วันอาทิตย์ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2556

183. จีดีพี ฆ่าความสุข...จะกู้คืนด้วยการวัดความสุขได้ไหม?


The Happiness Initiative: The Serious Business of Well-Being
โครงการริเริ่มความสุข: ธุรกิจความอยู่ดีมีสุขที่เอาจริงเอาจัง
โดย ลอรา มิวสิกานสกี้ และ จอห์น เดอ กราฟ

Happiness: is it just a fad of the day or the wave of the future? On July 19th, 2011, the United Nations (UN) passed a resolution urging governments across the globe to start measuring happiness and well-being “with a view to guiding public policy.” The UN recognizes that gross domestic product (GDP) is an insufficient guide for safeguarding the well-being of people or our future. Instead, the UN suggests “a more inclusive, equitable and balanced approach to economic growth that promotes sustainable development, poverty eradication, happiness and well-being of all peoples.”
ความสุข: มันเป็นเพียงแฟชั่นประจำวัน หรือ เป็นกระแส/ระลอกคลื่นแห่งอนาคต?  ในวันที่ 19 กรกฎาคม 2011, สหประชาชาติมีมติเชิญชวนให้รัฐบาลทั่วโลกให้เริ่มวัดความสุขและความอยู่ดีมีสุข “ด้วยมุมมองเพื่อชี้นำนโยบายสาธารณะ”.  ยูเอ็นยอมรับว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (จีดีพี) ไม่เพียงพอที่จะชี้นำเพื่อปกป้องความอยู่ดีมีสุขของประชาชน หรือ อนาคตของเรา.  แทนที่จะเป็นเช่นนั้น, ยูเอ็นแนะ “แนวทางที่สมดุล, เท่าเทียม และ โอบรวมทุกส่วน สู่การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ที่ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน, ขจัดความยากจน, อยู่ดีมีสุขของมวลชนทั้งหมด”.
In April, 2012, the UN held its first High Level Meeting on Happiness and Well-Being. Prime Minister Jigmi Thinley of Bhutan set the tone:
ในเดือน เมษายน 2012, ยูเอ็นจัดการประชุมระดับสูงครั้งแรกเรื่องความอยู่ดีมีสุข.  นายกรัฐมนตรี จิกมี ธินเลย์ แห่งภูฐาน กำหนดท่วงทำนองของการประชุม:
The time has come for global action to build a new world economic system that is no longer based on the illusion that limitless growth is possible on our precious and finite planet or that endless material gain promotes well-being. Instead, it will be a system that promotes harmony and respect for nature and for each other; that respects our ancient wisdom traditions and protects our most vulnerable people as our own family, and that gives us time to live and enjoy our lives and to appreciate rather than destroy our world. It will be an economic system, in short, that is fully sustainable and that is rooted in true, abiding well-being and happiness.
เวลาได้มาถึงแล้วสำหรับปฏิบัติการโลกในการสร้างระบบเศรษฐกิจใหม่ ที่ไม่ตั้งอยู่บนภาพหลอนอีกต่อไปว่า การขยายตัวที่ไม่จำกัดนั้น เป็นไปได้บนโลกอันล้ำค่าและมีขอบเขต หรือว่า การกอบโกยวัตถุอย่างไม่มีที่สิ้นสุด เป็นการส่งเสริมความอยู่ดีมีสุข.  แทนที่จะเป็นเช่นนั้น, มันจะเป็นระบบที่ส่งเสริมความสามัคคีกลมเกลียว และ เคารพต่อธรรมชาติ และ ต่อกันและกัน; ที่เคารพต่อประเพณีภูมิปัญญาโบราณของเรา และ ป้องกันคนที่เปราะบางที่สุดเสมือนครอบครัวของเราเอง, และที่ให้เวลาแก่เราให้มีชีวิตและสนุกกับชีวิต และ ซาบซึ้ง มากกว่าทำลายโลกของเรา.  มันจะเป็นระบบเศรษฐกิจที่ยั่งยืนอย่างเต็มที่ และหยั่งรากอยู่ในความอยู่ดีมีสุขที่แท้จริงและคงทน.
We’re part of a team that is working to find concrete ways to engage individuals and communities in just the sort of reassessment the United Nations proposes. We started a project we call The Happiness Initiative in 2010. Before we explain how our model works, it’s important to understand why such a project is needed.
พวกเราเป็นส่วนหนึ่งของทีมทำงานเพื่อค้นหาวิถีทางที่เป็นรูปธรรมที่ให้ปัจเจกและชุมชนได้มีส่วนร่วม ในการทบทวนการประเมินใหม่ ดังที่ยูเอ็นได้นำเสนอ.  เราเริ่มด้วยโครงการที่เราเรียกว่า โครงการริเริ่มความสุข ในปี 2010.  ก่อนที่เราจะอธิบายเกี่ยวกับโมเดลของเรา, จำเป็นที่จะต้องทำความเข้าใจว่า ทำไมโครงการเช่นนี้จึงจำเป็นต้องทำ.

A Broken System / ระบบที่ล่มจม
It’s clear to those who’ve been paying attention that our current economic behaviors are on a collision course with the earth’s limits, an issue the founders of the Balaton Group warned about 40 years ago in their seminal book Limits to Growth. Recent reports by the Global Footprint Network and others confirm their predictions. We are now using resources and generating wastes at rates 40 percent higher each year than can be sustained. If every country on earth were to consume at U.S. levels, we’d need five planets.
มันชัดเจนสำหรับผู้ที่ได้ให้ความสนใจต่อพฤติกรรมเศรษฐกิจของพวกเราในปัจจุบัน ที่ปะทะกับความจำกัดของโลก, อันเป็นประเด็นที่ผู้ก่อตั้ง กลุ่มบาลาตัน ได้เตือนไว้ประมาณ 40 ปีก่อน ในหนังสือต้นแบบ ความจำกัดของการขยายตัว.   รายงานเมื่อเร็วๆ นี้ โดย เครือข่ายรอยเท้านิเวศโลก และ อื่นๆ ได้ยืนยันพยากรณ์ของพวกเขา.  ตอนนี้ พวกเรากำลังใช้ทรัพยากร และ สร้างขยะ ในอัตราเพิ่มขึ้น 40% ทุกปี ซึ่งเกินกว่าที่โลกจะเจือจุนได้.  หากทุกประเทศบนโลกหันไปบริโภคในระดับเดียวกับสหรัฐฯ, เราต้องมีโลกห้าใบ.
As the UN points out, part of the problem is our current metric for societal success: GDP. While the United States has one of the world’s largest per capita GDPs, it trails most other wealthy countries and some poorer ones in many ways. A few examples:
ดังที่ ยูเอ็น ได้ชี้แจง, ปัญหาบางส่วนคือ มาตรวัดความสำเร็จทางสังคมในปัจจุบันของเรา: จีดีพี.  ในขณะที่สหรัฐฯ เป็นหนึ่งในประเทศที่มี จีดีพีต่อหัวมากที่สุดในโลก, มันล้าหลังประเทศร่ำรวยส่วนใหญ่ และ บางประเทศที่ยากจน ในหลายๆ เรื่อง.  ยกตัวอย่าง:
·         Americans are more likely to report experiencing stress than are people of 144 other nations. Rich and poor Americans are more likely to be anxious or worried than people in 88 other nations. The United States ranks 11th in “life satisfaction” according to the Gallup-Healthways poll, but well below Denmark, Finland, Norway, and the Netherlands.
    • ชาวอเมริกันมีแนวโน้มจะรายงานว่าเครียดกว่าประชาชนในอีก 144 ประเทศ.  อเมริกันรวยและจนมีแนวโน้มที่จะห่วงกังวลกว่าประชาชนในอีก 88 ประเทศ.  สหรัฐฯ อยู่ในอันดับที่ 11 ในหัวข้อ “ความพึงพอใจในชีวิต” ตามการสุ่มสำรวจความเห็น Gallup-Healthways poll, แต่รั้งท้ายเดนมาร์ก, ฟินแลนด์, นอร์เวย์, และ เนเธอร์แลนด์.
·         Americans consume nearly two-thirds of the world’s antidepressants.
    • ชาวอเมริกันบริโภคเกือบ 2/3 ของยาคลายเครียดของโลก.
·         More than a third of Americans over 45 report being chronically lonely, up from 20 percent in 2000.
    • กว่า 1/3 ของชาวอเมริกันอายุเกิน 45 รายงานว่า มีความเหงาเรื้อรัง, เพิ่มขึ้นจาก 20% ในปี 2000.
·         U.S. life expectancy is 50th in the world according to the CIA World Factbook, shorter than in any other rich country, despite the fact that Americans spend twice as much on health care per capita than other countries do.
    • อายุขัยในสหรัฐฯ อยู่ในอันดับที่ 50 ในโลก ตาม CIA World Factbook (ข้อมูลเท็จจริงโลก ซีไอเอ), สั้นกว่าประเทศร่ำรวยอื่นๆ, ทั้งๆ ที่ชาวอเมริกันใช้จ่ายค่าดูแลสุขภาพต่อหัวมากกว่าประเทศอื่นๆ ถึง 2 เท่า.
·         Rates of poverty and child poverty in the US are the highest among wealthy countries, and more than double the average in Europe.
    • อัตราความยากจนและความยากจนของเด็กในสหรัฐฯ สูงสุดในหมู่ประเทศร่ำรวย, และคิดเป็นสองเท่าของอัตราเฉลี่ยในยุโรป.
Yet sadly, the American economic model is becoming more dominant, even in Europe. We are sacrificing our health, happiness, social connection, leisure time, and the environment in the blind pursuit of growth. We can’t go on like this.
แต่น่าเศร้า, โมเดลเศรษฐกิจอเมริกัน กำลังครอบงำมากขึ้น, แม้แต่ในยุโรป.  พวกเรากำลังสังเวยสุขภาพ, ความสุข, ความเชื่อมโยงทางสังคม, เวลาพักผ่อนหย่อนใจ, และ สิ่งแวดล้อม ในการไล่ล่าการขยายตัวอย่างคนตาบอด.  พวกเราไม่สามารถทำต่อไปเช่นนี้ได้.

Bhutan’s Gross National Happiness / ความสุขประชาชาติมวลรวมของภูฐาน
Forty years ago, King Jigmi Singye Wangchuck of Bhutan was asked what he was going to do to improve his nation’s gross national product (GNP). He replied that, “Gross national happiness is more important than gross national product.” In 2004, with the assistance of the United Nations Development Program, Bhutan brought in a group of scientists and developed its first happiness survey based on nine domains of life: material well-being, good governance, environmental quality and access to nature, community well-being, cultural well-being, education, health, psychological well-being, and time balance.
 
สี่สิบปีก่อน, พระราชาบดีจิกมี ซินกาย วังชุก แห่งภูฐาน ถูกถามว่า พระองค์จะทำอะไรเพื่อปรับปรุง ค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (จีเอ็นพี).  พระองค์ตอบว่า, “ความสุขมวลรวมประชาชาติสำคัญกว่า จีเอ็นพี”.   ในปี 2004, ด้วยความช่วยเหลือของ ยูเอ็นดีพี, ภูฐานได้นำกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ให้เข้ามาและได้พัฒนาการสำรวจความสุขครั้งแรก ที่ครอบคลุมเก้าปริมณฑลของชีวิต: ความอยู่ดีกินดี (วัตถุ), ธรรมาภิบาล, คุณภาพสิ่งแวดล้อมและการเข้าถึงธรรมชาติ, ความอยู่ดีมีสุขของชุมชน, ความอยู่ดีมีสุขเชิงวัฒนธรรม, การศึกษา, สุขภาพ, ความอยู่ดีมีสุขทางอารมณ์จิตใจ, และ เวลาที่สมดุล.
Since World War II, the consumer society has been triumphant. It’s time to look beyond consumerism to happiness, argue the authors. (James Vaughan/Flickr)...ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สอง, สังคมบริโภคนิยมได้ชัยชนะ.  ถึงเวลาแล้วที่จะมองให้ไกลโพ้นลัทธิบริโภคนิยม สู่ ความสุข.

At the same time, Bhutan identified 72 objective metrics for the nine domains of happiness. Subjective survey results, complemented by these objective metrics, are now used to guide policy decisions and allocation of resources in Bhutan. Recently, for example, when faced with deciding whether to build a dam in a large Himalayan valley so it could sell hydropower, the government decided that preservation of ecosystems and the value of nature to Bhutanese culture outweighed expected monetary gain.
ในขณะเดียวกัน, ภูฐานได้ระบุมาตรเชิงข้อเท็จจริง 72 รายการสำหรับปริมณฑลแห่งความสุขทั้งเก้า.  ผลการสำรวจความคิดเห็นส่วนบุคคล, เจือจุนด้วยมาตรเชิงข้อเท็จจริงเหล่านี้, ตอนนี้ ถูกใช้เป็นตัวชี้นำการตัดสินในเชิงนโยบายและการจัดสรรทรัพยากรในภูฐาน.  ยกตัวอย่าง, เมื่อเร็วๆ นี้ เมื่อต้องเผชิญกับการตัดสินใจว่า จะสร้างเขื่อนในหุบหิมาลัยอันใหญ่โต เพื่อขายพลังน้ำ ดีไหม, รัฐบาลได้ตัดสินใจอนุรักษ์ระบบนิเวศ และ คุณค่าของธรรมชาติต่อวัฒนธรรมภูฐาน มีน้ำหนักมากกว่ารายได้เป็นเม็ดเงิน.

The Global Search for New Measures of Well-Being / การแสวงหาของโลกเพื่อวัดความอยู่ดีมีสุข
A handful of world leaders have already been following the example of Bhutan. The British prime minister, David Cameron, says he wants his legacy to be a measure of happiness. The United Kingdom’s Office of National Statistics conducted its first survey and found the British to be “unhappy” about work, family, education, and health care, but not very concerned about climate change.
ผู้นำโลกหยิบมือหนึ่งได้เดินตามตัวอย่างของภูฐาน.  นายกรัฐมนตรีอังกฤษ, เดวิด แคมเมอรอน, กล่าวว่า เขาต้องการให้ตำนานของเขาอยู่ที่ มาตรวัดความสุข.   สำนักสถิติแห่งชาติของสหราชอาณาจักร ได้ทำการสำรวจครั้งแรก และ พบว่า ชาวอังกฤษ “ไม่มีความสุข” กับงาน, ครอบครัว, การศึกษา, และการบริการสุขภาพ, แต่ไม่ค่อยกังวลเกี่ยวกับภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง.
In 2010 France’s President Nicolas Sarkozy strongly urged all world leaders to consider happiness and well-being measures in addition to GDP.
ในปี 2010 ประธานาธิบดีฝรั่งเศส นิโคลัส ซาร์โคซี ได้ชักชวนผู้นำโลกทั้งหมดด้วยถ้อยคำหนักแน่น ให้ใช้มาตรวัดความอยู่ดีมีสุข เพิ่มจาก จีดีพี.
In Sao Paulo, Brazil, an organization called Future Vision is working with high school students, training them to go door to door in neighborhoods, survey residents’ well-being, and hold town meetings. An unexpected outcome of these projects is a newfound respect between neighborhood residents and youth.
ในเซาเปาโล, บราซิล, องค์กรหนึ่งเรียกว่า วิสัยทัศน์อนาคต (Future Vision) กำลังทำงานกับนักเรียนชั้นมัธยม, อบรมพวกเขาให้เดินเคาะประตู, สำรวจความอยู่ดีมีสุขของชาวบ้าน, และจัดประชุมในเมือง.  ผลพวงที่ไม่ได้คาดหมายของโครงการเหล่านี้คือ ความรู้สึกเคารพที่เพิ่งพบระหว่างชาวบ้านในละแวกกับเยาวชน.
Canada recently issued its first Index of Well-Being, using objective metrics. These well-being indicators will be considered in forming public policy. At the same time, the City of Victoria in British Columbia refined the survey used in Bhutan and was the first to survey its population, using a random sample. That work brought refreshed awareness to Mayor Dean Fortin who believes we need to find different models of success: “Our children will not be the consumers that we are. Our world cannot afford that level of overconsumption.” Their idea sparked our project.
แคนาดาเมื่อเร็วๆ นี้ได้บัญญัติดัชนีตัวแรกของความอยู่ดีมีสุข, ด้วยการใช้มาตรเชิงข้อเท็จจริง.  ดัชนี้ความอยู่ดีมีสุขเหล่านี้จะถูกพิจารณาใช้ในการกำหนดนโยบายสาธารณะ.  ในขณะเดียวกัน, เมืองวิคตอเรียในบริติชโคลัมเบีย ได้เกลาวิธีการสำรวจที่ใช้ในภูฐาน และเป็นประเทศแรกที่ได้ทำการสำรวจประชากรด้วยการสุ่มตัวอย่าง.  งานชิ้นนั้น ได้นำมาซึ่งความตื่นตัวที่มีชีวิตชีวาแก่นายกเทศมนตรี ดีน ฟอร์ติน ผู้เชื่อว่า เราจำเป็นต้องหาโมเดลของความสำเร็จต่างๆ: “ลูกหลานของเราจะต้องไม่เป็นนักบริโภคนิยมแบบพวกเรา.  โลกของเราไม่สามารถแบกรับระดับการบริโภคมากเกินขนาดนั้น”.  ความคิดของพวกเขาจุดประกายโครงการของพวกเรา.

The Happiness Initiative / โครงการริเริ่มความสุข
The Happiness Initiative began as Sustainable Seattle’s fifth set of regional sustainability indicators, but has now become an independent project. We launched the project by putting Victoria’s happiness survey online in January of 2011. People from every state in the United States took it, as did 500 people from other countries. The survey was a shortened version of Bhutan’s, but still took half an hour to complete (a problematic length in an age of short attention spans).
โครงการริเริ่มความสุขเริ่มต้นจากการเป็นชุดที่ห้าของดัชนีความยั่งยืนภูมิภาคของ Sustainable Seattle (ซีแอตเติลที่ยั่งยืน), แต่ตอนนี้ได้กลายเป็นโครงการอิสระ.  เราได้เริ่มโครงการนี้ด้วยการใช้การสำรวจความสุขของวิคตอเรียออนไลน์ ในเดือนมกราคม 2011.  ประชาชนจากทุกมลรัฐในสหรัฐฯ ได้ตอบแบบสำรวจ, เช่นเดียวกับผู้คนอีก 500 คนจากประเทศอื่นๆ.  แบบสำรวจนี้สั้นกว่าของภูฐาน, แต่ก็ยังต้องใช้เวลาครึ่งชั่วโมงเพื่อตอบให้หมด (ปัญหาความยาวในยุคของสมาธิสั้น).

The First Happiness Report Card: In November of 2011, we issued our first happiness report card to the City Council of Seattle, which had unanimously proclaimed it would consider the results in future policymaking.
การ์ดรายงานความสุขที่หนึ่ง: ในเดือนพฤศจิกายน 2011, พวกเราได้เผยแพร่การ์ดรายงานความสุขที่หนึ่งต่อสภาเมืองซีแอตเติล, ซึ่งได้กล่าวเป็นเสียงเดียวกันว่า จะพิจารณาผลจากการ์ดรายงานในการวางนโยบายครั้งหน้า.
The first happiness report card compiled the results of 7,200 people who completed the survey, including 2,600 from the Seattle area. The happiness report card for the Seattle area found that the lowest score was in time balance. Scores were also low in community participation, and satisfaction with government. Scores were high in material well-being and psychological well-being, but the objective metrics tell a somewhat different story. For example, average income trends down and reports of domestic violence are up.
การ์ดรายงานความสุขครั้งที่หนึ่ง รวบรวมผลสำรวจจาก 7,200 คนที่ตอบสมบูรณ์, รวมทั้ง 2,600 คนจากบริเวณซีแอตเติล.  การ์ดรายงานความสุขสำหรับบริเวณซีแอตเติล พบว่า คะแนนต่ำสุดอยู่ที่สมดุลเวลา.  คะแนนต่ำๆ ก็อยู่ในการมีส่วนร่วมในชุมชน, และความพึงพอใจต่อรัฐบาล.   คะแนนสูงอยู่ในความอยู่ดีมีสุขทางวัตถุ และ อารมณ์จิตใจ, แต่มาตรเชิงข้อเท็จจริงเล่าเรื่องที่ต่างออกไป.  ยกตัวอย่าง, แนวโน้มของรายได้เฉลี่ยไปทางลด และ รายงานเรื่องความรุนแรงในครอบรัวเพิ่มขึ้น.
Perhaps the most surprising finding in the Seattle report was that youth, ages 19–24, were the least satisfied age group. They scored low in affect, satisfaction with life, time balance, the environment, and material well-being. This differs from previous results in well-being research. While it may be that our sample is not fully representative of youth, the Occupy movement and consistent messages of environmental decline and unemployment rates may play a role in the gloomier outlook among young people. For all ages, closer community ties bring greater happiness.
บางทีการค้นพบที่น่าประหลาดใจที่สุดในรายงานซีแอตเติล คือ เยาวชน, อายุ 19-24, เป็นกลุ่มอายุที่มีความพอใจน้อยที่สุด.  พวกเขาให้คะแนนต่ำในความรู้สึกกระทบ, ความพึงพอใจกับชีวิต, สมดุลของเวลา, สิ่งแวดล้อม, และความอยู่ดีมีสุดด้านวัตถุ.  นี่ต่างกับผลก่อนๆ ในงานวิจัยเรื่องความอยู่ดีมีสุข.  ในขณะที่ ตัวอย่างของเราอาจไม่เป็นตัวแทนพอของเยาวชน, การเคลื่อนไหวยึดพื้นที่ และ ข่าวที่ออกมาอย่างสม่ำเสมอเรื่องสิ่งแวดล้อมแย่ลง และ อัตราการว่างงาน อาจมีส่วนสร้างภาพที่มืดมัวให้แก่คนหนุ่มสาว.  สำหรับทุกวัย, ชุมชนที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันนำมาซึ่งความสุขมากกว่า.
Immigrants were even less happy than youth. A Seattle Department of Neighborhoods grant allowed us to translate the survey into several languages used commonly by immigrants in the city. Local organizations serving the Vietnamese, Somali, Oromo, and Filipino communities used these surveys with immigrants. In all domains, their scores were well below (10 to 25 percent) city averages, particularly in “confidence in government.” Community meetings were held to address the issues; one held by the Vietnamese Friendship Association drew 200 local community members and many city and police officials. While being taught how to make Vietnamese “spring” rolls, the group looked for ways to increase trust and understanding.
คนอพยพมีความสุขยิ่งน้อยกว่าเยาวชน.  ด้วยทุนจากกรมละแวกบ้านของซีแอตเติล ทำให้เราแปลแบบสำรวจเป็นหลายภาษาที่ใช้กันทั่วไปโดยผู้อพยพอาศัยอยู่ในเมือง.  องค์กรท้องถิ่นที่ให้บริการแก่ชุมชนเวียดนาม, โซมาลี, โอโรโม, และฟิลิปปินส์ ได้ใช้แบบสำรวจนี้กับผู้อพยพ.  ในปริมณฑลทั้งหมด, คะแนนต่ำกว่า (10-20%) ของค่าเฉลี่ยของเมือง, โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใน “ความเชื่อมั่นในรัฐบาล”.  มีการจัดประชุมชุมชนเพื่อพูดถึงประเด็นเหล่านั้น; การประชุมหนึ่งที่จัดโดย สมาคมมิตรภาพเวียดนาม มีสมาชิกชุมชนท้องถิ่นเข้าร่วม 200 คน และเจ้าหน้าที่เมืองและตำรวจอีกหลายคน.  ในขณะที่มีการสอนวิธีทำ “ปอเปี๊ยะญวน”, ผู้เข้าร่วมประชุมก็หาทางที่จะเพิ่มความเชื่อถือและความเข้าใจต่อกันมากขึ้น.

New, shorter survey now available: We have also launched a new, shorter, fully validated, and more effective survey. The new survey includes 10 domains of well-being. It was developed by a team led by San Francisco State University’s Ryan Howell, who says that, “When you take into account both time efficiency and comprehensiveness, I firmly believe this is the best well-being survey out there anywhere. Individuals, organizations, academic institutions, and governments can all benefit from using this survey.”
แบบสำรวจใหม่และสั้นกว่า ตอนนี้มีแล้ว:  เราได้เริ่มออกแบบสำรวจใหม่ที่สั้นกว่า, สมบูรณ์ และมีประสิทธิภาพกว่า.  แบบสำรวจใหม่นี้มี 10 ปริมณฑลของความอยู่ดีมีสุข ซึ่งทีมนำโดย ไรอัน โฮเวล จากมหาวิทยาลัยซานฟรานซิสโกได้พัฒนาขึ้น.  เขาบอกว่า “เมื่อคุณคำนึงถึงสมรรถนะของเวลาและความสมบูรณ์, ผมเชื่อมั่นว่า นี่เป็นแบบสำรวจความอยู่ดีมีสุขที่ดีที่สุดที่มีอยู่.  บุคคล, องค์กร, สถาบันวิชาการ, และ รัฐบาล สามารถได้รับประโยชน์จากการใช้แบบสำรวจนี้”.
A representative sampling of Americans has been taken to provide baseline data for the new survey. Each survey-taker receives a personal score, comparing the taker’s well-being in each of the 10 domains with a national average score. Aggregate results are provided to communities by zip code or to organizations using referral codes or unique URLs.
ตัวอย่างที่แทนชาวอเมริกันได้ถูกจัดเก็บเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการสำรวจใหม่.  ผู้ตอบแบบสำรวจได้รับคะแนนส่วนบุคคล, ที่เปรียบเทียบความอยู่ดีมีสุขของผู้ตอบใน 10 ปริมณฑล กับคะแนนเฉลี่ย.  ผลรวมถูกจัดเป็นชุมชนตามรหัสไปรษณีย์ หรือ ตามองค์กรที่กำหนดรหัส หรือ URL พิเศษ.
Here is the latest data from the survey: http://www.happycounts.org/overview/
ดูข้อมูลล่าสุดจากการสำรวจได้ที่ http://www.happycounts.org/overview/
Across the United States, city council members, city managers, members of regional governing boards, and many community activists are showing interest. In Eau Claire, Wisconsin, a city of 66,000, the city manager convened a team including local universities, the chamber of commerce, the public library, and other organizations to launch an initiative. Many colleges and universities are also beginning class- or campus-wide initiatives. Students at Colby-Sawyer College in New Hampshire are conducting the survey on campus and in the nearby town of New London as part of a transitional towns initiative.
ทั่วสหรัฐฯ, สมาชิกสภาเมือง, ผู้จัดการเมือง, สมาชิกของคณะกรรมการปกครองส่วนภูมิภาค, และนักกิจกรรมชุมชนหลายคนได้แสดงความสนใจ.  ใน Eau Claire, Wisconsin, ประชากร 66,000, ผู้จัดการเมืองได้จัดทีมที่มีมหาวิทยาลัยท้องถิ่น, หอการค้า, ห้องสมุดสาธารณะ, และ องค์กรอื่นๆ เพื่อเริ่มทำโครงการริเริ่ม.   วิทยาลัยและมหาวิทยาลัยหลายแห่งกำลังเริ่มโครงการริเริ่มนี้ ในชั้นเรียน หรือ ในวิทยาเขต.  นักเรียนที่ Colby-Sawyer College ในรัฐ New Hampshire กำลังทำการสำรวจในวิทยาเขต และ ใน New London ซึ่งเป็นเมืองใกล้เคียง ในฐานะที่เป็นโครงการริเริ่มสำหรับเมืองในระยะเปลี่ยนผ่าน.
Internationally, interest in the Happiness Initiative is also growing. At the Balaton meeting, Gyongyver Gyene, a professor and community activist from Budapest, Hungary, declared that, “A happiness initiative in our transitioning area could be very timely as we negotiate increasing tension, economic instability, and rapid changes to our built and social environments in Budapest.” Swapan Metha, who led an effort that brought 10,000 youth to march in the streets of New Dehli, India, to protest corruption, added that, “It is important that people have a way to communicate what really matters to them, and for policy makers and other decision makers to hear this. Our current systems are not working, so maybe something like this could make a difference.”
ในระดับนานาชาติ, ก็มีความสนใจในโครงการริเริ่มความสุขมากขึ้นด้วย.  ณ ที่ประชุม บาลาตัน, Gyongyver Gyene, ศาสตราจารย์ และ นักกิจกรรมชุมชนจากบูดาเปส, ฮังการี, ประกาศว่า, “โครงการริเริ่มความสุขในเขตการเปลี่ยนผ่านของเรา เป็นสิ่งที่มาได้ถูกเวลา ในขณะที่เรากำลังต่อรองกับความตึงเครียดที่เพิ่มมากขึ้น, เศรษฐกิจไม่เสถียร, และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในสภาพแวดล้อมที่เราสร้างขึ้นและในด้านสังคม ในบูดาเปส”.  Swapan Metha, ผู้นำในการจัดกระบวนเยาวชน 10,000 คน ให้เดินขบวนไปตามถนนของนิวเดลฮี, อินเดีย, เพื่อประท้วงคอรัปชั่น, ได้เสริมว่า, “มันเป็นสิ่งสำคัญที่ประชาชนมีช่องทางที่จะสื่อสิ่งที่สำคัญจริงๆ ต่อพวกเขา, และสำหรับผู้กำหนดนโยบาย และผู้ทำการตัดสินใจอื่นๆ ให้ได้ยินด้วย.  ระบบปัจจุบันของเรา ไม่ทำงานแล้ว, ดังนั้น อะไรบางอย่างคล้ายกับอันนี้ อาจทำให้เกิดความแตกต่างได้”.
There are nine steps to conducting a happiness initiative:
มีเก้าขั้นในการดำเนินโครงการริเริ่มความสุข:
1.       Form a happiness team. For a city or town, this includes people representing local government, universities, or other educational institutions, business representatives, health authorities, community-based organizations, and other institutions such as the public library. We have developed toolkits so that anyone can measure happiness. These can be found at www.happycounts.org. Each organization is encouraged to proclaim its public support for the project and a model proclamation is included in the toolkit.
จัดตั้งทีมงานความสุข.  สำหรับเมือง, จะต้องรวมคนที่เป็นตัวแทนของรัฐบาลท้องถิ่น, มหาวิทยาลัย, หรือ สถาบันการศึกษาอื่นๆ, ผู้แทนธุรกิจ, เจ้าหน้าที่สาธารณสุข, องค์กรชุมชน, และสถาบันอื่นๆ เช่น ห้องสมุดสาธารณะ.  เราได้พัฒนาชุดเครื่องมือเพื่อว่าใครก็ได้สามารถวัดความสุข, ซึ่งหาใช้ได้ที่ www.happycounts.org.   ต่ละองค์กรถูกเชิญชวนให้ประกาศโครงการของตนอย่างเป็นทางการ และ แบบประกาศโมเดลอย่างเป็นทางการ ก็ได้ให้อยู่ในชุดเครื่องมือด้วย.
2.       Conduct the survey, using a unique url provided by the Happiness Initiative (emailhappy@happycounts.org for the url). This will allow your community, college, or organization to receive your specific aggregate survey results. The survey can be conducted in two ways: a voluntary “opt-in” survey that is continually available online so that individuals can take the survey and access their own comprehensive well-being assessment as a path to deep self-reflection. If there is funding, a city should also try to conduct a random sampling to get the most scientifically valid results.
ทำการสำรวจด้วยการใช้ url พิเศษของ โครงการริเริ่มความสุข (emailhappy@happycounts.org for the url).  นี่จะช่วยให้ชุมชน, วิทยาลัย, หรือองค์กรของคุณ ได้รับผลรวมการสำรวจเฉพาะของคุณ.  การสำรวจทำได้สองทาง: การสำรวจอาสาสมัครที่ “เข้ามาเอง” ที่จะมีอยู่ออนไลน์ตลอดไป เพื่อว่า ปัจเจกสามารถตอบแบบสำรวจ และ เข้าถึงการประเมินความอยู่ดีมีสุขของตนเองอย่างครอบคลุม อันเป็นหนทางให้ได้สะท้อนตนเองอย่างลึกซึ้ง.  หากมีทุนสนับสนุน, เมืองควรจะลองทำการสำรวจด้วยการสุ่มตัวอย่างเพื่อให้ได้ผลที่พิสูจน์ได้ทางวิทยาศาสตร์ที่สุด.
3.       Determine and gather data for objective metrics. Many areas already have their objective metrics, but the Happiness Initiative suggests indicators for organizations and areas that don’t already have them.
กำหนดและจัดเก็บข้อมูลเพื่อมาตรเชิงข้อเท็จจริง.  เขตส่วนใหญ่มีมาตรเชิงข้อเท็จจริงของตนเองอยู่แล้ว, แต่โครงการริเริ่มความสุขขอแนะนำดัชนีสำหรับองค์กรและเขตที่ยังไม่.
4.       Issue a happiness report card to the team members and for the public. The content of the report depends on the level of analysis. A basic report includes just the survey results and objective metrics for the domains of happiness. A detailed report analyzes correlations and demographic trends.
เผยแพร่ผลด้วยการ์ดรายงานความสุขให้แก่สมาชิกของทีมและสำหรับสาธารณชน.  สาระของรายงานขึ้นกับระดับของการวิเคราะห์.  รายงานขั้นพื้นฐานจะมีเพียงผลของการสำรวจ และ มาตรเชิงข้อเท็จจริง สำหรับปริมณฑลของความสุข.  รายงานอย่างละเอียดจะวิเคราะห์ความสัมพันธ์และแนวโน้มเชิงประชากรศาสตร์.
5.       Reconvene the team and bring in new partners. Who should be at the table? Who should know about the state of well-being in the area? Who is positioned to take positive action or make things happen? These are the partners to include on the team at this point.
จัดให้ทีมได้ร่วมงานกันอีกพร้อมนำภาคีใหม่เข้าร่วม.  ใครควรจะนั่งที่โต๊ะประชุม?  ใครควรจะรู้เรื่องสถานภาพของความอยู่ดีมีสุขในเขต?  ใครอยู่ในตำแหน่งที่จะดำเนินการเชิงบวก หรือ ทำให้มันเกิดขึ้นได้?  คนเหล่านี้เป็นภาคีที่ควรรวมเข้ามาในทีม เมื่อถึงจุดนี้.
6.       Convene town meetings to discuss the happiness report and explore where people are hurting and where they are thriving. Ask questions to find out what people want to do themselves, and want to see done by local policy makers, businesses, and not-for-profits.
จัดให้มีการประชุมเมืองเพื่อถกผลจากรายงานความสุข และ สำรวจดูว่าตรงไหนที่ประชาชนถูกทำร้าย/บาดเจ็บ และ ตรงไหนที่ประชาชนเจริญรุ่งเรืองดี.  ตั้งคำถามเพื่อค้นหาว่าประชาชนต้องการอะไรเพื่อตัวพวกเขาเอง, และ ต้องการให้ผู้กำหนดนโยบาย, ภาคธุรกิจ และ องค์กรไม่แสวงกำไรท้องถิ่น ทำให้เกิดสัมฤทธิ์.
7.       Conduct happiness projects where resources are available. These can be small individual actions or large community-scale initiatives. Team partners may make policy changes or use the report card to inform resource allocation decisions. These, too, can be collected for the next step.
ดำเนินโครงการความสุขในที่ๆ มีทรัพยากร.  นี่อาจเป็นปฏิบัติการเล็กๆ ของปัจเจก หรือ งานขนาดใหญ่ระดับชุมชน.  ผู้ร่วมทีมอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในนโยบาย หรือ ใช้การ์ดรายงาน เพื่อประกอบการตัดสินใจในการจัดสรรทรัพยากร.  สิ่งเหล่านี้ด้วย สามารถรวบรวมไว้สำหรับขั้นต่อไป.
8.       Issue a happy town report that compiles the community input from the town meetings and explains the happiness projects. The report should be issued to the team, but also be released to the media in order to inform the public.
เผยแพร่รายงานเมืองแห่งความสุข ที่รวบรวมคำตอบจากชุมชนจากที่ประชุมเมือง และ อธิบายโครงการความสุข.  ควรแจกรายงานให้ทีม, แต่ก็ควรเปิดเผยต่อสื่อด้วย เพื่อแจ้งต่อสาธารณชน.
9.       Reconvene the team to interpret and learn from the results, and decide when the next assessment should occur.
จัดประชุมทีมใหม่เพื่อตีความและเรียนรู้จากผลการสำรวจ, และตัดสินใจว่า ควรมีการประเมินครั้งหน้าเมื่อไร.

Supporting activities for a happiness initiative include creating a website for the project or web pages on a team member’s website. Attracting positive media attention will encourage more people to take the survey and lend greater support for policy makers who use the results. Thus far, the media have loved the project, with coverage ranging from Al Jazeera to Reuters and the Atlantic.
กิจกรรมที่สนับสนุนโครงการริเริ่มความสุข รวมถึงการสร้างเว็บไซต์สำหรับโครงการ หรือ หน้าเว็บที่ระบุเว็บไซต์ของสมาชิกในทีม.  การดึงดูดความสนใจของสื่อในทางบวก จะชักชวนให้ผู้คนมากขึ้นร่วมตอบแบบสำรวจ และ ให้ความสนับสนุนมากขึ้นต่อผู้วางนโยบาย ผู้ใช้ผลเหล่านี้.  เท่าที่ผ่านมา, สื่อชอบโครงการนี้, มีการลงข่าวในหลากช่องทาง จาก Al Jazeera ถึง Reuters และ the Atlantic.

Pursuit of Happiness Day and Week: As part of the Happiness Initiative, and in partnership with many other organizations, we are co-sponsoring Pursuit of Happiness Day on April 13, 2013 (the birthday of Thomas Jefferson) followed by a week of “Sustainable Happiness” ideas leading up to Earth Day. In 2012, Vermont’s governor proclaimed Pursuit of Happiness Day and the event was celebrated on several colleges. More information can be found at:www.happycounts.org/celebrate.
วันและสัปดาห์แห่งการแสวงหาความสุข:  ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของโครงการริเริ่มความสุข, และเป็นภาคีกับหลายองค์กรอื่นๆ, เราได้ร่วมสปอนเซอร์  วันแสวงหาความสุข ในวันที่ 13 เมษายน 2013 (วันเกิดของ Thomas Jefferson) ซึ่งตามหลังด้วย สัปดาห์แห่ง “ความสุขที่ยั่งยืน” อันเป็นความคิดที่นำไปสู่ วันโลก.  ในปี 2012, ผู้ว่ามลรัฐเวอร์มอนต์ ได้ประกาศ วันแสวงหาความสุข และ มีการเฉลิมฉลองในหลายๆ วิทยาลัย.  อ่านข้อมูลเพิ่มได้ที่ www.happycounts.org/celebrate.
Forty years ago, Limits to Growth warned us that we needed to slow down our rates of production and consumption, pollution, resource depletion, food production, and population growth. We did not. Twenty years ago, Sustainable Seattle created the first set of regional sustainability indicators so policy makers and businesses would truly value and preserve our natural, built, social, and personal environment. They didn’t. Now we must prepare ourselves for the future. The Happiness Initiative is just one of many solutions that can help us adapt. It uses a personal approach by asking questions; and by providing a platform for conversations to spark actions for our well-being.
สี่สิบปีก่อน, ความจำกัดของการขยายตัว ได้เตือนพวกเราให้ลดอัตราเร็วลงในการผลิตและบริโภค, สร้างมลพิษ, ถลุงทรัพยากร, การผลิตอาหาร, และ การขยายประชากร.  พวกเราไม่เชื่อฟัง.  ยี่สิบปีก่อน, ซีแอตเติลที่ยั่งยืน ได้สร้างดัชนีความยั่งยืนระดับภูมิภาคชุดแรก เพื่อให้ผู้วางนโยบายและภาคธุรกิจ กำหนดมูลค่า/ราคาและทนุถนอมได้อย่างแท้จริง ต่อธรรมชาติของเรา, สิ่งแวดล้อมที่เราสร้างขึ้น, สิ่งแวดล้อมเชิงสังคมและส่วนบุคคล.  พวกเขาไม่เชื่อฟัง.  ตอนนี้ เราจะต้องเตรียมตัวเพื่ออนาคต.   โครงการริเริ่มความสุข เป็นเพียงหนึ่งในทางออกหลายๆ ทาง ที่จะช่วยให้เราปรับตัว.  มันใช้แนวทางส่วนบุคคล ด้วยการถาม; และด้วยการจัดเวทีให้มีสนทนาเพื่อจุดประกายให้เกิดปฏิบัติการเพื่อความอยู่ดีมีสุขของเรา.
It has now been 100 years since that January day in 1912 when thousands of mill workers, most of them immigrant women, left their jobs and marched in the snowy streets of Lawrence, Massachusetts, demanding “bread, and roses, too.” They knew they needed “bread”—a raise in wages from 16 to 18 cents per hour. But they also needed many non-material things including shorter working time—“to smell the roses.” As the great labor song put it: “Small art and love and beauty their drudging spirits knew… hearts starve as well as bodies…”
มันเป็นเวลา 100 ปีแล้ว ตั้งแต่วันหนึ่งในเดือนมกราคม 1912 เมื่อคนงานโรงงานทอผ้านับพัน, ส่วนใหญ่เป็นหญิงอพยพย้ายถิ่น, ผละงานและเดินขบวนไปตามถนนที่ปกคลุมไปด้วยหิมะของเมืองลอว์เรนซ์, แมสซาชูเซท, เรียกร้อง “ขนมปัง, และดอกกุหลาบด้วย”.  พวกเขารู้ว่า พวกเขาต้องการ “ขนมปัง”—เพิ่มค่าแรงจาก 16 เป็น 18 เซ็นต์/ชม.   แต่พวกเขาก็ต้องการหลายสิ่งที่ไม่ใช่วัตถุ รวมทั้ง เวลาทำงานที่สั้นลง—“เพื่อดมดอกกุหลาบ”.  ดังที่เพลงแรงงานอันยิ่งใหญ่ได้เขียนว่า “งานศิลปะเล็กๆ น้อยๆ และความรัก และความงาม ที่วิญญาณอันเหน็ดเหนื่อยรู้จัก...หัวใจหิวโหยพอๆ กับกาย...”.
Since the triumph of the consumer society after World War II, our focus has been entirely on the bread, the money, the stuff, what we measure with GDP. But the nonmaterial side of life—love, art, beauty, time, caring, connection, nature, and so much more—all that counts for nothing as far as GDP is concerned unless we buy it, all the most important things in life that are not things at all but that truly make us happy—all the “roses” have been left to wilt. It’s time to value them again, time to count them again, time to water them again.
ตั้งแต่ชัยชนะของสมาคมผู้บริโภคหลังสงครามโลกครั้งที่สอง, เราเพ่งเล็งอยู่แค่ขนมปัง, เงินตรา, ข้าวของ, สิ่งที่เราวัดด้วย จีดีพี.  แต่ชีวิตด้านที่ไม่ใช่วัตถุ—ความรัก, ศิลปะ, ความงาม, เวลา, ความเอื้ออาทร, ความเชื่อมโยง, ธรรมชาติ, และอีกมากมาย—ทั้งหมดนี้ถูกนับว่าไม่มีค่าใดๆ เลย ในสายตาของจีดีพี หากเราไม่ซื้อมัน,  สิ่งสำคัญที่สุดทั้งมวลในชีวิต ที่ไม่ใช่สิ่งของเลย แต่ทำให้เรามีความสุขได้อย่างแท้จริง—“กุหลาบ” ทั้งหมด ได้ถูกละทิ้งปล่อยให้เหี่ยวแห้งไป.  ถึงเวลาแล้วที่เราจะให้คุณค่าแก่มันอีกครั้ง, ถึงเวลาที่จะนับมันอีกครั้ง, ถึงเวลาที่จะรดน้ำมันอีกครั้ง.
Join us, not only to measure happiness, but to find it as well!
มาร่วมกับเรา, ไม่เพียงแต่วัดความสุข, แต่ค้นหามันให้พบด้วย!

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-Share Alike 3.0 United States License

Laura Musikanski is executive director and cofounder of The Happiness Initiative. Prior to that she was the executive director of Sustainable Seattle and sustainability director for a national firm.
ลอรา มิวสิกันสกี้ เป็น ผอ.บริหาร และ ผู้ร่วมก่อตั้ง โครงการริเริ่มความสุข.  ก่อนหน้านั้น เธอเป็น ผอ.บริหารของ ซีแอตเติลที่ยั่งยืน และ ผอ.ความยั่งยืนของบริษัทแห่งชาติหนึ่ง.
John de Graaf, Outreach Director of The Happiness Initiative, has produced more than fifteen national PBS documentary specials and is the co-author of Affluenza: The All-Consuming Epidemic and co-author of What's The Economy For, Anyway? He has taught at Evergreen State College and serves on the board of Earth Island Institute.
จอห์น เดอ กราฟ, ผอ.ประชาสัมพันธ์ของ โครงการริเริ่มความสุข, ได้ผลิตสารคดีพิเศษกว่า 15 เรื่อง สำหรับ พีบีเอสแห่งชาติ และได้ร่วมเขียน Affluenza: The All-Consuming Epidemic  (ไข้หวัดความมั่งคั่ง: โรคระบาดบริโภค) และ What's The Economy For, Anyway?  (เศรษฐกิจเพื่ออะไร?)   เขาได้สอนที่ Evergreen State College และดำรงตำแหน่งในคณะกรรมการ Earth Island Institute.

Published on Friday, March 1, 2013 by Solutions Journal

·         Siouxrose  5 hours ago
Good intentions... but... this type of survey is like passing out dinner menus on the sinking Titanic.
"for Perhaps the most surprising finding in the Seattle report was that youth, ages 19–24, were the least satisfied age group. They scored low in affect, satisfaction with life, time balance, the environment, and material well-being. This differs from previous results in well-being research. While it may be that our sample is not fully representative of youth."
Oftentimes, a small dose of logic is all that's needed to understand what the numbers drawn from supposedly scientific surveys deliver.
With no jobs, and the ice caps melting, and Austerity about to cancel all sorts of helpful programs WHY would youth, aged 19-24 be optimistic about their futures? You can get locked up for smoking a joint, and soon birth control will become out of reach... just when kids are feeling the greatest urge to merge.
Had this type of concept--Happiness as GNP alternative--caught on 40 years ago before the U.S. decided to replace the threat of the Soviet Union by arming all sorts of unstable nations, it might have had a hope or a prayer. Ditto had Big Business not been able to game the political playing field to the extent that it managed to do away with all protective (to the environment and human immune systems) regulations. Then, I'd feel more optimistic.
And here's my greatest fear about this type of thing: If Happiness indexes are used as a norm, they could become a weapon with which to bludgeon the most sentient of persons. Just as those intent upon privatizing public schools have used test numbers as a hammer with which to tear down public education, any Happiness Index (in a phase where there IS little to be happy about) could work as a clarion call for wider acts of Social Engineering through chemicals.
Just as cuts to all sorts of necessary programs are about to kick in to add yet more misery to millions of lives, someone thinks talking about Happiness will help matters?
Although not declared as such, social engineering is already very much the case in the U.S. It has the highest anti-depressant prescription use rate because so many feel hopeless. Perhaps on some subliminal level, what is done unto others (in theaters of war) through this wealthy nation's MIC returns home as free-floating depression, the subliminal price for disabling much of the nation's collective conscience.
It is all well and good if this type of instrument (a Happiness index) were used as an adjunct to complement programs directed towards genuine improvement of persons' lives. However, it's apt to end up being quite another if the thoughtful, serious person, reacting to the sickening issues of our times is pronounced as "just not happy enough," and treated accordingly, via chemicals.
The film about the life of Frances Farmer is a good reminder of where this type of thing could lead in a society where war is held as sacrosanct, but poor children's lunch programs seen as negotiable.
A culture that makes war and impoverishes its people so that a few kings can get richer is not one that has any RIGHT to speak about happiness. In the current nexus, no identified ideal would or could not be used for evil intentions. And therein lies the rub.
However, for Bhutan, lucky them. They truly have an enlightened leader.
"On July 19th, 2011, the United Nations (UN) passed a resolution urging governments across the globe to start measuring happiness and well-being “with a view to guiding public policy.”
LOL @ that one. This is the same UN that partioned Palestine in 1947 giving a bunch of terrorist European jews the larger part of the country. And that's how they dealt with the issue of unhappiness and well-being then. And they're still at it today.
The 9 points read like a marketing plan and that's exactly what this is. As national elites more fiercely implemen The Shock Doctrine and/or Austerity, here's a message that just reaches out to make people Happy. Presto! Just teach them HOW to be happy... while real reasons for misery spread. Radiation spews. Food is genetically adulterated. Weather is out of joint. Public schools are being shuttered in the pockets of poverty and despair. Prison populations are being made to expand... but "Just BE happy!"
This approach is about as convincing as Michael Myer's spoof on self help gurus featured on Saturday Night Live in the marketing of a 6-part series: "How To Be A Handsome Man."
I've seen people in this forum push the idea that Phil Rockstroh is too depressed, and Chris Hedges is too depressed. Those could well be buzz words... after all, they suggest that the always brilliant observations of these canaries in the coalmine are really not that at all. They are, instead, the mere ramblings of depressed individuals... nothing that a little dose of Big Pharma's favorite cocktail can't "cure."
I think Rod Sterling was hip to this 50 years ago. And issued his own warnings a la Orwell.
This is just too inane NOT to mention:
"Immigrants were even less happy than youth. A Seattle Department of Neighborhoods grant allowed us to translate the survey into several languages used commonly by immigrants in the city. Local organizations serving the Vietnamese, Somali, Oromo, and Filipino communities used these surveys with immigrants."
The writers act incredulous over this data? As if the way immigrants are TREATED has nothing to do with this response. As if Homeland Security ripping parents away from children because they're "undocumented" doesn't send chills down their spines?
This type of survey is just another Anthony Robbins-"The Secret"-Dr. Phil way of making it about THE INDIVIDUAL and their attitude, rather than the nature of OBJECTIVE conditions!
if you are ill or your child is ill, and you can't pay a hospital or afford "health" insurance, that's not exactly grounds for "Happy Talkee, Talkee."
If you're out of work, and are supporting a spouse and children, and a few weeks away from a foreclosure notice, that is not exactly grounds for happiness.
If your community is fighting fracking, Big Coal, or has a potentially leaking nuclear power plant, that is also not grounds for ecstatic response. …And so on.
These surveys are probably funded by Pete Petersen, ALEC or the Koch Brothers. The data, should it be assembled, will be used to make people--those people who see all the dysfunctions of a nation run amok most clearly--happy, via chemical intervention. And when the needle gets jabbed into the unwilling dissident's arm, the authorities will say, "We're only doing this to make you happy."
This is scary shit!

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น