, 2010,
www.state.gov/documents/organization/153223.pdf.
[14] 154. Winona LaDuke,
“The People Belong to the Land” in Paradigm Wars: Indigenous Peoples’
Resistance to Globalization, Jerry Mander and Victoria Tauli-Corpuz, eds. (San
Francisco: Sierra Club Books, October 2006).
[15] 155. Global Justice
Ecology Project, Carbon Trade Watch, and Indigenous Environmental Network, “Key
Arguments against Reducing Emissions from Deforestation and Degradation
(REDD+),” June 2011, globaljusticeecology.org/files/REDD_key_arguments.pdf.
From this report: “REDD is a global initiative to create a financial value for
the carbon stored in forests to compensate governments and companies or owners
of forests in developing countries not to cut their carbon-rich forests or to
reduce their rate of deforestation and forest degradation as a market mechanism
to avoid GHG emissions. REDD+ expands REDD to develop methods for carbon
sequestration through conservation of forest (and wetlands, agricultural
systems) carbon stocks, sustainable management of forests and enhancement of
forest carbon stocks in developing countries.” Additional sources for this box
include: Ruxandra Guidi, “Will a UN Climate-Change Solution Help Kuna Yala?”,
National Geographic Daily News online, December 8, 2010,
http://newswatch.nationalgeographic.com/2010/12/08/will_a_un_climate-change_solution_help_kuna_yala/;
Andrew Miller, “Why Investing in Forest Offsets Might Cause More Problems Than
It Solves,” Amazon Watch
website,
February 2, 2011, http://amazonwatch.org/news/2011/0202-redd-flags; Global
Justice Ecology, “Why REDD Is Wrong,” accessed February 22, 2012,
http://www.globaljusticeecology.org/files/WhyReddIsWrong.pdf; and Shalmali
Guttal et al., “Climate Crises and Land,” Focus on the Global South website,
March 2011, http://www.focusweb.org/content/climate-crises-and-land.
[16] 156. Global Justice
Ecology Project, “Indigenous Peoples and Allies Call for a Moratorium on
REDD+,” December 6, 2011,
http://www.globaljusticeecology.org/forest_carbon_offsets.php?ID=599.
[17] 157. Hallie Boas,
ed., “No REDD Papers,” Charles Overbeck/Eberhardt Press, Volume 1, November
2011, 73;
http://climatevoices.files.wordpress.com/2011/11/noreddpapers_download.pdf.
[18] 158. Fired Up Media,
“Victory for Black Mesa – Peabody Coal Mining Permit Denied” in It’s Getting
Hot in Here, January 8, 2010, accessed February 22, 2012,
http://itsgettinghotinhere.org/2010/01/08/victory-for-black-mesa/.
[19] 159 Andy Bessler,
“Peabody Coal Mine Documentation Released,” Navajo-Hopi Observer online,
February 15, 2011, http://nhonews.com/Main.asp?SectionID=1&SubSectionID=1&ArticleID=13343.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น