วันอังคารที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2556

206. ตำราการปลดแอกอาณานิคมอาหารร่วมของเรา-๖


 6. Honor the Hands: Food Worker Justice
6. จงให้เกียรติแก่มือ : ความยุติธรรมต่อคนงานอาหาร

“Honor the hands that harvest your crops,” said the farmworker rights leader Dolores Huerta.
“จงให้เกียรติแก่มือที่เก็บเกี่ยวพืชของคุณ”, ผู้นำสิทธิแรงงานเกษตร ดอโลเรส ฮิวร์ตา.

Among the movements that have been shaking up the way things have long been done in the U.S., few have been more dramatic than that led by one of the most exploited sectors of the country: farmworkers, the more than one million men and women – mainly from Mexican, Central American, and West Indian villages – who work in fields and orchards. For decades they have been organizing, building awareness, and mobilizing the public. Together with food workers in processing factories, warehouses, grocery stores, cafeterias, and restaurants, they have been winning victories for rights, higher wages, and better working conditions.
ในบรรดาขบวนการที่ได้เขย่าวิถีที่เคยกระทำกันมาในสหรัฐฯ, มีไม่กี่อย่างที่สร้างความตื่นตาตื่นใจได้มากกว่าขบวนการที่นำโดยภาคส่วนที่ถูกกดขี่มากที่สุดในประเทศนี้: คนงานเกษตร, ชายหญิงกว่าหนึ่งล้านคน—ส่วนใหญ่มากจากเม็กซิโก,อเมริกากลาง, และหมู่บ้านอินเดียนตะวันตก—ผู้ทำงานในทุ่งและในไร่ผลไม้.  พวกเขาได้จัดกระบวนรวมตัวกันมาหลายทศวรรษ, สร้างความตื่นตัว, และขับเคลื่อนสาธารณะ.  ด้วยการร่วมกับคนงานอาหารในโรงงานแปรรูป, โกดัง, ร้านขายของชำ, โรงอาหาร, และภัตตาคาร, พวกเขาได้รับชัยชนะด้านสิทธิ์, ค่าแรงสูงขึ้น, และสภาพการทำงานที่ดีขึ้น.
Melody Gonzales, a former organizer with the Student/Farmworker Alliance, captured the growing power of food workers in general when she discussed farmworkers who had united through the Coalition of Immokalee Workers (CIW). “CIW’s approach is that the workers themselves lead, and they attack the roots of the problem – not just the different consequences, putting a band-aid on them. You can pass laws, you can have enforcement codes. But unless the workers are in a position of leadership where they decide what the problems are and what they think the solutions are, you’re not going to be able to impact systemic, long-lasting change. It comes down to the power of those most affected to say what their human rights are, what they want, what they need, what they deserve.”
เมโลดี กองซาเลส, อดีตนักจัดกระบวนกับพันธมิตรนักศึกษา/คนงานฟาร์ม, ได้เห็นอำนาจที่เพิ่มขึ้นของคนงานอาหารโดยทั่วไป เมื่อเธออภิปรายถึงคนงานฟาร์มที่ผนึกรวมตัวกันผ่าน เครือข่ายของคนงาน อิมโมกาลี (CIW). “แนวทางของ CIW คือ ตัวคนงานเองเป็นคนนำ, และพวกเขาก็เจาะที่รากของปัญหา—ไม่แค่เพื่อให้ได้ผลที่ต่างออกไป, ซึ่งเป็นเหมือนกันปะด้วยแถบปิดแผลบนปัญหา.  คุณสามารถออกกฎหมาย, คุณสามารถมีกฎบังคับใช้.  แต่ตราบที่คนงานไม่ได้อยู่ในตำแหน่งผู้นำ ที่ๆ พวกเขาตัดสินว่า อะไรคือปัญหา และ พวกเขาคิดว่าทางออกคืออะไร, คุณก็จะไม่สามารถมีผลกระทบเชิงโครงสร้างได้.  มันเป็นเรื่องของอำนาจของผู้ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด ที่จะบอกว่า อะไรคือสิทธิมนุษยชนของพวกเขา, พวกเขาต้องการอะไร, พวกเขาจำเป็นต้องมีอะไร, พวกเขาพึงมีพึงได้อะไร.

“When the sun rises, I go to work.  When the sun goes down, I take my rest, I dig the well from which I drink, I farm the soil which yields my food, I share creation, Kings can do no more.”
— Chinese Proverb
“เมื่อพระอาทิตย์ขึ้น, ฉันออกไปทำงาน.  เมื่อพระอาทิตย์ตก, ฉันพักผ่อน, ฉันขุดบ่อซึ่งฉันดื่มน้ำ, ฉันทำเกษตรบนดินที่ให้อาหารแก่ฉัน, ฉันแบ่งปันสิ่งสร้างสรรค์ขึ้น, ราชาทั้งหลายทำไม่ได้แล้ว”.
-คำพังเพยจีน

The United Farm Workers (UFW), founded in 1966 by Dolores Huerta, César Chávez, and others, launched the modern-day farmworker movement. They brought their struggles to national attention by leading a boycott against grape growers. Consumers around the country banished grapes from their grocery lists, forcing growers to raise wages and to improve labor conditions. Since then, farmworkers have used work stoppages, hunger strikes, marches, union negotiations, and boycotts to win substantial improvements. No longer is it commonplace for crew leaders – those who round up workers and manage the crew – to beat workers, for example, or for farms to aerially spray pesticides in fields while people are working in them.
คนงานฟาร์มยูไนเต็ด (UFW), ก่อตั้งขึ้นในปี 1966 โดย ดอโลเรส ฮิวร์ตา, ซีซาร์ ชาเวซ, และคนอื่นๆ, ได้เริ่มขบวนการคนงานฟาร์มสมัยใหม่.  พวกเขานำการต่อสู้ของพวกเขาสู่ความสนใจระดับชาติโดยการคว่ำบาตรผู้ปลูกองุ่น.  ผู้บริโภคทั่วประเทศขีดฆ่าองุ่นออกจากรายการของชำของพวกเขา, บังคับให้ผู้ปลูกเพิ่มค่าแรงและปรับปรุงสภาพของแรงงาน.  ตั้งแต่นั้นมา, คนงานฟาร์มได้ใช้การหยุดงาน, อดอาหารประท้วง, เดินขบวน, ต่อรองโดยสหภาพ, และคว่ำบาตรเพื่อให้ชนะการปรับปรุงที่เป็นแก่นสารมากขึ้น.  ไม่มีอีกแล้วที่หัวคิวลูกทีม—คนที่ต้อนคนงานและจัดการลูกทีม—จะเฆี่ยนตีคนงาน, หรือ การที่ฟาร์มจะสเปรย์ยาฆ่าแมลงทางอากาศในทุ่งในขณะที่คนยังทำงานอยู่ เป็นต้น.
Despite these significant advances, farmworkers are still afforded inadequate rights both on the books and in practice. They perform strenuous physical labor without the protections of sick leave, overtime pay, or health insurance. They are exempt from the National Labor Relations Act that protects workers’ rights to form unions and bargain collectively. If farmworkers try to organize or if they anger their bosses, they can be fired with absolutely no legal recourse. More than half are estimated to be undocumented,[1]104 and live under the constant threat of deportation if they try to stand up for better conditions.[2]105 They may also be unable to demand their rights because they don’t speak English, or are unaware of what rights they do have.[3]106 Like racism, xenophobia is rampant.
ทั้งๆ ที่มีความก้าวหน้าอย่างมีนัยสำคัญเช่นนี้, คนงานฟาร์มยังไม่สามารถใช้สิทธิ์ได้เพียงพอทั้งในตัวบทกฎหมายและในทางปฏิบัติ.  พวกเขาใช้กำลังกายมากโดยปราศจากมาตรการป้องกันของการลาป่วย, จ่ายเกินเวลา, หรือประกันสุขภาพ.  พวกเขาถูกยกเว้นใน พรบ แรงงานสัมพันธ์แห่งชาติ ที่ปกป้องสิทธิคนงาน ในการจัดตั้งสหภาพและต่อรองหมู่.  หากคนงานฟาร์มพยายามรวมตัวจัดกระบวน หรือ หากทำให้เจ้านายโกรธ, พวกเขาถูกไล่ออกได้โดยไม่มีทางพึ่งกฎหมายได้เลย.  กว่าครึ่งถูกประเมินว่าไม่มีบัตร, และอยู่ภายใต้การข่มขู่ตลอดมาว่าจะถูกส่งกลับตลอด หากพยายามลุกขึ้นสู้เรียกร้องสภาพที่ดีกว่า.  พวกเขาอาจไม่สามารถเรียกร้องสิทธิ์ได้เพราะไม่พูดภาษาอังกฤษ, หรือไม่รู้ว่าตนมีสิทธิ์อะไร.  การเดียดเชื้อชาติ และ ความระแวงหวาดกลัวคนต่างเชื้อชาติรุนแรงมาก.
The minimum wage didn’t even apply to farmworkers until 1966, long after most professions were covered. And today, despite the law, there are so many ways to exploit their work that many don’t in actuality make minimum wage. Farmworkers are twice as likely as other workers to live below the poverty line, and most earn an average of $10,000 to $12,000 per year.[4]107
ค่าแรงขั้นต่ำใช้ไม่ได้กับคนงานฟาร์มจนถึงปี 1966, นานมากหลังจากอาชีพอื่นๆ ได้รับการครอบคลุมแล้ว.  และในทุกวันนี้, ทั้งๆ ที่มีกฎหมาย, ก็ยังมีหลายวิธีที่ใช้ขูดรีดคนงาน ด้วยงานหลายประเภทไม่มีค่าแรงขั้นต่ำ.  คนงานฟาร์มมีโอกาสอยู่ใต้ขีดความยากจนมากกว่าคนงานประเภทอื่นๆ ถึงสองเท่า, และส่วนมากทำรายได้เฉลี่ย $10,000 - $12,000 ต่อปี.
These low wages are the result of cost-saving endeavors of corporate players along the food supply chain. The monumental profits of the fast-food industry, for example, come in part from companies’ ability to buy their ingredients cheaply. Company buyers – in an industry with estimated sales of $167.7 billion in 2011 – use their power to pay the lowest prices possible to growers and food processors. Growers and processors, in turn, pay the lowest wages they can for field and factory work. Those suppressed wages go hand in hand with suppressing rights, so that workers don’t have the power to organize for better pay.
ค่าแรงต่ำเหล่านี้ เป็นผลของการประหยัดต้นทุนของผู้เล่นบทบรรษัทตามห่วงโซ่การจัดหาอาหาร.  ยกตัวอย่าง, กำไรมหาศาลของอุตสาหกรรมอาหารด่วน ส่วนหนึ่งมาจากการที่บริษัทสามารถซื้อวัสดุส่วนประกอบได้ถูก.  บริษัทผู้ซื้อ—ในอุตสาหกรรมที่ค่าประเมินของยอดขายเป็น $167.7 ล้านในปี 2011 – ใช้อำนาจของพวกเขาจ่ายในราคาต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้แก่ผู้ปลูกและผู้แปรรูปอาหาร.  ผู้ปลูกและผู้แปรรูป, ในทางกลับกัน, จ่ายค่าแรงต่ำที่สุดที่ทำได้สำหรับงานในทุ่งและโรงงาน.  พวกที่กดค่าแรงควงแขนไปกับการกดทับสิทธิ์, เพื่อว่าคนงานจะได้ไม่มีอำนาจในการจัดกระบวนเพื่อเรียกร้องให้จ่ายสูงขึ้น.
Farmworkers are also subject to inhumane working and living conditions. In the worst instances, they have been victims of slavery. Since 1997, in Florida alone, the federal government has won seven criminal prosecutions for farmworker slavery involving more than 1,000 workers; in the last two years, the state has initiated two more prosecutions. Workers have been kept under armed guard, locked up at night, forced to work, denied the right to speak to people off the farm, and beaten if they attempt to escape.
คนงานฟาร์มยังต้องทนต่อสภาพทำงานและดำรงชีพที่ขาดมนุษยธรรม.  ในกรณีที่แย่ที่สุด, พวกเขาเป็นเหยื่อของระบบทาศ.  ตั้งแต่ปี 1997, ลำพังในฟลอริดา, รัฐบาลกลางได้ชนะความในการฟ้องร้องเจ็ดคดีอาชญากรรม ข้อหากระทำต่อคนงานฟาร์มเยี่ยงทาส ซึ่งมีคนงานกว่า 1,000 คน.  ในสองปีก่อน, รัฐได้เป็นผู้ริเริ่มในการฟ้องร้องอีกสองคดี.  คนงานถูกควบคุมภายใต้ รปภ ติดอาวุธ, กักขังในยามค่ำคืน, ถูกบังคับให้ทำงาน, ถูกปฏิเสธสิทธิที่จะพูดกับคนนอกฟาร์ม, และจะถูกทุบตีถ้าพยายามหนี.
Many farmworkers are living the boomerang of globalization, forced to emigrate in search of work because the agricultural systems in their home countries have been destroyed by policies of the U.S. and international trade and financial institutions. One farm advocacy group noted, “U.S. agriculture policy has thus created a de facto immigration policy.”[5]108
คนงานฟาร์มหลายคนกำลังมีชีวิตในภาวะย้อนกลับของโลกาภิวัตน์, ถูกบังคับให้ย้ายถิ่นเพื่อหางาน เพราะระบบเกษตรในประเทศของตน ได้ถูกทำลายด้วยนโยบายของสหรัฐฯ และ สถาบันการค้าและการเงินระหว่างประเทศ.  กลุ่มสนับสนุนฟาร์มกลุ่มหนึ่ง ได้ตั้งข้อสังเกต, “นโยบายเกษตรสหรัฐฯ ตามความเป็นจริง ก็เป็นตัวสร้างนโยบายย้ายถิ่น”.

Making History in Florida: Power, Plus a Penny a Pound
จารึกประวัติศาสตร์ในฟลอริดา :  อำนาจ, บวกหนึ่งเพ็นนีหนึ่งปอนด์
For most U.S. tomato pickers, a bucket of tomatoes brings in 50 cents, a piece rate that has remained virtually unchanged for more than 30 years. Because the rate is set so low, a worker has to pick more than two and a quarter tons of tomatoes per day – the weight of a young elephant – to make the minimum wage.[6]109
สำหรับผู้เก็บมะเขือเทศในสหรัฐฯ, มะเขือเทศหนึ่งถังได้เงิน 50 เซ็นต์, อัตรารายชิ้นที่ไม่ได้เปลี่ยนมากว่า 30 ปีแล้ว.  เพราะอัตรากำหดให้ต่ำขนาดนี้, คนงานต้องเก็บมะเขือเทศให้ได้มากกว่า 2 ¼ ตันแต่ละวัน—อันเป็นน้ำหนักของช้างรุ่นๆ หนึ่งตัว—เพื่อให้พอกับค่าแรงขั้นต่ำ.
Until 2005, no restaurant or grocery chain had ever taken responsibility for the fact that their profits played a role in creating such deplorable conditions and wages. When gross mistreatment of workers periodically made its way into the public eye, if anyone at all took the rap, it was the crew leader. Corporations reaping the profits remained untouched. In this way, the system had been protected against any real change. CIW, a group of tomato pickers in Immokalee, Florida, is changing all of this. In 2005, after a four-year boycott against Taco Bell, CIW won its first major victory when Taco Bell’s parent corporation, Yum! Brands, agreed to pay a penny more per pound for their tomatoes. At the time, this seemingly small increase nearly doubled the wages of workers. “Labor is such a small percentage of the overall cost of getting food out from the field to the table,” says Greg Asbed, cofounder of CIW, “farm labor wages could be increased 100 percent and the consumer wouldn’t even notice the difference. We call it the ‘reverse princess and the pea principle’– a huge change can be felt at the bottom of the food industry with an imperceptible change at the top.”[7]110
จนกระทั่งปี 2005, ไม่มีภัตตาคารหรือร้านของชำห่วงโซ่ใดๆ เคยรับผิดชอบต่อความจริงที่ว่า กำไรของพวกเขามีส่วนทำให้เกิดภาวะน่าตำหนิและค่าแรงเช่นนี้.  เมื่อการกดขี่ข่มเหงรุนแรงต่อคนงานปรากฏต่อสายตาสาธารณะเป็นครั้งคราวขึ้น, ถ้ามีใครก็ตามที่ถูกด่า, มันก็คือหัวคิวลูกทีมนั่นเอง.  บรรษัทที่โกยกำไรไม่ถูกแตะต้อง.  ด้วยวิธีนี้, ระบบได้ถูกปกป้องจากการเปลี่ยนแปลงจริงจังใดๆ.  CIW, เป็นกลุ่มผู้เก็บมะเขือเทศใน อิมโมกาลี, ฟลอริดา, เปลี่ยนปรากฏการณ์ทั้งหมดนี้.  ในปี 2005, หลังจากการคว่ำบาตรสี่ปีต่อต้าน ทาโก เบลล์, CIW ได้รับชัยชนะครั้งสำคัญครั้งแรก เมื่อบรรษัทแม่ของ ทาโก เบลล์, ยี่ห้อ Yum!, ตกลงจ่ายเพิ่ม หนึ่งเพ็นนี (เซ็นต์) ต่อ หนึ่งปอนด์ของมะเขือเทศที่พวกเขาเก็บได้.  ในตอนนั้น, การเพิ่มที่ดูเหมือนน้อยนิดนี้ เป็นการเพิ่มเกือบสองเท่าในค่าแรงของคนงาน.  “แรงงานเป็นเปอร์เซ็นต์น้อยขนาดนี้ของต้นทุนทั้งหมดในการเอาอาหารออกจากไร่สู่โต๊ะอาหาร”, เกร็ก แอสเบด กล่าว. เขาเป็นผู้ร่วมก่อตั้ง CIW, “ค่าแรงฟาร์มสามารถเพิ่ม 100% และผู้บริโภคจะไม่แม้แต่สังเกตเห็นความแตกต่าง.  เราเรียกมันว่า เจ้าหญิงแห่งการหวนกลับ และ หลักการแห่งถั่วลันเตา(เล่นคำ ในภาษาอังกฤษ)—การเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ที่รู้สึกได้ในระดับฐานของอุตสาหกรรมอาหารด้วยการเปลี่ยนแปลงที่ แผ่วเบาบนยอด.
“I have a dream. Many people have dreams. But if we don’t come together, we’ll never be able to realize any of them.”
— Maria Martinez Barrera, Florida Farmworkers’ Association
“ฉันมีหนึ่งฝัน.  หลายคนมีหลายฝัน.  แต่หากเราไม่มารวมตัวกัน, เราจะไม่มีทางทำให้ฝันไหนเป็นจริงได้เลย”.
-มาเรีย มาร์ติเนส บาร์เรรา, สมาคมคนงานฟาร์มฟลอริดา
 Courtesy of Coalition of Immokalee Workers / Picking tomatoes in Immokalee, Florida, home of the Coalition of Immokalee Workers. ... การเก็บมะเขือเทศใน อิมโมกาลี, ฟลอริดา

Two years after the agreement with Taco Bell, Yum! Brands extended the same conditions to its other subsidiaries: KFC, Pizza Hut, Long John Silver’s, and A&W. Since this success, the farmworkers and their allies have compelled the fast-food companies Burger King, McDonald’s, and Subway; the natural grocery-store giants Whole Foods and Trader Joe’s; and the food-service companies Bon Appetit, Compass Group, Aramark, and Sodexo, to sign similar agreements. In 2012, the coalition won a commitment from the Florida Tomato Growers Exchange – which includes 90 percent of the state’s tomato growers - to pay a penny per pound more to their workers. Now, when workers pick tomatoes for buyers who have signed on, they earn an average of 82 cents per bucket, versus the 50 cents average for other buyers.[8]111 Beyond increasing wages, the contracts require companies to buy from suppliers that follow a code of conduct for their treatment of workers. In each of these agreements, CIW actively participates in upholding the code of conduct, monitoring and reporting conditions at farms. Currently, CIW’s spotlight is on giant grocery stores like Publix, Kroger, and Walmart.
สองปีหลังจากการตกลงกับทาโก เบลล์, ยี่ห้อ Yum! ได้ขยายเงื่อนไขเดียวกันไปยังส่วนอื่นของมัน เช่น KFC, Pizza Hut, Long John Silver’s, และ A&W.  ตั้งแต่ความสำเร็จครั้งนี้, คนงานฟาร์มและพันธมิตรได้ทำให้บริษัทอาหารด่วนอื่นๆ รู้สึกต้องทำตามด้วย เช่น Burger King, McDonald’s, และ Subway; ร้านอาหารธรรมชาติยักษ์ใหญ่ Whole Foods และ Trader Joe’s; และบริษัทบริการอาหาร Bon Appetit, Compass Group, Aramark, และ Sodexo, ได้ลงนามในข้อตกลงทำนองเดียวกัน.  ในปี 2012, เครือข่ายได้รับชัยชนะจาก Florida Tomato Growers Exchange—ที่รวมผู้ปลูกมะเขือเทศในรัฐถึง 90%--ที่สัญญาว่าจะจ่ายเพิ่มหนึ่งเพ็นนีต่อหนึ่งปอนด์แก่คนงานของพวกเขา.  ตอนนี้, เมื่อคนงานเก็บมะเขือเทศสำหรับผู้ซื้อผู้ได้ลงนาม, พวกเขาจะได้รับเงินเฉลี่ยถังละ 82 เซ็นต์, เมื่อเทียบกับเฉลี่ย 50 เซ็นต์จากผู้ซื้ออื่นๆ.   เหนือกว่าการขึ้นค่าแรง, สัญญาระบุให้บริษัทซื้อจากแหล่งที่ปฏิบัติตามกฎจริยธรรมในการปฏิบัติต่อคนงานของตน.  ในแต่ละข้อตกลงเหล่านี้,  CIW มีส่วนร่วมเชิงรุกในการใช้กฎจริยธรรม, ติดตาม และ รายงานสภาพของฟาร์ม.  ปัจจุบัน, สป็อตไลท์ของ CIW ฉายไปที่ร้านของชำยักษ์ใหญ่ เช่น Publix, Kroger, และ Walmart.
In addition to a national boycott and years of dialogue with fast-food chains and the Florida growers’ association, the coalition has led three general strikes, a month-long hunger strike, and a march across half of Florida. They have been brilliant in strategy, timing, and coalition-building, conveying their messages of justice and ethics in ways that have captured the hearts and minds of the public. CIW members hope that soon all tomato pickers throughout the country will have greater rights and wages, and then pickers of all produce, until an industry-wide standard is created.
นอกจากการคว่ำบาตรระดับชาติและการสานเสวนาหลายปีกับห่วงโซ่อาหารด่วน และ สมาคมของผู้ปลูกแห่งฟลอริดา, เครือข่ายได้นำการประท้วงทั่วไปสามครั้ง, การอดอาหารประท้วงหนึ่งเดือน, และ การเดินขบวนข้ามครึ่งรัฐฟลอริดา.  พวกเขาชาญฉลาดในการวางยุทธศาสตร์, และ สร้างเครือข่าย, สื่อสารเรื่องความยุติธรรมและจริยธรรมที่จับใจและกระชากความรู้สึกของสาธารณชน.   สมาชิก CIW หวังว่า ในไม่ช้า ผู้เก็บมะเขือเทศทั่วประเทศจะมีสิทธิ์และค่าแรงมากขึ้น, แล้วก็ผู้เก็บของผลผลิตผลทั้งปวง, จนกว่าจะกลายเป็นมาตรฐานของอุตสาหกรรมอย่างกว้างขวาง.
Melody Gonzales says, “Yes, pesticides are a big problem, health care is too, but at the root of this is the imbalance of power. The challenge is to create and enforce standards for workers that don’t depend on the largesse of particular growers.”
เมโลดี กองซาเลส กล่าวว่า, “ใช่, ยาฆ่าแมลงเป็นปัญหาใหญ่, การดูแลสุขภาพด้วย, แต่ที่รากเหง้าคือ ความไม่สมดุลทางอำนาจ.  สิ่งท้าทายคือ การสร้างและเสริมมาตรฐานของคนงานที่ไม่ต้องพึ่งการปันของผู้ปลูกเฉพาะแห่ง.”
The coalition is also determined to expose and end instances of modern-day slavery amongst farmworkers. They’re assisting in federal prosecutions, investigating suspected cases, and organizing worker-to-worker counseling. In 2010, together with allies from the Student-Farmworker Alliance, Interfaith Action, and Just Harvest USA, they created the traveling Florida Modern-Day Slavery Museum out of a cargo truck similar to one in which workers had been locked and kept in slavery two years prior.
เครือข่ายก็ยังมุ่งมั่นที่จะเปิดโปงและยุติหย่อมระบบทาสยุคใหม่ในระหว่างคนงานฟาร์ม.  พวกเขาให้ความช่วยเหลือในการฟ้องร้องของรัฐบาลกลาง, ทำการสอบสวนกรณีที่ถูกสงสัย, และจัดให้มีการปรึกษาคนงานต่อคนงาน.   ในปี 2010, ร่วมกับพันธมิตรจาก พันธมิตรนักศึกษา-คนงานฟาร์ม, ปฏิบัติการนานาศาสนา, และ เก็บเกี่ยวที่เป็นธรรม สหรัฐฯ, พวกเขาได้สร้างและนำพิพิธภัณฑ์ทางยุคใหม่แห่งฟลอริดาท่องเที่ยวไปในรถบรรทุกสินค้า เหมือนกับรถบรรทุกที่คนงานเคยถูกกักขังเป็นทาสในสองปีก่อน.
“The fight is never about grapes or lettuce. It is always about people.”
— César Chávez, co-founder, United Farm Workers
“การต่อสู้ไม่เคยเป็นเรื่องเกี่ยวกับองุ่นหรือผักกาดหอม.  มันเป็นเรื่องคนเสมอ”.
-ซีซาร์ ชาเวส, ผู้ร่วมก่อตั้ง, คนงานฟาร์มยูไนเต็ด
The United Farm Workers continues its work with a membership of approximately 27,000. In 2011, they won 10 labor contracts, covering 1,150 workers.[9]112 Also that year, after many months of organizing, including a 200-mile, 13-day march through the Central Valley, the union pushed through legislation in California to protect workers from employer intimidation during union votes.
กลุ่ม คนงานฟาร์มยูไนเต็ด ทำงานต่อไปด้วยสมาชิกภาพประมาณ 27,000. ในปี 2011, พวกเขาชนะการต่อรองสัญญาแรงงาน 10 ฉบับซึ่งครอบคลุมคนงาน 1,150 คน.   ในปีนั้นด้วย, หลังจากการจัดกระบวนหลายเดือน, รวมทั้งการเดินขบวน 200 ไมล์, 13 วันผ่านพื้นที่หุบภาคกลาง, สหภาพได้ผลักดันผ่านฝ่ายนิติบัญญัติในแคลิฟอร์เนีย เพื่อปกป้องคนงานจากการข่มขู่นายจ้างในระหว่างการลงคะแนนเสียงของสหภาพ.
The Farm Labor Organizing Committee (FLOC) is another significant player in the movement.  Started in 1967, FLOC has been winning greater power, rights, and working conditions for many thousands of cucumber pickers through successful boycotts and strikes aimed at Campbell’s, Heinz, and Mount Olive Pickle Company. FLOC also works in Mexico, holding workshops for those headed to the U.S. for temporary agricultural work. They prepare soon-to-be workers with information about their rights and about union campaigns taking place in the U.S., in the hopes of minimizing their vulnerability to exploitation before it even starts.
คณะกรรมการจัดกระบวนแรงงานฟาร์ม (FLOC) เป็นตัวละครสำคัญอีกตัวหนึ่งในการเคลื่อนไหว.  เริ่มต้นในปี 1967, FLOC ได้รับชัยชนะ ได้รับอำนาจ, สิทธิ์มากขึ้น และ เงื่อนไขการทำงาน ดีขึ้นสำหรับคนเก็บแตงกวาหลายพันคนผ่านความสำเร็จในการคว่ำบาตรและการประท้วงที่เล็งไปที่บริษัทผลิต ซุปกระป๋อง Campbell’s, ซ็อสมะเขือเทศ Heinz, และ มะกอกดอง Mount Olive Pickle.  FLOC ยังทำงานในเม็กซิโก, จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับผู้ที่มุ่งหน้าไปสหรัฐฯ เพื่อหางานเกษตรชั่วคราว.  พวกเขาเตรียม ว่าที่คนงาน ด้วยข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิของพวกเขา และ เกี่ยวกับการรณรงค์ของสหภาพที่เกิดขึ้นในสหรัฐฯ, ด้วยหวังว่า จะลดความเปราะบางต่อการกดขี่ขูดรีดก่อนที่พวกเขาจะได้เริ่มด้วยซ้ำ.

Writing in the Notebook of Destiny / ลิขิตลงสมุดแห่งชะตาชีวิต
Gerardo Reyes[10]113  / เจอราร์โด เรเยส

Gerardo Reyes is an organizer with CIW.
เจอราร์โด เรเยส เป็นนักจัดกระบวนของ CIW.
Paulo Coelho said, ‘The world lies in the hands of those who have the courage to dream and who take the risk of living out their dreams.’
เปาโล โคเอลโล กล่าวว่า, “โลกอยู่ในมือของผู้กล้าฝัน และผู้กล้าเสี่ยงที่จะมีชีวิตด้วยความฝันของตน”.
Our dream is that we no longer be considered second- or third-class citizens, tools which can just be thrown away after they are used. We dream of receiving the respect that human beings merit. We dream of the possibility to maintain our families with dignity, and to offer them the future that has been denied us for so long. We’re taking steps on the road that will open doors to workers in many industries, where the economic power of a few does not determine how a person will live his or her life, where money doesn’t determine if a person has more or less worth.
ฝันของเรา มีว่า พวกเราจะไม่ต้องถูกจัดให้เป็นพลเมืองชั้นสอง หรือชั้นสาม อีกต่อไป, มันเป็นเครื่องมือที่สามารถแค่ทิ้งไปหลังจากที่ถูกใช้.  พวกเราฝันถึงการได้รับความเคารพในฐานะเป็นมนุษย์ด้วยกัน.  พวกเราฝันถึงความเป็นไปได้ที่จะเลี้ยงดูครอบครัวของเราอย่างมีศักดิ์ศรี, และให้อนาคตที่ได้ถูกปฏิเสธต่อพวกเรามานาน.  พวกเรากำลังก้าวไปบนถนนที่จะเปิดประตูแก่คนงานในหลายๆ อุตสาหกรรม, ที่ๆ อำนาจเชิงเศรษฐกิจของไม่กี่คน ไม่เป็นตัวตัดสินการดำรงชีพของบุคคลหนึ่ง ไม่ว่าชายหรือหญิง, ที่ๆ เม็ดเงินไม่เป็นตัวตัดสินว่า บุคคลหนึ่ง มีค่ามากกว่าหรือน้อยกว่า.
Our dream will be realized when all of the big corporations who buy tomatoes sit at the table with us to establish codes of conduct that respect the farmworkers and the pay that is just for our work. When we have a just agriculture system, one that doesn’t step on the rights of the workers, where they are recognized as one of the most important parts of the industry. For the consumers, we hope to see a day in which, when one says ‘farmworker,’ the word won’t be associated with powerlessness, voicelessness, inability to define one’s own destiny. Our dream is that when consumers think of who farmworkers are, they understand that we have taken up our pens to write our own history.
ฝันของพวกเราจะเป็นจริงได้เมื่อบรรษัทใหญ่ๆ ทั้งหมด ผู้ซื้อมะเขือเทศนั่งลงที่โต๊ะกับพวกเรา เพื่อตั้งกฎจริยธรรมที่เคารพคนงานฟาร์ม และ การจ่ายที่เป็นธรรมสำหรับงานของพวกเรา.  เมื่อพวกเรามีระบบเกษตรที่เป็นธรรม, ชนิดที่ไม่เหยียบย่ำสิทธิของคนงาน, ที่ๆ พวกเขาได้รับการยอมรับว่าเป็นหนึ่งในส่วนสำคัญที่สุดของอุตสาหกรรม.  สำหรับผู้บริโภค, พวกเราหวังว่า จะได้เห็นวันหนึ่ง ที่, เมื่อคนบอกว่า “คนงานฟาร์ม”, คำๆ นี้จะไม่เชื่อมโยงกับความไร้อำนาจ, ไร้เสียง, ไร้ความสามารถที่จะกำหนดชะตาชีวิตของตนเอง.  ฝันของพวกเรามีว่า เมื่อผู้บริโภคคิดถึงคนงานฟาร์มว่าเป็นใคร, พวกเขาจะเข้าใจ พวกเราได้หยิบปากกาของพวกเราขึ้น เพื่อเขียนประวัติศาสตร์ของเรา.
We will continue dreaming and we will continue working together to realize our dreams. We have the notebook of destiny in our hands, and we’re writing it today.
พวกเราจะฝันต่อไป และพวกเราจะทำงานร่วมกันต่อไป เพื่อทำฝันของเราให้เป็นจริง.  พวกเรามีสมุดชะตาชีวิตในมือของเรา, และพวกเรากำลังเขียนในวันนี้.

From Field to Table: Workers’ Rights Throughout the Food Supply Chain
จากไร่ถึงโต๊ะ: สิทธิคนงานตลอดห่วงโซ่แหล่งจัดหาอาหาร
Food chain workers are educating and activating consumers so that they can align their principles with the food they purchase. As Greg Asbed of the CIW says, “The trick lies, first of all, in combating the billions that are spent against any kind of meaningful consumer thought. And, second of all, in combating the natural instinct of the consumer to be self-oriented. Consciousness is the first necessary component for change. That’s what will create new consumer decisions. And those new consumer decisions will force corporations at the public end of the industry to change their decisions. And those corporations are so powerful that when they start changing decisions, the supply chain beneath them changes too.”
คนงานห่วงโซ่อาหารกำลังให้การศึกษา และ กระตุ้นผู้บริโภค เพื่อว่าพวกเขาจะสามารถจัดเรียงหลักการให้เข้ากับอาหารที่พวกเขาซื้อ.  ดังที่ เกร็ก แอสเบด แห่ง CIW กล่าว, “วิธีพลิกแพลง, ประการแรก, อยู่ที่การประจัญบานกับเงินนับพันล้านที่จ่ายไปเพื่อต่อต้านความคิดแนวบริโภคที่มีความหมายทุกประเภท.  และ ประการที่สอง, ในการประจัญบานกับสัญชาตญาณธรรมชาติของผู้บริโภคที่ตามอำเภอใจตัวเอง.   จิตสำนึกเป็นองค์ประกอบที่จำเป็นแรกเพื่อการเปลี่ยนแปลง.  นั่นเป็นสิ่งที่จะทำให้เกิดการตัดสินใจเชิงบริโภคใหม่.  และการตัดสินใจเชิงบริโภคใหม่เหล่านั้นจะบังคับให้บรรษัทในปลายทางส่วนสาธารณะของอุตสาหกรรมให้เปลี่ยนการตัดสินใจของพวกเขา.  และบรรษัทเหล่านั้นทรงพลังมากชนิดที่ เมื่อพวกเขาเริ่มเปลี่ยนการตัดสินใจ, ห่วงโซ่จัดหาภายใต้พวกเราก็เปลี่ยนไปด้วย.”
The Food Chain Workers Alliance, which began in 2009, is an initiative whose goal is nothing less than full rights and fair wages for the 20 million workers who grow, harvest, process, pack, ship, cook, serve, and sell food in the U.S.[11]114 The Alliance brings together 11 organizations representing workers from industries throughout the food supply chain. It is educating the public, organizing worker exchanges, pushing for policy changes, and advocating to make workers’ rights a part of food labeling and certification efforts. The Alliance also draws attention to the ways in which institutional racism in the U.S. and around the world has produced a food system reliant on the exploitation of immigrants and people of color.
พันธมิตรคนงานห่วงโซ่อาหาร, ซึ่งเริ่มในปี 2009, เป็นการริเริ่มที่มีเป้าหมายไม่น้อยไปกว่าสิทธิเต็มรูปแบบและค่าแรงเป็นธรรมสำหรับคนงาน 20 ล้าน ผู้ปลูก, เก็บเกี่ยว, แปรรูป, บรรจุภัณฑ์, ขนส่ง, ปรุง, บริการ, และ ขายอาหารในสหรัฐฯ.  พันธมิตรรวม 11 องค์กรให้เป็นตัวแทนคนงานจากอุตสาหกรรมต่างๆ ตลอดห่วงโซ่จัดหาอาหาร.  มันเป็นการให้การศึกษาแก่สาธารณชน, จัดกระบวนแลกเปลี่ยนความคิดคนงาน, ผลักดันการเปลี่ยนแปลงนโยบาย, และสนับสนุนให้สิทธิคนงานกลายเป็นส่วนหนึ่งของความพยายามให้ติดฉลากและรับรองมาตรฐานอาหาร.  พันธมิตรยังได้ดึงดูดความสนใจสู่วิธีการที่การเดียดเชื้อชาติเชิงสถาบันในสหรัฐฯ และทั่วโลก ได้ทำให้เกิดระบบอาหารที่ต้องอาศัยการกดขี่ขูดรีดคนย้ายถิ่นและคนสีผิว.
The Restaurant Opportunities Center (ROC) is one of the founding members of the Alliance. Started in New York City, the organization’s original aim was to help find new jobs for workers who had been employed at Windows on the World, the restaurant on the 107th floor of the World Trade Center that collapsed on September 11, 2001. This mission quickly expanded into changing working conditions throughout the entire restaurant industry. In 2008, a national office, ROC United, was launched, which has since helped replicate the ROC NY model in seven other places: Chicago, Los Angeles, Miami, Southeast Michigan, New Orleans, Philadelphia, and Washington, D.C.
ศูนย์โอกาสด้านภัตตาคาร (ROC) เป็นหนึ่งในสมาชิกร่วมก่อตั้งของพันธมิตร.  เริ่มต้นในนครนิวยอร์ก, จุดหมายแรกเริ่มขององค์กรคือ ช่วยหางานใหม่ให้คนงานผู้เคยถูกจ้างที่ Windows on the World, ที่เป็นภัตตาคาร บนชั้นที่ 107 ของอาคาร World Trade Center ที่พังทลายเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2001.  ภารกิจนี้ได้ขยายออกอย่างรวดเร็วเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพการทำงานทั่วทั้งอุตสาหกรรมภัตตาคาร.  ในปี 2008, ได้เริ่มสำนักงานแห่งชาติ ROC United, ซึ่งตั้งแต่นั้นมา ก็ได้ช่วยสำเนาซ้ำต้นแบบที่นิวยอร์กในอีกเจ็ดแห่ง คือ ชิคาโก, ลอสแองเจิลลิส, ไมอามี, มิชิแกนตะวันออกเฉียงใต้, นิวออร์ลีนส์, ฟิลาเดลเฟีย, และ วอชิงตัน ดีซี.
“Our society takes away the dignity of preparing and cooking food when it’s done for work. It should be dignified, the process of nourishing and feeding people.”
— Kyle Schafer, Organizer, UNITE HERE
“สังคมของเราได้ฉกศักดิ์ศรีของการเตรียมและปรุงอาหารเมื่อมันกลายเป็นทำเพื่อเป็นงาน.  มันควรจะมีศักดิ์ศรี, กระบวนการที่หล่อเลี้ยงและป้อนประชาชน”.
-คายล์ แชฟเฟอร์, นักจัดกระบวน UNITE HERE

“The restaurant industry at this point is the largest private sector employer in the U.S.,” says Jose Oliva, ROC’s National Policy Coordinator. “It is in the position of creating the conditions, setting the tone, setting the standard, for the entire sector, not just the service sector which has now become the core of our new economy, but for the entire private sector.” If food workers could exercise their power, adds Jose, they could improve not only their own working conditions but also other aspects of the food system, from environmental impacts and animal rights to food quality for consumers.
“อุตสาหกรรมภัตตาคาร ณ จุดนี้ เป็นภาคเอกชนที่เป็นนายจ้างที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐฯ”, โฮเซ โอลิวา, ผู้ประสานงานนโยบายแห่งชาติของ ROC กล่าว.  “มันอยู่ในตำแหน่งที่จะสร้างสภาวะ, กำหนดท่วงทำนอง, กำหนดมาตรฐาน, สำหรับทั่วทั้งภาคส่วนนี้”.   หากคนงานอาหารสามารถใช้อำนาจของพวกเขา, โฮเซ กล่าว, พวกเขาจะสามารถไม่เพียงปรับปรุงสภาพการทำงานของตนเอง แต่ยังในด้านอื่นๆ ของระบบอาหาร, ตั้งแต่ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และ สิทธิสัตว์ จนถึงคุณภาพอาหารสำรหรับผู้บริโภค.
ROC has won numerous campaigns against unjust restaurants and published in-depth reports about working conditions, racism, and sexism in the industry.[12]115 They are leading a charge to raise the federal minimum wage for tipped workers, which has been frozen at $2.13 for over 20 years. The organization’s latest campaign focuses on the world’s largest full-service restaurant group, Darden, which owns Capital Grille, Red Lobster, Olive Garden, Longhorn Steakhouse, and others. In 2012, ROC filed a lawsuit against the company for racial discrimination and wage theft.
ROC ได้รับชัยชนะในการรณรงค์มากมายที่ต่อต้านภัตตาคารที่ไม่เป็นธรรม และ ได้ตีพิมพ์รายงานเชิงลึกเกี่ยวกับสภาพการทำงาน, การเดียดเชื้อชาติ, และการเดียดเพศในอุตสาหกรรม.  พวกเขากำลังนำในการเรียกร้องให้เพิ่มค่าแรงขั้นต่ำของรัฐบาลกลางสำหรับคนงานที่ได้รับทิป, ซึ่งได้แช่แข็งที่ $2.13 เป็นเวลา 20 ปีมาแล้ว.  การรณรงค์ครั้งล่าสุดขององค์กร เน้นที่กลุ่มภัตตาคารที่ให้บริการเต็มรูปแบบที่ใหญ่ที่สุดในโลก, ดาร์เดน, ซึ่งเป็นของ Capital Grille, Red Lobster, Olive Garden, Longhorn Steakhouse, และอื่นๆ. ในปี 2012, ROC ได้ฟ้องร้องบริษัทในข้อหาเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ และ ขโมยค่าแรง.
© Kellee Matsushita, Brave New Seed Photography / The head chef at a restaurant in Hollywood. This photo was part of the Restaurant Opportunities Center’s (ROC) photo exhibit, “107 Stories: Through Restaurant Workers’ Eyes.” With over 8,000 members, ROC is leading the growing movement for fair wages and rights for restaurant workers throughout the country.

Some other compelling initiatives for foodworkers’ rights include:
การริเริ่มที่น่าสนใจอื่นๆ เพื่อสนับสนุนสิทธิคนงานอาหาร มีดังนี้.
• Across college and university campuses, dining workers are demanding better wages and working conditions. The union UNITE HERE is leading the Real Food Real Jobs campaign on more than 100 campuses in the U.S. and Canada. By building bridges of solidarity with students and faculty, food-service workers are adding strength to their campaigns and winning better contracts. As Kyle Schafer, a lead organizer for UNITE HERE, shares, “Many students and faculty see the workers in the cafeteria every day, but yet there’s this divide. The official university community generally doesn’t include the campus dining workers. That’s something that we fundamentally want to change... to really have the workers’ struggle be the community’s struggle.”
-ทั่วทั้งวิทยาเขตระดับอุดมศึกษา, คนงานด้านบริการอาหาร กำลังเรียกร้องค่าแรงและสภาพการทำงานที่ดีขึ้น.  สหภาพ UNITE HERE กำลังนำการรณรงค์ อาหารจริง-งานจริง ในวิทยาเขตกว่า 100 แห่ง ในสหรัฐฯ และ แคนาดา.  ด้วยการทอดสะพานแห่งความสามัคคีกับนักศึกษาและคณาจารย์, คนงานบริการอาหารกำลังเพิ่มความเข้มแข็งให้กับการรณรงค์ของพวกเขา และ ได้รับชัยชนะในสัญญาใหม่ที่ดีกว่า.  ดังที่ คายล์ แชฟเฟอร์ กล่าว, “นักศึกษาและอาจารย์ส่วนใหญ่เห็นหน้าคนงานในโรงอาหารทุกวัน, แต่ก็ยังมีเส้นแบ่งนี้,  ชุมชนมหาวิทยาลัยที่เป็นทางการโดยทั่วไป ไม่รวมคนงานในโรงอาหาร.  นั่นเป็นสิ่งที่เราต้องการเปลี่ยนในระดับรากฐาน...ที่จะให้การต่อสู้ของคนงาน เป็นการต่อสู้ของชุมชน”.
• The organization Just Harvest USA aims for all local and healthy food to also be justly picked food. It focuses specifically on bridging the gap between the sustainable food movement and the farmworker rights movement. It is reaching out to all those concerned about good local and healthy food – food co-ops, CSAs, farmers’ markets, organic producers and consumers, and natural health food stores – to bring forward the piece most often missing from the sustainability equation: labor wages and conditions for farmworkers. Just Harvest USA does extensive education such as learning delegations to Immokalee, and spearheads campaigns together with CIW and other farmworker rights groups, like the recent victorious one at Trader Joe’s.
-องค์กร เก็บเกี่ยวเป็นธรรม สหรัฐฯ เน้นให้อาหารท้องถิ่นและที่ดีต่อสุขภาพทั้งหมด ให้เป็นอาหารที่เก็บเกี่ยวอย่างเป็นะรรมด้วย.  มันเน้นเฉพาะที่เชื่อมช่องว่างระหว่างขบวนการอาหารยั่งยืน และ ขบวนการสิทธิคนงานฟาร์ม.  มันกำลังขยายออกไปสู่คนที่ห่วงใยกับการมีอาหารท้องถิ่นและสมบูรณ์แข็งแรงที่ดี—สหกรณ์อาหาร, CSAs, ตลาดนัดเกษตรกร, ผู้ผลิตและผู้บริโภคอินทรีย์, และร้านอาหารสุขภาพธรรมชาติ—ให้เติมเต็มในสมการความยั่งยืน เช่น ค่าแรงและสภาพของคนงานฟาร์ม.   เก็บเกี่ยวเป็นธรรม สหรัฐฯ ให้การศึกษาอย่างครอบคลุม เช่น การเยือนเชิงเรียนรู้ที่ อิมโมกาลี, และเป็นหัวหอกในการรณรงค์ร่วมกับ CIW และกลุ่มสิทธิคนงานฟาร์มอื่นๆ, เช่น ชัยชนะเมื่อเร็วๆ นี้ ที่ Trader Joe’s.
• A new certification, called Magen Tzedek or Seal of Justice, is now available to kosher producers that meet criteria regarding workers’ rights, environmental impact, and animal welfare.[13]116 Kosher foods refer to those sanctioned by Jewish law determining how foods are prepared and processed. In 2006, after a report that the nation’s largest kosher meatpacker, Agriprocessors Inc., was violating workers’ rights, Jewish leaders began creating the new certification. ”As concerned as we are about how an animal gets killed, we need to be equally concerned about how a worker lives,” says Rabbi Morris Allen, a leader in the certification effort.[14]117 The kosher food industry has sales of $11.5 billion annually, so a shift in practices could have widespread ramifications on the entire food supply chain in the U.S.[15]118
-ใบรับรองมาตรฐานใหม่, เรียกว่า Magen Tzedek หรือ ตราแห่งความยุติธรรม, มีแล้วสำหรับผู้ผลิตอาหารตามจารีตยิว kosher ที่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของสิทธิคนงาน, ผลกระทบสิ่งแวดล้อม, และ สวัสดิการสัตว์.  อาหาร kosher หมายถึง อาหารที่กฎของชาวยิวอนุมัติในรายละเอียดวิธีเตรียมและแปรรูปอาหาร.  ในปี 2006, หลังจากมีรายงานว่า ผู้บรรจุภัณฑ์เนื้อ kosher ใหญ่ที่สุดในประเทศ, Agriprocessors Inc., ได้ละเมิดสิทธิของคนงาน, ผู้นำชาวยิวได้เริ่มทำใบรับรองมาตรฐานใหม่.  “ด้วยความห่วงใยที่เรามีต่อกรรมวิธีที่สัตว์ถูกฆ่า, เราจำเป็นต้องห่วงใยอย่างเท่าเทียมกันว่าคนงานมีชีวิตอยู่อย่างไร”, Rabbi Morris Allen, ผู้นำในการทำใบรับรอง, กล่าว.  อุตสาหกรรมอาหาร kosher ได้ขาย $11.5 พันล้านต่อปี, ดังนั้น การขยับเปลี่ยนในวิธีปฏิบัติ สามารถจะมีผลแผ่ซ่านไปทั่วห่วงโซ่การจัดอาหารทั้งหมดในสหรัฐฯ.

 Ja-Rei Wang / After a 5-year underground campaign, Georgetown University’s dining hall workers won a union contract in 2011. This photo is from their first community meeting, when they were just beginning to organize.
หลังจากการรณรงค์ห้าปี, คนงานในโรงอาหารของมหาวิทยาลัยยอร์ชทาวน์ ได้ชัยชนะในการก่อตั้งเป็นสหภาพได้ ในปี 2011.  ภาพนี้ ถ่ายในการประชุมชุมชนครั้งแรก, เมื่อพวกเขาเพิ่งเริ่มรวมตัวเป็นกระบวนกัน.

• People are challenging the organic industry to step up to a higher standard in respecting workers’ rights. Organic certification in the U.S. is regulated by the USDA and currently does not address labor rights. Organizations like the Agricultural Justice Project (AJP) are creating domestic fair-trade labels. In order to earn AJP’s Food Justice Certified stamp of approval, companies and farms must align themselves with standards regarding fair wages, freedom of association, workplace health and safety, and farmworker housing. Other groups like the Domestic Fair Trade Association and the Organic Consumer Association’s Fair World Project are playing a monitoring role, making sure certification programs uphold the standards that they profess.
-ประชาชนกำลังท้าทายอุตสาหกรรมอินทรีย์ เพื่อยกระดับสิทธิคนงานสู่มาตรฐานที่สูงขึ้น.  ในรับรองอินทรีย์ในสหรัฐฯ ถูกควบคุมโดยกระทรวงเกษตร สหรัฐฯ และปัจจุบัน ไม่ได้พูดถึงสิทธิแรงงาน.  องค์กรเช่น โครงการเกษตรเป็นธรรม (AJP) กำลังสรรค์สร้างฉลาก การค้าเป็นธรรมในประเทศ.  เพื่อให้ตรายางรับรองอาหารเป็นธรรม ของ AJP ได้รับอนุมัติ, บริษัทและฟาร์มจะต้องจัดเรียงตัวเองตามมาตรฐานของ ค่าแรงเป็นธรรม, อิสรภาพที่จะรวมเป็นสมาคม, สุขภาพและความปลอดภัยของที่ทำงาน, และ ที่พักอาศัยของคนงานฟาร์ม.  กลุ่มอื่นๆ เช่น สมาคมการค้าเป็นธรรมในประเทศ และ โครงการโลกเป็นธรรม ของ สมาคมผู้บริโภคอินทรีย์ กำลังเล่นบทติดตาม, เพื่อให้แน่ใจว่าโปรแกมรับรองทำตามมาตรฐานที่พวกเขาไดปฏิญาณ.
• Programs are helping immigrant farmworkers start up their own operations. Many of those who participate have agricultural experience but lack the funds to buy or rent land and are unfamiliar with U.S. markets. These programs provide access to training, loans, and equipment. They offer small pieces of land, ‘incubator farms,’ on which immigrants can start their businesses.
-โปรแกมกำลังช่วยคนงานฟาร์มย้ายถิ่นให้เริ่มดำเนินการเอง.  หลายคนที่มีส่วนร่วมมีประสบการณ์ด้านเกษตร แต่ไม่มีทุนที่จะซื้อหรือเช่าที่ดิน และก็ไม่คุ้นกับตลาดสหรัฐฯ.  โปรแกมเหล่านี้ ช่วยให้เข้าถึงการฝึกอบรม, การกู้, และอุปกรณ์.  พวกเขาได้ให้ที่ดินผืนเล็กๆ, เป็น ฟาร์มบ่มเพาะ, ที่คนย้ายถิ่นสามารถเริ่มธุรกิจของตนเอง.
In Monterey County, California, the nonprofit organization Agriculture and Land-Based Training Association (ALBA) holds a six-month course on the ins and outs of running an organic farm, after which graduates can lease plots of land for just 10 percent of the market rate. The New Entry Sustainable Farming Project in Massachusetts has graduated over 60 new farmers from their training course, primarily Hmong, Khmer, African, and Latino immigrants. After completing the course, farmers can lease up to an acre of land and access a wide range of technical assistance.
ในเขตมอนเตอเรย์, แคลิฟอร์เนีย, องค์กรไม่แสวงกำไร สมาคมฝึกอบรมเกษตรและติดดิน (ALBA) จัดการอบรมหลักสูตรหกเดือน หัวข้อการเข้าและออกในการดำเนินฟาร์มอินทรีย์, ผู้จบหลักสูตรแล้ว สามารถเช่าแปลงที่ดินในอัตราเพียง 10% ของราคาตลาด.  โครงการผู้เข้ามาใหม่สู่การเกษตรยั่งยืน ในแมสซัสชูเซทส์ ได้อบรมเกษตรกรใหม่กว่า 60 คน จากหลักสูตรอบรมของพวกเขา, ส่วนใหญ่เป็นผู้อพยพชาวม้ง, เขมร, อัฟริกัน, และ ลาติน.  หลังจบการอบรม, เกษตรกรสามารถเช่าที่ได้สูงสุดหนี่งเอเคอร์ และ เข้าถึงการช่วยเหลือเชิงเทคนิคมากมาย.


[1] 104. William Kandel, “Profile of Hired Farmworkers, A 2008 Update,” (Economic Research Report No. 60, U.S. Department of Agriculture, July, 2008), 38, www.ers.usda.gov/publications/err60/err60.pdf.
[2] 105. U.S. Department of Labor, “A Demographic and Employment Profile of United States Farm Workers,” Research Report No. 9, March 2005, 3, http://www.doleta.gov/agworker/report9/naws_rpt9.pdf. According to a National Agricultural Workers Survey from 2000-2001, 53% of the farmworkers in the U.S. are undocumented. However, because these statistics rely on self-reporting, some people think the number is actually much higher. Rob Williams, the director of the Migrant Farmworker Justice Project, estimates that over 90% are undocumented. See: The Economist, “Field of Tears: They Came to America Illegally, for the Best of Reasons,” online, December 16, 2010, http://www.economist.com/node/17722932.
[3] 106. Ibid. 81% of farmworkers speak Spanish as a native language, according to the National Agricultural Workers Survey.
[4] 107. Coalition of Immokalee Workers, “Facts and Figures on Florida Farmworkers,” 1, accessed April 12, 2012, www.ciw-online.org/Resources/10FactsFigures.pdf.
[5] 108. Patty Kupfer, David Waskow, and Kasey Butler, “Reaping the Seeds We Sow: U.S. Farm Policy and the Immigration Debate,”Building Sustainable Futures for Farmers Globally, 1.
[6] 109. Coalition of Immokalee Workers, “Facts and Figures on Florida Farmworkers,” 2, accessed April 12, 2012, www.ciw-online.org/Resources/10FactsFigures.pdf.
[7] 110. Greg Asbed, email to the authors, August 30, 2011.
[8] 111. Laura Germino, email to the authors, August 11, 2011.
Laura Germino coordinates the Anti-Slavery Campaign for the
Florida-based Coalition of Immokalee Workers (CIW).
[9] 112. Arturo S. Rodriguez, “President’s Message,” United Farm Workers, December 15, 2011, http://www.ufw.org/_board.php?mode=view&b_code=org_pre&b_no=11604&page=1&field=&key=&n=75.
[10] 113. Gerardo Reyes, Interview with Beverly Bell.
[11] 114. Food Chain Workers Alliance, “Mission,” accessed February 22, 2012, http://foodchainworkers.org/?page_id=38.
[12] 115. Restaurant Opportunities Centers United, “Workplace Justice,” accessed February 22, 2012, http://rocunited.org/ourwork/
workplace-justice/; and Restaurant Opportunities Centers United, “Our Reports,” accessed February 22, 2012, http://rocunited.org/research-resources/our-reports/.
[13] 116. For more information on Magen Tzedek, visit www.magentzedek.org.
[14] 117. Samuel G Freedman, “Rabbi’s Campaign for Kosher Standards Expands to Include Call for Social Justice,” New York Times online, May 19, 2007, www.nytimes.com/2007/05/19/us/19religion.html?pagewanted=all.
[15] 118. Samuel G Freedman, “Rabbi’s Campaign for Kosher Standards Expands to Include Call for Social Justice,” New York Times online, May 19, 2007, www.joi.org/bloglinks/NYTimesAllen.html.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น