วันอังคารที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2556

205. ตำราการปลดแอกอาณานิคมอาหารร่วมของเรา-๕


205.  Book on Decolonizing Our Food Commons-5

5. Land of Plenty: Making Good Food Accessible to All
5. แดนแห่งความอุดมสมบูรณ์: ให้ทุกคนเข้าถึงอาหารที่ดี

“The shortage isn’t food, it’s democracy.”
— Francis Moore Lappé, writer and activist, founder of the Small Planet Institute
“สิ่งที่ขาดแคลนไม่ใช่อาหาร, ที่ขาด คือ ประชาธิปไตย”.
-ฟรานซิส มัวร์ เลปเป, นักเขียนและนักรณรงค์, ผู้ก่อตั้ง สถาบันโลกใบน้อย

A decade from now, many more small farmers and gardeners will be growing healthy food while protecting the environment, their traditions, and local economies. But this will only create a just and sustainable food system if everyone shares in the abundance. In what has been dubbed the food justice movement, determined people are addressing the poverty and racism that manifests in our food system, and inventing solutions to make good food accessible to all.
หนึ่งทศวรรษจากนี้ไป, เกษตรกรและชาวสวนรายย่อยจะปลูกอาหารที่สมบูรณ์แข็งแรงในขณะที่ป้องกันสิ่งแวดล้อม, ขนบธรรมเนียมประเพณี, และเศรษฐกิจท้องถิ่น.  แต่นี่จะทำให้เกิดระบบอาหารที่เป็นธรรมและยั่งยืน หากทุกคนแบ่งปันท่ามกลางความอุดมสมบูรณ์.  ในสิ่งที่ถูกขนานนามให้เป็น ขบวนการอาหารยุติธรรม, ประชาชนที่มุ่งมั่นกำลังแก้ไขปัญหาความยากจนและการเดียดเชื้อชาติ ที่แสดงออกในระบบอาหารของเรา, และสร้างทางออกเพื่อทำให้อาหารที่ดี เข้าถึงได้สำหรับคนทั้งปวง.
A sampling in New York, Maryland, and North Carolina found that neighborhoods of color and racially mixed areas had half as many supermarkets as predominantly white neighborhoods.[1]83 Residents without cars or access to adequate public transportation systems are often left to shop for highly processed food at corner liquor or convenience stores, where prices are usually higher and healthy options fewer than those at suburban supermarkets. A nearby fast-food franchise may provide the only other option.
การสุ่มตัวอย่างในนิวยอร์ก, แมรีแลนด์, และ แคโรไลนาเหนือ พบว่า ย่านที่มีคนต่างผิวสีและเชื้อชาติอาศัยปะปนกัน มีจำนวนซูเปอร์มาร์เก็ตเพียงครึ่งหนึ่งของย่านที่ส่วนใหญ่เป็นคนผิวขาว.  ชาวบ้านที่ไม่มีรถยนต์ หรือ เข้าถึงระบบการขนส่งสาธารณะที่พอเพียง ถอดละทิ้งให้พึ่งร้านที่มีแต่อาหารแปรรูปมากที่ร้านเหล้าหรือสะดวกซื้อหัวมุม, ที่ๆ ปกติราคาจะสูงกว่าและมีอาหารดีๆ ให้เลือกน้อยกว่าซูเปอร์มาร์เก็ตที่ชานเมือง.  ร้านแฟรนชายส์อาหารด่วน อาจเป็นทางเลือกเพียงทางเดียว.
In the U.S., unhealthy food is creating unprecedented levels of heart disease and other diet-related illnesses; almost one in four deaths was related to heart disease in 2008.[2]84 At the same time, people continue to go hungry; 14.5 percent of households were deemed ‘food insecure’ in 2010.[3]85 Even when a farmers’ market or CSA is nearby, many households can’t afford the higher cost of local, organic vegetables or the upfront deposit required by most CSAs. Unfortunately, just demanding lower prices for local, organic foods is not a viable solution: most small farmers can barely survive on their current incomes while trying to compete in an industrialized system not designed in their favor.
ในสหรัฐฯ, อาหารไม่ถูกสุขภาพกำลังส่งผลให้เกิดโรคหัวใจและโรคภัยที่เกี่ยวเนื่องกับโภชนาการอื่นๆ ในระดับที่ไม่เคยมีมาก่อน, สาเหคุการตายเกือบทุกๆ หนึ่งในสี่ราย เกี่ยวเนื่องกับโรคหัวใจในปี 2008.  ในเวลาเดียวกัน, ประชาชนก็ยังหิวโหย; 14.5% ของครัวเรือนถูกจัดว่า ไม่มั่นคงทางอาหารในปี 2010.  แม้ว่าจะมี ตลาดนัดเกษตรกร หรือ CSA อยู่ใกล้ๆ, ครัวเรือนส่วนใหญ่ไม่สามารถซื้อผักอินทรีย์ท้องถิ่นที่ราคาสูงกว่า หรือ การจ่ายล่วงหน้าที่ CSA ส่วนใหญ่ต้องการ.  โชคไม่ดี, เพียงแค่การเรียกร้องให้ลดราคาอาหารอินทรีย์ท้องถิ่น ไม่ใช่ทางออก: เกษตรกรรายย่อยส่วนใหญ่อยู่รอดได้ยากด้วยรายได้ปัจจุบันของพวกเขา ในขณะที่ต้องพยายามแข่งขันในระบบอุตสาหกรรมที่ไม่ได้ออกแบบเข้าข้างพวกเขา.
And so communities are finding creative ways to both support local production and to make food accessible. Some farmers’ markets, for example, are making their products more affordable by accepting food stamps or by doubling the value of purchases so that customers who spend $10 in food stamps receive $20 worth of food. The organization Wholesome Wave is helping this happen at 160 markets in 20 states. Boston’s ‘Bounty Bucks’ program combines city funds and private grants to run a similar program at 21 of its farmers’ markets.[4]86
ดังนั้น ชุมชนกำลังแสวงหาทางที่สร้างสรรค์ให้แก่ทั้งสนับสนุนการผลิตท้องถิ่น และ ทำให้อาหารเข้าถึงได้ง่ายขึ้น.  ยกตัวอย่าง, ในบางตลาดนัดเกษตรกร ก็มีการทำให้ผลิตภัณฑ์ของพวกเขาซื้อง่ายขึ้นด้วยการยอมรับแสตมป์อาหาร หรือ ด้วยการเพิ่มมูลค่าเป็นสองเท่าเมื่อลูกค้าใช้แสตมป์อาหาร $10 ก็จะได้รับอาหารที่มีมูลค้าเป็น $20.  องค์กร Wholesome Wave กำลังช่วยให้แนวนี้เกิดขึ้นได้ในตลาด 160 แห่งใน 20 รัฐ.  โปรแกม ‘Bounty Bucks’ ของบอสตัน รวมกับกองทุนเมือง และ เงินทุนเอกชน ให้บริหารโปรแกมคล้ายกันในตลาดนัดเกษตรกร 21 แห่งจากทั้งหมด.
Communities are also tackling the larger structural injustices that determine access to healthy food, including racism, poverty, lack of community control and representation in local government and organizations, inadequate housing and healthcare, and environmental issues.
ชุมชนกำลังยื้อยุดแก้ไขปัญหาความอยุติธรรมในโครงสร้างที่ใหญ่กว่า ที่เป็นตัวตัดสินการเข้าถึงอาหารดีต่อสุขภาพ, รวมทั้ง การเดียดเชื้อชาติ, ความยากจน, ชุมชนขาดการควบคุมและตัวแทนในรัฐบาลท้องที่และองค์กร, ประเด็นขาดแคลนที่อยู่อาศัยและระบบสาธารณสุข, และสิ่งแวดล้อม.
 Brett Ramey / The Urban Lifeways Project of Native Movement reconnects Native youth in Arizona with their food and agricultural traditions. Here, Diné youth collect neighborhood food scraps to prepare compost for urban community gardens.
โครงการวิถีชีวิตในเมืองของขบวนการชาวถิ่น (Urban Lifeways Project of Native Movement) เชื่อมโยงเยาวชนถิ่นใหม่ในอริโซนากับประเพณีอาหารและการเกษตรของพวกเขา.  ในภาพ, เยาวชนกำลังเก็บเศษอาหารในละแวก เพื่อนำไปทำปุ๋ยหมักสำหรับสวนเมืองชุมชน.

Community Wisdom, Community Health: People’s Grocery
ภูมิปัญญาชุมชน, สุขภาพชุมชน : ร้านของชำประชาชน
People’s Grocery in California considers itself a “food, health, and wealth” organization. For nearly 10 years, they’ve been building a local food system, improving community health, supporting resident leadership, and providing inspiration for other groups far and wide.
ร้านของชำประชาชนในแคลิฟอร์เนียมองตัวเองว่าเป็น องค์กร “อาหาร, สุขภาพ, และความมั่นคั่ง”.  เป็นเวลาเกือบ 10 ปี, พวกเขาได้สร้างระบบอาหารท้องถิ่น, ปรับปรุงสุขภาพชุมชน, สนับสนุนภาวะผู้นำของชาวบ้าน, และเป็นแรงบันดาลใจสำหรับกลุ่มอื่นๆ ที่อยู่ห่างไกลอย่างกว้างขวาง.
The neighborhood of West Oakland which People’s Grocery calls home has long been without a large, full-service grocery store, let alone one that offers healthy, fresh food. With unemployment at about 10 percent and nearly half the population of 30,000 residents living at or below the poverty line,[5]87 West Oakland is a neighborhood that grocery store chains have claimed isn’t able to sustain a full-functioning store.[6]88 But the logic that West Oakland lacks buying power isn’t sound. Its residents spend almost $42 million a year on food outside of the West Oakland community.[7]89 “The math is simple,” says People’s Grocery cofounder Brahm Ahmadi. “In West Oakland, we assessed a $60 million market. There’s a very affluent neighborhood nearby with a $60 million market. It’s the same aggregate spending power. You actually have parallel markets. They just look different.”[8]90
ละแวกบ้านของ เวสต์โอ๊คแลนด์ ที่ร้านของชำประชาชน เรียกว่าบ้าน แต่ไหนแต่ไรมา ก็ไม่มีระบบบริการเต็มรูปแบบของร้านขายของชำขนาดใหญ่, ไม่ต้องพูดถึงร้านที่ขายอาหารสุขภาพ.  ด้วยระดับไร้งานจ้างประมาณ 10% และเกือบครึ่งหนึ่งของประชากร 30,000 คน อาศัยอยู่/ใต้ขีดความยากจน, เวสต์โอ๊คแลนด์ เป็นร้านชำย่าน ที่พวกร้านชำห่วงโซ่อ้างว่า ไม่สามารถให้บริการแบบเต็มรูปแบบได้.  แต่ตรรกะที่ว่า เวสต์โอ๊คแลนด์ ขาดกำลังซื้อ มันฟังไม่เข้าท่า.  ชาวบ้านแถบนี้ ใช้เงินเกือบ $42 ล้านต่อปีในการซื้ออาหารนอกชุมชน เวสต์โอ๊คแลนด์.  “คำนวณง่ายๆ”, พราห์ม อะห์มาดิ ผู้ร่วมก่อตั้งร้านของชำประชาชนกล่าว.  “ใน เวสต์โอ๊คแลนด์, เราประเมินว่าตลาดมีมูลค่า $60 ล้าน.  มันเป็นละแวกบ้านที่ร่ำรวย ที่เป็นตลาดขนาด $60 ล้าน.  มันเป็นยอดกำลังซื้อเดียวกัน.  คุณมีตลาดคู่ขนาน เพียงแต่หน้าตาต่างกัน”.
It was vital to prove that this was true because, says Brahm, “The number one cause of death in West Oakland is heart disease. It’s not gunshots. It’s food, the way people eat. There’s a correlation between lack of grocery stores and rates of chronic disease. People in West Oakland are seeing that health-care costs are too high, and a critical mass is growing to say enough is enough.” When individuals are forced to travel outside their community to buy food, it not only incentivizes reliance on the junk food that is available in corner stores, but also plays havoc with the economy, since money continuously flows out of the area instead of building job opportunities and tax revenues locally.
มันจำเป็นยิ่งที่จะต้องพิสูจน์ว่าเป็นจริง เพราะ, พาร์หมกล่าว, “สาเหตุอันดับหนึ่งของความตายใน เวสต์โอ๊คแลนด์ คือ โรคหัวใจ.  ไม่ใช่ถูกยิง.  มันเป็นอาหาร, วิธีที่คนกิน.  มีความสัมพันธ์ระหว่างการขาดร้านของชำ กับ อัตราโรคเรื้อรัง.  ประชาชนใน เวสต์โอ๊คแลนด์ เริ่มเห็นแล้วว่า ต้นทุนการดูแลสุขภาพนั้นสูงเกินไป, และมวลชนวิกฤตก็เริ่มเพิ่มมากขึ้นที่บอกว่า พอได้แล้ว”.  เมื่อปัจเจกถูกบังคับให้ต้องเดินทางออกนอกชุมชนเพื่อซื้ออาหาร, มันไม่เพียงแต่จูงใจให้พึ่งอาหารขยะที่มีขายตามร้านหัวมุม, แต่ยังทำให้เศรษฐกิจยุ่งเหยิง, เพราะเม็ดเงินไหลออกนอกพื้นที่อย่างต่อเนื่อง แทนที่จะเป็นการสร้างโอกาสงานจ้างและเป็นรายได้ภาษีท้องที่.
People’s Grocery’s flagship project was a mobile market, a mini-grocery store on wheels that traversed neighborhoods selling affordable, healthy food. Another project, a modified CSA program called the Grub Box, has been growing strong since 2007 and is now a partnership with Dig Deep Farms and Produce. The Grub Box is a pre-ordered, weekly box of vegetables and fruits grown at People’s Grocery’s gardens and at other local farms. People’s Grocery also runs nutrition education programs, an urban garden at a low-income housing development, and a buying club where people can order healthy bulk food for wholesale prices. Their Growing Justice Institute supports residents interested in designing and implementing food projects and small food service businesses.
โครงการธงของร้านของชำประชาชน เป็นตลาดเคลื่อนที่, ร้านของชำขนาดจิ๋วบนล้อที่วิ่งซอกแซกไปตามละแวกบ้านขายอาหารดีต่อสุขภาพในราคาซื้อไหว.  อีกโครงการ, โปรแกม CSA ฉบับปรับปรุง เรียกว่า กล่องอาหาร (Grub Box) ซึ่งเป็นผักและผลไม้สั่งล่วงหน้าประจำสัปดาห์ ที่ปลูกในสวนของร้านของชำประชาชน และในฟาร์มท้องถิ่นอื่นๆ.  ร้านของชำประชาชนยังดำเนินโปรแกมโภชนาการศึกษา, สวนเมืองในบริเวณพัฒนาที่อยู่อาศัยสำหรับคนรายได้ต่ำ, และชมรมผู้ซื้อ ที่ๆ ประชาชนสามารถซื้ออาหารดีต่อสุขภาพปริมาณมากในราคาขายส่ง.  สถาบันเพาะปลูกความยุติธรรมของพวกเขา สนับสนุนให้ชาวบ้านที่สนใจในการออกแบบและดำเนินการโครงการอาหารและธุรกิจบริการอาหารขนาดเล็ก.
Meanwhile, Brahm has branched off to develop a new full-line, mid-sized grocery store in West Oakland called People’s Community Market. The vision, he says, is “part grocery store, part farmers’ market, part food cooperative.” Its goal is not only providing healthy food but also creating a vibrant space for social events, workshops, cooking classes, and a demonstration garden. The grassroots social-enterprise model will promote investment back into the community, both through the income generated and the job training and entrepreneurial skills gained.
ในขณะเดียวกัน, พารห์ม ได้ขยายสาขาเพื่อพัฒนาร้านของชำขนาดกลางใหม่ ที่ให้บริการเต็มรูปแบบใน เวสต์โอ๊คแลนด์ เรียกว่า ตลาดชุมชนของประชาชน.  เขากล่าวถึงวิสัยทัศน์ว่า “ส่วนหนึ่งเป็นร้านของชำ, ส่วนหนึ่งเป็นตลาดเกษตรกร, ส่วนหนึ่งเป็นสหกรณ์อาหาร”.  เป้าหมายไม่ใช่แค่ขายอาหารที่ดีต่อสุขภาพ แต่ยังสร้างพื้นที่ๆ มีชีวิตชีวาเพื่อกิจกรรมสังคม, การประชุมเชิงปฏิบัติการ, สาธิตการทำอาหาร, และสาธิตการทำสวน.  ต้นแบบวิสาหกิจเพื่อสังคมระดับรากหญ้านี้ จะส่งเสริมให้ผันลงทุนคืนสู้ท้องถิ่น, ทั้งจากการอบรมที่สร้างรายได้ และ ฝึกงาน และได้ทักษะของผู้ประกอบการธุรกิจ.

More than Just Food
มากกว่าแค่อาหาร / อาหารเป็นธรรม
Just Food in New York City builds food justice by making CSAs, farmers’ markets, and gardens accessible in the city, and by helping small farmers survive – and even thrive – in the process. Co-founder Ruth Katz says the group grew out of a contradiction. “In New York City, we had these growing soup-kitchen lines of people who couldn’t get food and, at the same time, nearby farmers going out of business because they couldn’t sell their food anywhere. It seemed strange that you couldn’t match farmers selling food with people needing food.” Just Food connects urban communities interested in bringing CSAs to their neighborhoods with nearby farmers who can truck their goods into the city. They have developed different payment systems to make this food affordable, including helping CSAs and farmers’ markets accept food stamps. They also work with CSAs to set up financial-aid programs.
“อาหารเป็นธรรม” ในนครนิวยอร์ก สร้างความ อาหารยุติธรรม ด้วยการทำ CSA, ตลาดนัดเกษตรกร, และสวน ให้เข้าถึงได้ในเมือง, และด้วยการช่วยให้เกษตรกรรายย่อยอยู่รอดได้—แม้แต่เจริญงอกงามดี—ในกระบวนการ.  ผู้ร่วมก่อตั้ง รูธ เคทส์ กล่าวว่า กลุ่มนี้งอกจากความขัดแย้ง.  “ในนครนิวยอร์ก, เรามีคนยากไร้เข้าคิวเป็นแถวยาวขึ้นเรื่อยๆ เพื่อรับซุปจากครัว (คล้ายโรงทาน) และ, ในขณะเดียวกัน, เกษตรกรข้างเคียงก็เลิกกิจการไป เพราะพวกเขาไม่สามารถขายอาหารของพวกเขา.  มันประหลาดที่คุณไม่สามารถจับคู่เกษตรกรที่ขายอาหารไม่ได้ กับผู้คนที่ต้องการอาหาร”.   อาหารเป็นธรรม จึงเชื่อมโยงชุมชนเมืองที่สนใจในการนำ CSA มาสู่ละแวกบ้านของพวกเขากับเกษตรกรใกล้เคียง ผู้สามารถบรรทุกสินค้าเข้าเมือง.  พวกเขาได้พัฒนาวิธีจ่ายต่างๆ กันเพื่อทำให้คนซื้ออาหารได้, รวมทั้งช่วย CSA และตลาดนัดเกษตรกรรับแสตมป์อาหารได้.  พวกเขาได้ทำงานร่วมกับ CSA เพื่อจัดตั้งโปรแกมช่วยเหลือทางการเงิน.
For example, higher-income members can contribute extra to subsidize other members within their own CSA, or two CSAs from different neighborhoods can be paired so that the members in the higher-income neighborhood pay higher costs and members in the lower-income neighborhood pay lower costs. “We always fear that everyone will want a lower-priced share, but in fact it’s often the reverse. People are really willing to help out,” says one Just Food staffer.
ยกตัวอย่าง, สมาชิกที่มีรายได้สูงสามารถจะบริจาคเพื่อเป็นเงินอุดหนุนสมาชิกอื่นๆ ในกลุ่ม CSA ของตน หรือ CSA สองแห่งจากละแวกบ้านต่างกัน สามารถจะจับคู่เพื่อให้สมาชิกจากย่านที่มีรายได้สูงกว่า จ่ายในราคาสูงกว่า และ สมาชิกในย่านที่มีรายได้ต่ำกว่า จ่ายในราคาที่ถูกกว่า.  “เรากลัวเสมอว่า ทุกคนจะต้องการซื้อในราคาที่ถูกกว่า, แต่ที่จริงมันตรงกันข้าม.  ประชาชนต้องการมีส่วนช่วยจริงๆ”, พนักงานคนหนึ่งของ อาหารเป็นธรรม กล่าว.
So far, the organization has helped launch 100 CSA programs throughout New York City’s five boroughs, bringing fresh food to an estimated 30,000 people. To stock the CSAs, Just Food partners with about 100 farms outside the city, which bring in vegetables, eggs, fruit, grain, meat, and other products. Some formerly struggling rural farmers now have a viable outlet for their goods and make close to a 100 percent profit, as opposed to the 20 percent or so they would otherwise make through standard wholesale markets. As a result, a number of farmers have even been able to leave the second jobs they held to supplement their farm incomes, or to secure land on which they had a tenuous financial grip.    
ถึงตอนนี้, องค์กรได้ช่วยเริ่ม CSA กว่า 100 โปรแกม ทั่วห้าเมืองย่อย ของนครนิวยอร์ก, ประเมินว่านำอาหารสดสู่ประชาชนถึง 30,000 คน.  เพื่อเป็นคลังให้ CSA, อาหารเป็นธรรม ได้เป็นหุ้นส่วนกับฟาร์มประมาณ 100 แห่งนอกเมือง, ที่นำผัก, ไข่, ผลไม้, ธัญพืช, เนื้อ, และผลิตภัณฑ์อื่นๆ.  เกษตรกรชนบทที่เคยต้องดิ้นรนในอดีต ตอนนี้มีช่องทางระบายสินค้าที่ใช้การได้ และ ทำกำไรได้เกือบ 100%, ตรงข้ามกับ 20% หรือกว่านั้น ที่เขาคงจะได้รับจากตลาดขายส่งมาตรฐานทั่วไป.  ผลคือ เกษตรกรจำนวนหนึ่งสามารถเลิกทำงานที่สอง ซึ่งเคยเป็นรายได้เสริมของฟาร์ม, หรือ ซื้อที่ดินได้.
 
“Let food be thy medicine and medicine be thy food”
— Hippocrates
“ขอให้อาหารเป็นยาของเจ้า และ ยาเป็นอาหารของเจ้า”
-ฮิปโปเครติส
Erica Stavis, www.ericastavisphotography.com / Kevin Perry of Grow Dat Youth Farm displays the strawberry harvest for a farmer’s market in New Orleans…. เควิน เปอร์รี แห่ง Grow Dat Youth Farm แสดงสตรอเบอรีที่เก็บเพื่อขายในตลาดนัดเกษตรกรในนิวออร์ลีนส์

Ruth Katz says, “It can be frustrating because the scale of what we’re doing is so small. People say, ‘You have to scale up to make a bigger impact.’ Well, in this particular case, scaling up would defeat the purpose: farmer-to-consumer relationships that are creative and nimble enough to meet the unique needs of each neighborhood. Their smallness is part of their strength. That being said, we can scale up through replication, rather than super-sizing.
รูธ เคทส์ กล่าวว่า, “มันเป็นเรื่องลำบากใจได้ เพราะขนาดที่พวกเรากำลังทำอยู่เล็กมาก.  ผู้คนบอกว่า, คุณต้องเพิ่มขนาดเพื่อจะได้มีผลกระทบแรงขึ้น.  ในกรณีนี้, การเพิ่มขนาดจะเป็นการทำร้ายเป้าประสงค์ สร้างความสัมพันธ์ตรง เกษตรกร-ผู้บริโภค ที่เป็นการสร้างสรรค์และละเอียดอ่อนพอ เพื่อให้ขานรับความต้องการพิเศษของแต่ละย่านได้.  ขนาดเล็กจึงเป็นส่วนหนึ่งของจุดแข็ง.  ถึงกระนั้น เราก็สามารถขยายขนาดด้วยการจำลองซ้ำๆ แทนที่จะทำให้มันเป็นขนาดยักษ์.
“Imagine that every tall building in NYC has a CSA! If one tall building or building complex has 500 families, then only 10 percent would need to become CSA members to support a small farm. And that 10 percent would be a lucky, well-fed group.”
“ลองนึกดู ทุกๆ อาคารสูงในนครนิวยอร์กมี CSA!  หากอาคารสูงหนึ่ง หรือ คอมเพล็กซ์หนึ่งมีสัก 500 ครอบครัว, แล้วเพียง 10% เป็นสมาชิกของ CSA เพื่อสนับสนุนเกษตรกรรายย่อย. และ 10% นั้นจะเป็นกลุ่มผู้โชคดีที่ถูกเลี้ยงดูด้วยดี”.
Just Food also supports city dwellers as they grow their own food. The group offers a range of workshops including seed starting, raised-bed building, food preservation, season extension, and pest management. Their City Chicken Project trains community-garden groups to build chicken coops. Each group agrees to use its newfound skills to help another group build a coop the following year. Just Food also helps community gardens start farmers’ markets, and currently provides ongoing support to 18 markets in the city. While each market functions independently, Just Food assists with logistics like record-keeping, accessing supplemental food from rural farmers, and tapping into helpful state and federal programs.
อาหารเป็นธรรม ยังสนับสนุนชาวเมืองให้ปลูกอาหารของตนเอง.  กลุ่มได้จัดการอบรมเชิงปฏิบัติ มีทั้ง การเริ่มเพาะเมล็ด, ทำแปลงเพาะ, การถนอมอาหาร, การยืดฤดูกาล, และ จัดการแมลง.  โครงการไก่เมืองของพวกเขา ได้อบรมกลุ่มสวนชุมชนให้สร้างเล้าไก่.  แต่ละกลุ่มตกลงว่าจะใช้ทักษะใหม่นี้ช่วยอีกกลุ่มสร้างเล้าในปีถัดมา.  อาหารเป็นธรรม ยังช่วยสวนชุมชนริเริ่มตลาดนัดเกษตรกรด้วย, และปัจจุบัน ก็ได้ให้การสนับสนุน ตลาด 18 แห่งในเมืองอย่างต่อเนื่อง.  ในขณะที่แต่ละตลาดทำงานเป็นอิสระต่อกัน.  อาหารเป็นธรรม ช่วยในด้านโลจิสติก เช่น การทำบัญชี, การเข้าถึงแหล่งอาหารเสริมจากเกษตรกรชนบท, และเกาะเกี่ยวกับโปรแกมที่มีประโยชน์ของรัฐและรัฐบาลกลาง.
Just Food also aims to empower people to change city-, state-, and federal-level food policy. They have created an NYC Food Justice Action Guide, which covers a host of issues such as the city’s climate footprint and local food policies, as well as information on how to organize community campaigns and pressure lawmakers. In 2009, Just Foods convened the NYC Food & Climate Summit, bringing together community members and government leaders for workshops and policy sessions. In 2010, they won their two-year campaign to legalize beekeeping in the city.
อาหารเป็นธรรม ยังมุ่งหมายที่จะเสริมอำนาจต่อรองของประชาชนในการเปลี่ยนนโยบายอาหารระดับเมือง, รัฐ และ รัฐบาลกลาง.  พวกเขาได้จัดทำ คู่มือปฏิบัติการอาหารเป็นธรรม NYC (นครนิวยอร์ก), ซึ่งครอบคลุมหลากหลายประเด็น เช่น รอยเท้าภูมิอากาศของเมือง และ นโยบายอาหารท้องถิ่น, รวมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับการจัดกระบวนรณรงค์ชุมชนและผลักดันฝ่ายนิติบัญญัติ.  ในปี 2009, อาหารเป็นธรรม ได้จัดประชุมสุดยอด อาหารและภูมิอากาศ NYC, เป็นการนำสมาชิกชุมชนและผู้นำในรัฐบาลให้มารวมกันประชุมเชิงปฏิบัติการและในช่วงนโยบาย.  ในปี 2010, พวกเขาได้รับชัยชนะจากการรณรงค์ 2 ปี เพื่อทำให้การเลี้ยงผึ่งเป็นเรื่องถูกกฎหมายในเมือง.

“It’s Like Dealing with Family”
“มันเหมือนกับการจัดการกับครอบครัว”
Jay Dines runs Dines Farms in Oak Hill, New York. Jay and his family struggled to keep the farm afloat, but now the operation has a new lease on life as part of a network of farmers’ markets and CSAs who are bringing fresh food to the city.
เจย์ ดายน์ บริหารฟาร์มดายน์ในโอ๊คฮิลล์, รัฐนิวยอร์ก.  เจย์และครอบครัวของเขาได้ดิ้นรนมานาน เพื่อพยุงครอบครัวให้ลอยลำอยู่ได้, แต่ตอนนี้ ได้สัญญาต่อชีวิตใหม่ ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของตลาดนัดเกษตรกร และ CSA ผู้นำอาหารสู่เมือง.
“I got poultry, beef, and pork. The lamb’s not cut up yet. It’s all natural. We’re about to start glat kosher poultry. At Thanksgiving we sold 600 turkeys; that was great! We do our own processing, and manufacture our own chicken sausages. Our red meat goes to a USDA plant, but we’re going to be buying our own USDA-approved processing plant.
“ผมมีสัตว์ปีก, เนื้อวัว, และเนื้อหมู.  เนื้อแกะยังไม่ได้ตัดแบ่ง.  มันเป็นธรรมชาติหมดเลย.  เราเกือบจะเริ่มขายสัตว์ปีกที่ชำแหละตามขนบชาวยิว (kosher).  ในช่วงเทศกาลขอบคุณพระเจ้า เราขายไก่งวง 600 ตัว; มันดีเยี่ยมจริงๆ ! เราทำการแปรรูปเอง, และผลิตไส้กรอกไก่เองด้วย.  เนื้อแดงของเราเข้าโรงงานของกระทรวงเกษตร, แต่เรากำลังจะซื้อโรงงานแปรรูปที่กระทรวงเกษตรอนุมัติมาเป็นของเราเอง.
“We’re selling primarily retail. We do two CSA’s and a farmers’ market. On Saturday we have two markets in Brooklyn, then drop to a CSA in Queens. This keeps the electric on during the week. It’s madness.” That’s a rugged schedule for a little money. But Jay says he can charge people less than a store would, and “I still take home more because I’ve eliminated three or four people in the process. I can give people what they want, and I’m able to keep it fresh. Nothing I have has preservatives. There’s very little waste.”
“เราขายปลีกเป็นพื่น.  เราทำสองตลาดของ CSA และหนึ่งตลาดนัด.  ในวันเสาร์ เรามีสองตลาดในบรุ๊คลิน, แล้วก็แวะไปที่ CSA ในควีนส์.  อันนี้ช่วยทำให้ไฟฟ้าเดินในระหว่างสัปดาห์.  มันวุ่นวายมากจริงๆ”.  อันนั้นเป็นตารางเวลาที่ขรุขระสำหรับเงินเพียงเล็กน้อย.  แต่เจย์บอกว่า เขาสามารถตั้งราคาให้ต่ำกว่าในร้าน, และ “ผมยังนำเงินกลับบ้านมากกว่า เพราะผมได้กำจัด 3-4 คน ออกจากกระบวนการนี้.  ผมสามารถจะให้ผู้คนในสิ่งที่พวกเขาต้องการ, และผมก็สามารถรักษาให้มันสดได้ด้วย.  ผมไม่ใช้สารกันบูดใดๆ.  สิ้นเปลืองน้อยมาก”.
Jay speaks to us from a CSA in Queens, as he shows people his meats, says hello, and shakes hands. “I don’t have to wait 90 days for my money, and I don’t have a billing department. Here people are happy to pay me. But if they come and they don’t have the money, I tell them to pay me next week. It’s part of the connection of dealing with people on a daily basis. The whole concept is totally different. You’re obligated to the people because they’re obligated to you.
เจย์พูดกับเราจาก CSA ใรควีนส์, ในขณะที่เขาโชว์เนื้อของเขากับผู้คน, กล่าว ฮัลโหล, และจับมือบ้าง.  “ผมไม่ต้องรอคอยถึง 90 วัน กว่าจะได้รับเงินของผม, และผมก็ไม่มีแผนกออกใบเสร็จ.  ที่นี่ ผู้คนมีความสุขที่จะจ่ายเงินให้ผม.  แต่หากพวกเขามา และไม่มีเงินจ่าย, ผมก็บอกให้เขาจ่ายผมได้สัปดาห์หน้า.  มันเป็นส่วนหนึ่งของความเชื่อมโยงรับมือกับผู้คนประจำวัน.  กรอบคิดทั้งหมดนี้ ต่างกันอย่างสิ้นเชิง.  คุณมีพันธะต่อประชาชน เพราะพวกเขามีพันธะต่อคุณ.
They come out to support you rain, shine, whatever. I watch their kids grow up. It’s like dealing with family. And I’ve met so many nice people; you can’t put a price on that. But you got to be willing to yenter a little bit.”
พวกเขาออกมาสนับสนุนพวกเราไม่ว่าจะฝนตก แดดออก หรืออะไรก็แล้วแต่.  ผมเฝ้ามองลูกหลานของพวกเขาเติบโตขึ้น.  มันเหมือนกับอยู่กับครอบครัว.  และผมก็ได้พบคนดีๆ หลายคน; คุณไม่สามารถติดราคาให้กับสิ่งนั้น.  แต่คุณต้องยินดีชอบโลดโผน (?) สักนิด”.

Breaking Down Racial Barriers: The Black Food Sovereignty Alliance
ทลายกำแพงแบ่งเชื้อชาติ: พันธมิตรอธิปไตยทางอาหารชาวผิวดำ

On a fall afternoon in Oakland, California in 2011, more than 50 food justice advocates and grassroots organizers working primarily in Black communities across the country came together for the first Black Food Sovereignty Alliance meeting. Energized by the similarities in their experiences, they discussed the barriers to food access in their communities due to housing and employment discrimination, poverty, and redlining.
ในบ่ายของฤดูใบไม้ร่วงหนึ่งในโอ๊คแลนด์, แคลิฟอร์เนีย ในปี 2011, ผู้สนับสนุนอาหารเป็นธรรม และนักจัดกระบวนรากหญ้ากว่า 50 คนที่ทำงานในชุมชนคนผิวดำทั่วประเทศได้มารวมตัวกันเพื่อเข้าร่วมประชุมพันธมิตรอธิปไตยทางอาหารชนผิวดำครั้งแรก.  ด้วยพลังงานจากประสบการณ์ที่คล้ายคลึงกัน, พวกเขาอภิปรายถึงอุปสรรคที่ขัดขวางการเข้าถึงอาหารในชุมชนของพวกเขา อันเนื่องมาจากการเลือกปฏิบัติในที่อยู่อาศัยและการจ้างงาน, ความยากจน, และระบบราชการที่ซับซ้อนเกิน.
The Alliance discussed the ways African American communities, and communities of color in general, have often been sidelined within the food movement itself. They have frequently been targeted as ‘intervention’ areas by outside organizations that, though well-meaning, are neither led by, nor accountable to, the community and its most urgent needs and goals. The prevailing white culture of the food movement as a whole creates barriers. As a few examples, the typical image of farmers presented often reflects a white archetype, the types of food solutions presented are not always culturally relevant, and inclusion and participation of people of color has come slowly and late. The group also discussed the challenges of the historically painful relationship between African American communities and land, and the fact that oftentimes in communities, employment and basic needs take precedence over longer-term food projects.
พันธมิตรฯ ได้ถกกันถึงวิถีของชุมชนอเมริกันเชื้อสายอัฟริกัน, และชุมชนผิวสีอื่นๆ ทั่วไป, ที่มักถูกเบียดให้อยู่ชายขอบภายในขบวนการอาหารเอง.  พวกเขาถูกตั้งเป็นเป้าอยู่บ่อยๆ ให้เป็น พื้นที่ “แทรกแซง” โดยองค์กรภายนอกที่, แม้จะตั้งใจดี, ก็ไม่ได้นำโดยชุมชน หรือ เป็นที่พึ่งพาของชุมชนได้ ในเป้าหมายและสิ่งที่ชุมชนต้องการอย่างเร่งด่วนที่สุด.  วัฒนธรรมที่มีอำนาจเหนือกว่าของชนผิวขาวในขบวนการอาหารเอง ก็ทำให้เกิดอุปสรรคด้วย. ยกตัวอย่าง, ภาพพจน์ของเกษตรกรต้นแบบที่นำเสนอ มักสะท้อนผิวขาว, ประเภทของอาหารที่ถูกเสนอให้เป็นทางออก ก็ไม่สอดคล้องกับวัฒนธรรมของคนผิวอื่นเสมอไป, และ การเติมและมีส่วนร่วใของชนผิวสี ก็เกิดขึ้นล่าและอย่างช้าๆ.  กลุ่มได้อภิปรายถึงข้อท้าทายจากความสัมพันธ์เชิงประวัติศาสตร์ที่ปวดร้าวระหว่าง ชุมชนอเมริกันเชื้อสายอัฟริกันและที่ดิน, และความจริงที่ว่า บ่อยครั้งในชุมชน, การจ้างงานและความต้องการพื้นฐาน แซงหน้าโครงการระยะยาวของอาหาร.
The Alliance committed to working together to continue discussing these issues and forging a path forward. At the heart of the struggle, organizers declared, is the need for local food sovereignty, for the democratic control by communities of color over their own food systems. The Alliance also took time to celebrate examples of success like Mo’ Better Food in Oakland, which connects African American farmers and African American customers through urban markets, and models such as People’s Grocery and Detroit Black Community Food Security Network, which prioritize the leadership of communities of color while challenging racism in the food system.
พันธมิตรฯ สัญญาว่าจะทำงานร่วมกัน เพื่อถกกันต่อไปถึงประเด็นเหล่านี้ และหาทางออกมุ่งไปข้างหน้าร่วมกัน.  ในหัวใจของการดิ้นรน, ผู้จัดกระบวนประกาศ, คือ ความจำเป็นต้องให้มีอธิปไตยทางอาหาร, มีการควบคุมแบบประชาธิปไตยโดยชุมชนผิวสีเหนือระบบอาหารของตนเอง.  พันธมิตรฯ ยังได้ใช้เวลาฉลองกับตัวอย่างของความสำเร็จ เช่น อาหารที่ดีกว่าของโม ในโอ๊คแลนด์, ที่เชื่อมโยงเกษตรกรอเมริกันเชื้อสายอัฟริกัน และ ลูกค้าอเมริกันเชื้อสายอัฟริกัน ด้วยช่องทางตลาดเมือง, และต้นแบบเช่น ร้านของชำประชาชน และ เครือข่ายความมั่นคงทางอาหารชุมชนผิวดำแห่งดีทรอยท์, ที่ให้ความสำคัญต่อภาวะผู้นำในชุมชนผิวสี ในขณะที่ท้าทายการเดียดเชื้อชาติในระบบอาหาร.

By the People, for the People: Food Policy Councils
โดยประชาชน, เพื่อประชาชน: สภานโยบายอาหาร

Another way food justice is gaining ground in the U.S. and Canada is through food policy councils. Groups at  the town, city, and state level are creating these councils to investigate where their food systems fall short in meeting communities’ needs, and to transform the systems by developing programs and catalyzing policy changes. The groups work on a range of projects such as increasing the amount of local food purchased by public institutions like schools, hospitals, and prisons; preserving farmland; and drafting sweeping food charters to guide future food policy. More than 100 such councils now exist in the U.S., with new ones forming all the time.[9]91
อีกวิธีหนึ่งที่อาหารเป็นธรรมได้มีสถานภาพมากขึ้นในสหรัฐฯ และแคนาดา คือ ผ่านทางสภานโยบาย. กลุ่มที่ระดับเทศบาล, เมือง, และรัฐ กำลังสร้างสภาเหล่านี้เพื่อสอบสวนว่า ระบบอาหารตกหล่นที่ไหนบ้างในการขานรับความต้องการของชุมชน, และเพื่อพลิกโฉมระบบด้วยการพัฒนาโปรแกมและกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางนโยบาย.  กลุ่มเหล่านี้ทำงานในโครงการตั้งแต่ส่งเสริมให่สถาบันสาธารณะ เช่น โรงเรียน, โรงพยาบาล, และ เรือนจำ ซื้ออาหารท้องถิ่นเพิ่มมากขึ้น; สงวนที่ดินเกษตร; และร่างธรรมนูญอาหาร เพื่อเป็นแนวทางการทำนโยบายอาหารในอนาคต.  สภากว่าร้อยแห่งเช่นนี้ มีอยู่ในสหรัฐฯ ตอนนี้, และสภาใหม่ๆ ก็เกิดขึ้นตลอดเวลา.
No two councils are exactly the same. Some are grassroots efforts while others are commissioned by local or state governments. Some are run by volunteers and others receive government funding or grants from private foundations. Most are broad alliances with city officials, farmers, youth, business owners, and others. The alliances democratize policy-making by encouraging broad participation.
ไม่มีสองสภาที่เหมือนกันหมด.  บ้างเป็นความพยายามรากหญ้าในขณะที่รายอื่นได้รับแต่งตั้งโดยรัฐบาลท้องถิ่น หรือ รัฐ.  บ้างบริหารโดยอาสาสมัคร และ รายอื่นได้รับทุนช่วยเหลือจากมูลนิธิเอกชน.  ส่วนมากเป็นพันธมิตรระดับกว้างกับเจ้าหน้าที่เมือง, เกษตรกร, เยาวชน, เจ้าของธุรกิจ, และอื่นๆ.  พันธมิตรเหล่านี้ใช้วิธีกำหนดนโยบายแบบประชาธิปไตยด้วยการส่งเสริมให้มีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง.
In Hartford, Connecticut, after recognizing a correlation between pockets of hunger in the city and inadequate public transportation options, the Food Policy Commission worked with the city to realign bus routes to better connect communities with supermarkets. The State of Connecticut also has a food policy council, which played a role in banning soda machines in schools, dedicating state funding to protect farmland, and helping farmers’ markets accept food stamps.[10]92
ในฮาร์ตฟอร์ด, คอนเน็กติกัต, หลังจากยอมรับความสัมพันธ์ระหว่างหย่อมหิวโหยต่างๆ ในเมือง กับ ความไม่พอเพียงของระบบขนส่งทางเลือกสาธารณะ, คณะกรรมาธิการนโยบายอาหาร ได้ทำงานกับเมืองเพื่อจัดเส้นทางรถโดยสารใหม่ให้เชื่อมชุมชนกับซูเปอร์มาร์เก็ตดีขึ้น.  รัฐคอนเน็กติกัต ก็มีสภานโยบายอาหารเหมือนกัน, ที่มีบทบาทในการห้ามเครื่องหยอดเหรียญน้ำโซดาในโรงเรียน, จัดให้มีเงินทุนจากรัฐเพื่อปกป้องที่ดินเกษตร, และช่วยให้ตลาดนัดเกษตรยอมรับแสตมป์อาหาร.
The Community Food Security Coalition runs a national program to support emerging councils, providing one-on-one assistance and hosting bimonthly conference calls and regional meetings.
เครือข่ายความมั่นคงทางอาหารชุมชน ดำเนินโปรแกมระดับชาติหนึ่งเพื่อสนับสนุนสภาที่เกิดขึ้นใหม่, ให้ความช่วยเหลือแบบตัวต่อตัว และ จัดการประชุมทางโทรศัพท์ ระดับภูมิภาคทุกๆ สองเดือน.
 courtesy of Georgia Organics / A chef teaches about healthy food as part of Georgia Organics’ Farm to School program. The Atlanta-based organization promotes local foods in such ways as helping farmers find new markets and facilitating mentorship programs.

Carrots, Cranksets, Community: Montreal’s Santropol Roulant[11]93
แครอท, เครื่องเหวี่ยง, ชุมชน: Santropol Roulant ของมอนทรีอัล
In Montreal, Canada, the organization Santropol Roulant uses food as a tool to bridge many divides: social, economic, and generational. Led by young people and powered by volunteers, the group cooks and delivers meals to people who cannot easily leave their homes. The organization prepares about 90 meals a day, five days a week, year-round. Over half the meals are delivered by bike or on foot. In the summer, the group incorporates organic produce from their rooftop garden and feeds cooking scraps into a worm composting system. Their bike fleet is maintained by the group’s community bike shop, where anyone can stop in and use tools or gain skills. Cooking workshops, community meals, and social events draw people together throughout the year.
ในมอนทรีอัล, แคนาดา, องค์กร Santropol Roulant ใช้อาหารเป็นเครื่องมือเพื่อเชื่อมช่องว่าง: สังคม, เศรษฐกิจ, และวัย.  นำโดยเยาวชน และ ขับเคลื่อนโดยอาสาสมัคร, กลุ่มนี้ทำอาหาร และ ส่งอาหารไปยังคนที่ไม่สามารถออกจากบ้านได้ง่ายๆ.  องค์กรเตรียมอาหาร 90 มื้อต่อวัน, 5 วันต่อสัปดาห์ ตลอดปี.  ครึ่งหนึ่งของมื้ออาหารนำส่งด้วยรถจักรยานหรือเดินส่ง.  ในฤดูร้อน, กลุ่มเติมผลิตผลอินทรีย์ปลูกบนสวนหลังคา และ ใช้เศษอาหารเลี้ยงไส้เดือนในระบบหมัก.  กองทัพจักรยานได้รับการดูแลโดยร้านจักรยานชุมชนของกลุ่ม, ที่ๆ ใครก็แวะเข้าไปได้และใช้เครื่องมือ หรือ ฝึกทักษะได้.  การฝึกทำอาหาร, อาหารชุมชน, และ กิจกรรมสังคม ดึงดูดผู้คนให้มารวมตัวกันตลอดปี.
Building relationships across generations is a thread running through all of Santropol Roulant’s work. “The simple experience of delivering meals to seniors can change the way young people see the world,” says Chris Godsall, one of the organization’s founders.[12]94 A past oral-history project, Harvesting Histories, interviewed those who received meals and published their stories and recipes. “A new set of relationships is forming between unlikely people,” declares the first story in the booklet, “between strangers who touch one another’s lives – and become lifelines.”[13]95
การสร้างควมสัมพันธ์ข้ามวัยเป็นเส้นด้ายที่ร้อยเรียงงานทั้งหมดของ Santropol Roulant เข้าด้วยกัน.  “ประสบการณ์ง่ายๆ ของการนำส่งอาหารให้ผู้สูงวัย สามารถเปลี่ยนวิธีมองโลกของเยาวชน,” คริส ก๊อดซอลล์, หนึ่งในผู้ก่อตั้งองค์กร, กล่าว.  “เก็บเกี่ยวประวัติศาสตร์” เป็นโครงการประวัติศาสตร์จากคำบอกเล่า ที่สัมภาษณ์ผู้ที่รับมื้ออาหารและพิมพ์เรื่องราวและสูตรอาหารของตนเอง.  “เกิดความสัมพันธ์ชุดใหม่ระหว่างคนไม่รู้จักกันมาก่อน”, นิทานเรื่องแรกในหนังสือประกาศ, “ระหว่างคนแปลกหน้าที่แตะต้องชีวิตของกันและกัน—แล้วก็กลายเป็นเส้นชีวิต”.
 courtesty of Santropol Roulant / A volunteer with Santropol Roulant.  อาสาสมัคร Santropol Roulant.

Belo Horizonte: Committed to a City Well Fed
เบโล ฮอริซอนเต : มุ่งมั่นต่อเมืองที่เลี้ยงดูอย่างดี

The city of Belo Horizonte in Brazil is taking responsibility for ensuring every one of its residents is fed, and with fresh, locally grown food. With a population of 2.4 million, the city asserts its citizens’ rights to “adequate quantity and quality of food” and “the duty of governments to guarantee this right.”[14]96 In 1993, the city government created an agency to design and coordinate a host of food programs that would nourish both its people and the livelihoods of nearby farmers.
เมืองเบโล ฮอริซอนเตในบราซิล เริ่มรับผิดชอบในการทำให้มั่นใจว่า ชาวบ้านทุกคนจะได้กินอาหารที่สด และปลูกในท้องถิ่น.  ด้วยประชากร 2.4 ล้านคน, เมืองนี้ได้ยืนยันสิทธิพลเมืองที่จะได้รับ “อาหารที่มีปริมาณและคุณภาพพอเพียง” และ “หน้าที่ของรัฐบาลที่จะประกันสิทธิ์นี้”.  ในปี 1993, รัฐบาลเมืองได้สร้างหน่วยงานหนึ่งเพื่อออกแบบและประสานงานโปรแกมอาหารมากมายที่จะหล่อเลี้ยงทั้งประชาชนของเมืองและวิถีชีวิตของเกษตรกรใกล้เคียง.
“There is a pervasive attitude that this is not the role of the state, and we challenge this. Why isn’t this the role of the state?” says Adriana Aranha, a former Hunger Program director in Belo Horizonte who now works for the national governmental Zero Hunger program. “Because the state is saving banks, constructing highways, why not save lives through food? Why can’t we be investing in the population as a basic right, not as a donation? It can’t be treated as a donation, it has to be a guaranteed basic right, ongoing.”[15]97
“มีทัศนคติที่แพร่หลายว่า นี่ไม่ใช่บทบาทของรัฐ, และเราก็ท้าทายทัศนคตินี้.  ทำไมนี่ถึงไม่ใช่บทบาทของรัฐ?” อเดรียนา อรันฮา, อดีต ผอ โปรแกมความหิวโหย ในเมือง เบโล ฮอริซอนเต
One of the Belo Horizonte’s initiatives is six cafeteria-style ‘People’s Restaurants,’ which serve approximately 20,000 subsidized meals per day. The meals are available to anyone for the equivalent of just over U.S. $1.[16]98 The city buys food from local farmers to supply these restaurants and more than 170,000 daily school lunches.[17]99 Each week, the city also assembles subsidized baskets containing about 20 basic food items, and distributes them to more than 4,000 low-income families.”[18]100 These programs help provide a steady market on which local farmers can rely. The city also runs 34 heavily trafficked, low-cost markets in which farmers can participate as long as they sell 20 predetermined items at a below-market rate.
การริเริ่มหนึ่งของเบโล ฮอริซอนเต คือ “ภัตตาคารประชาชน” บริการตัวเอง 6 แห่ง, ที่ให้บริการอาหารในราคาช่วยเหลือกันประมาณ 20,000 มื้อต่อวัน.  อาหารเหล่านี้ใครๆ ก็ซื้อได้ด้วยราคาเทียบแล้วเกิน $1 เล็กน้อย.  เมืองซื้ออาหารจากเกษตรกรท้องถิ่น เพื่อให้ภัตตาคารเหล่านี้ และมื้อเที่ยงโรงเรียนทุกวันกว่า 170,000 มื้อ.  ทุกสัปดาห์, ทางเมืองจะจัดตะกร้าราคาช่วยเหลือที่บรรจุอาหารพื้นฐานประมาณ 20 ชนิด, และแจกจ่ายไปยังครอบครัวรายได้ต่ำกว่า 4,000 ครอบครัว. 
Belo Horizonte, in addition, promotes urban agriculture by planting community and school gardens and orchards and hosting workshops. The government distributes information about food and nutrition citywide, and performs educational-theater pieces in schools.
เบโล ฮอริซอนเต ยังส่งเสริมเกษตรเมืองโดยการปลูกสวนผักและผลไม้ในชุมชนและโรงเรียน และจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ.  รัฐบาลเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการทั่วเมือง, และจัดให้มีการแสดงเพื่อการศึกษาในโรงเรียน.
To address the immediate threat of malnutrition, the city provides infants and children with food made partially from local ingredients, such as a nutrient-dense flour containing eggshells and cassava leaves.
เพื่อแก้ไขปัญหาทุโภชนาการเฉพาะหน้า, เมืองได้ให้ทารกและเด็กได้กินอาหารที่บางส่วนทำจากส่วนประกอบผลิตในท้องถิ่น, เช่น แป้งที่อุดมไปด้วยสารอาหารจาก เปลือกไข่ และ ใบมันสำปะหลัง. 
Belo Horizonte spends approximately $26 million annually to run the program.[19]101 Since its inception, the infant mortality rate, which is often used as an indicator of hunger, has decreased by 41 percent.[20]102 Says Adriana, “My experiences here in Belo Horizonte proved to me that if all of us who were indignant about this situation worked together, we could end hunger.”[21]103
เบโล ฮอริซอนเต ได้ใช้เงินประมาณ $26 ล้านต่อปี เพื่อดำเนินโปรแกมนี้.  ตั้งแต่เริ่มมา, อัตราการตายของทารก, ซึ่งมักใช้วัดความหิวโหย, ได้ลดลง 41%.  อเดรียนา กล่าวว่า, “ประสบการณ์ของฉันที่นี่ในเบโล ฮอริซอนเต ได้พิสูจน์ให้ฉันเห็นว่า หากพวกเราทั้งหมดที่รู้สึกโกรธขึ้งกับสถานการณ์นี้ หันมาทำงานด้วยกัน, เราจะสามารถยุติความหิวโหยได้.



[1] 83. Mark Winston Griffith, “How Harlem Eats: Urban Activists Seek ‘Food Justice,’” The Nation, September 11, 2006, 38. Study conducted by the University of Michigan, 2006.
[2] 84. Centers for Disease Control and Prevention, “Heart Disease Facts,” last modified March 23, 2012, 2012, www.cdc.gov/heartdisease/facts.htm.
[3] 85. U.S. Department of Agriculture Economic Research Service, “Household Food Security in the United States in 2010,” last modified September 7, 2011, http://www.ers.usda.gov/Publications/err125/.
[4] 86. The Food Project, “SNAP & Bounty Bucks Use in Boston Up in 2010,” December 20, 2010, http://thefoodproject.org/blog/2010/12/20/snap-bounty-bucks-use-boston-2010.
[5] 87. Matthias Kuruvila, “West Oakland Grocery Store Fight Heats Up,” San Francisco Chronicle online, October 11, 2010, http://www.sfgate.com/cgi-bin/article.cgi?f=/c/a/2010/10/11/MNNS1FQ9HV.DTL.
[6] 88. City of Oakland Community and Economic Development Agency, Agenda Report, July 2007, 2, http://clerkwebsvr1.oaklandnet.com/attachments/16900.pdf.
[7] 89. Brahm Ahmadi, email to authors, May 25, 2011.
[8] 90. Christa Hillstrom, “Lentils and Justice for All: It All Begins with Food: How to Restore the Health and Wealth of Inner-city Communities,” Yes! Magazine online, February 14, 2011, http://
www.yesmagazine.org/peace-justice/lentils-and-justice-for-all-1.
[9] 91. Community Food Security Coalition, “What is a Food Policy Council?” North American Food Policy Council webpage, accessed February 22, 2012, www.foodsecurity.org/FPC/.
[10] 92. Alethea Harper, et al., “Food Policy Councils: Lessons Learned,” Institute for Food and Development Policy, 2009, 14.
[11] 93. Santropol Roulant, “Rapport Annuel/Annual Report 2010,” 2010, www.santropolroulant.org/pdf/SR-Rapport_Annuel_2010_Annual_Report.pdf.
[12] 94. Chris Goodsall, “How Santropol Roulant Came to Be,” accessed April 12, 2012, www.santropolroulant.org/images/Roulant%20History.pdf.
[13] 95. Vanessa Reid, “Extending Families,” Harvesting Histories, 2004-2005, www.santropolroulant.org/images/HHdocwithpics.pdf.
[14] 96. Rocha, Cecilia, “Urban Food Security Policy: The Case of Belo Horizonte, Brazil,” Journal for the Study of Food and Society, Vol. 5, No. 1, Summer 2001, 36-47.
[15] 97. “Adriana Aranha,” transcript of interview for Silent Killer: The Unfinished Campaign Against Hunger, produced by Hana Jindrova and John de Graaf, in association with KCTS-TV, 2005, http://www.
silentkillerfilm.org/interview_aranha.html.
[16] 98. Flavio Duffles, PowerPoint presentation, Community Food Security Coalition Annual Conference, October 2010.
[17] 99. Ibid.
[18] 100. Rocha, Cecilia, “Urban Food Security Policy: The Case of Belo Horizonte, Brazil,” Journal for the Study of Food and Society, Vol. 5, No. 1, Summer 2001, 36-47.
[19] 101. Flavio Duffles, PowerPoint presentation, Community Food Security Coalition Annual Conference, October 2010.
[20] 102. “Adriana Aranha,” transcript of interview for Silent Killer: The Unfinished Campaign Against Hunger, produced by Hana Jindrova and John de Graaf, in association with KCTS-TV, 2005, http://www.silentkillerfilm.org/interview_aranha.html.
[21] 103. Ibid.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น