วันอังคารที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2556

191. ทวงคืนอธิปไตยทางอาหาร จากอมนุษย์มอนซานโต


191.  One Seed Revolution:  Reclaim Food Sovereignty from Monsantoer (Monsanto-Monster)

Farmers and Consumers V. Monsanto: David Meet Goliath
เกษตรกรและผู้บริโภค ปะทะ มอนซานโต : เดวิด พบ โกไลแอธ
โดย ทอรี ฟิลด์ และ เบเวอรี เบล
"Down with Monsanto" read a banner as thousands marched for food sovereignty in Haiti, March 22, 2013. (Photo: Tequila Minsky © 2013)
“โค่นมอนซานโต” อ่านบนแผ่นป้าย ในขณะที่คนหลายพันเดินขบวนเพื่ออธิปไตยทางอาหารในไฮติ
ดรุณี ตันติวิรมานนท์ แปล
Bordering an interstate highway in Arkansas, a giant billboard with a photo of a stoic-looking farmer watches over the speeding traffic. He’s staring into the distance against the backdrop of a glowing wheat field, with the caption “America’s Farmers Grow America.” It’s an image to melt all our pastoral hearts.
ตรงทางหลวงระหว่างรัฐในมลรัฐอาร์คานซอ, แผงโฆษณาขนาดยักษ์มีภาพเกษตรกรท่าทางเป็นปราชญ์ จ้องมองจราจรที่วิ่งเร็ว.  เขากำลังจ้องมองไปไกลบนภูมิภาพของทุ่งข้าวสาลีอร่าม, พร้อมคำบรรยายใต้ภาพ “เกษตรกรของอเมริกาปลูกอเมริกา”.  มันเป็นภาพพจน์ที่หลอมหัวใจที่รักทุ่งหญ้าชนบทของเรา.
Until we read the small print in the corner: “Monsanto.”
จนกระทั่งเราอ่านเจอตัวพิมพ์เล็กๆที่หัวมุม “มอนซานโต”.
The maker of Agent Orange, Monsanto’s former motto used to be, “Without chemicals, life itself would be impossible.” Today its tag line is “Committed to Sustainable Agriculture, Committed to Farmers.” Its website claims the company helps farmers “be successful [and] produce healthier foods… while also reducing agriculture's impact on our environment.” It even boasts of the corporation’s dedication to human rights.
ผู้ผลิตเอเจนต์ออเรนจ์, อดีตคำขวัญของมอนซานโตที่เคยใช้ คือ “ปราศจากสารเคมี, ชีวิตคงอยู่ไม่ได้”.  ในนี้ ประโยคจับใจ คือ “มุ่งมั่นผูกพันต่อเกษตรยั่งยืน, ...ต่อเกษตรกร”.  เว็บไซต์ของมันอ้างว่า บริษัทได้ช่วยเกษตรกรให้ “ประสบความสำเร็จและผลิตอาหารที่ถูกสุขอนามัยยิ่งขึ้น...ในขณะที่ยังช่วยลดผลกระทบของเกษตรกรรมต่อสิ่งแวดล้อมของเราด้วย”.  มันยังได้โอ้อวดความทุ่มเทของบรรษัทต่อสิทธิมนุษยชนด้วย.
Behind the PR gloss is a very different picture. Via Campesina, the world’s largest confederation of farmers with member organizations in 70 countries, has called Monsanto one of the “principal enemies of peasant sustainable agriculture and food sovereignty for all peoples.” Via Campesina members also target Monsanto as a driving influence behind land grabs, forcing small farmers off their land and out of work. The agribusiness giants also contribute to climate change and other environmental disasters, outgrowths of industrial agriculture.
เบื้องหลังประชาสัมพันธ์งาวงับเป็นภาพที่ต่างออกไปมาก.  เวีย คัมเปซินา, เครือข่ายเกษตรกรที่ใหญ่ที่สุดในโลก พร้อมกับองค์กรสมาชิกจาก 70 ประเทศ, ได้ขานเรียกมอนซานโตว่าเป็น “ศัตรูหลักของเกษตรยั่งยืนของชาวนาและอธิปไตยอาหารสำหรับปวงชนทั้งหมด”.  สมาชิกของ เวีย คัมเปซินา ได้พุ่งเป้าไปที่มอนซานโต ในฐานะที่เป็นอิทธิพลขับเคลื่อนเบื้องหลังการฉกแย่งที่ดิน, บีบขับให้ชาวนาเล็กๆ ให้ออกจากที่ดินของตน และไม่มีงานทำ.  ยักษ์ใหญ่ธุรกิจเกษตรยังทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง และ ภัยพิบัติและหายนะอื่นๆ ด้านสิ่งแวดล้อม, ซึ่งแซงหน้าอุตสาหกรรมเกษตร.
Together with Syngenta and Dupont, Monsanto controls more than half of the world’s seeds. The company holds more than 650 seed patents - most of them for cotton, corn and soy - and almost 30% of the share of all biotech research and development. Monsanto came to own such a vast supply by buying major seed companies to stifle competition, patenting genetic modifications to plant varieties, and suing small farmers. Monsanto is also one of the leading manufacturers of genetically modified organisms [GMOs].
บวกซินเจนตา และ ดูปองต์, มอนซานโต ควบคุมมากกว่าครึ่งหนึ่งของเมล็ดพันธุ์ในโลก.  บริษัทกุมลิขสิทธิ์ของเมล็ดพันธุ์กว่า 650 รายการ—ส่วนมากเป็นฝ้าย, ข้าวโพด และ ถั่วเหลือง—และเกือบ 30% ของงานวิจัยและพัฒนาไบโอเทค.  มอนซานโต ได้เป็นเจ้าของแหล่งมหาศาลเพียงนี้ด้วยการซื้อบริษัทเมล็ดพันธุ์ใหญ่ๆ เพื่อทำให้คู่แข่งทนอยู่ไม่ได้, การจดลิขสิทธิ์พืชที่ถูกตัดแต่งทางพันธุกรรม, และ ฟ้องร้องเกษตรกรเล็กๆ.  มอนซานโตก็ยังเป็นหนึ่งในโรงงานผลิต จีเอ็มโอ แนวหน้าด้วย.
Monsanto has filed more than 140 lawsuits against 400 farmers and 56 small businesses for alleged violations of contract or GMO patents. One such case is currently under consideration in the Supreme Court. “Farmers have been sued after their field was contaminated by pollen or seed from someone else’s genetically engineered crop [or] when genetically engineered seed from a previous year’s crop has sprouted,” said the Center for Food Safety.[i] In total, the company has won more than $23 million from these suits. The multinational appears to investigate 500 farmers a year, in estimates based on Monsanto’s own documents and media reports.[ii]
มอนซานโตได้ยื่นฟ้องกว่า 140 คดี กล่าวหา เกษตรกร 400 ราย และธุรกิจขนาดเล็ก 56 รายว่า ได้ละเมิดข้อสัญญา หรือ ลิขสิทธิ์ จีเอ็มโอ.  กรณีดังกล่าวหนึ่ง กำลังถูกพิจารณาในศาลสูงสุด.  “เกษตรกรถูกฟ้องหลังจากที่ไร่ของเขาถูกปนเปื้อนด้วยเกสรหรือเมล็ดจากพืช จีเอ็มโอ ของคนอื่น หรือ เมื่อ เมล็ดจีเอ็มโอจากปีที่แล้วได้แตกยอดงอกราก”, ศูนย์ความปลดอภัยของอาหารกล่าว.   ทั้งหมด, บริษัทได้ชนะคดีและได้เงินชดเชยมากกว่า $23 ล้าน.  บรรษัทนานาชาตินี้ ได้ทำการสอบสวนเกษตรกร 500 รายต่อปี, การประเมินนี้ ใช้ข้อมูลของ มอนซานโต เอง และจากรายงานของสื่อ.
In Colombia, Monsanto has received upwards of $25 million from the U.S. government for providing Roundup Ultra in the anti-drug fumigation efforts of Plan Colombia. Roundup Ultra is a highly concentrated version of Monsanto's glyphosate herbicide, with additional ingredients to increase its lethality. Local communities and human rights organizations have charged that the herbicide has destroyed food crops, water sources, and protected areas in the Andes, and has led to increased incidents of birth defects and cancers.
ในโคลัมเบีย, มอนซานโตได้รับเงินกว่า $25 ล้าน จากรัฐบาลสหรัฐฯ สำหรับการขาย ราวน์อัพอัลตรา ในการปราบปรามยาเสพติดใน แผนโคลัมเบีย.  ราวน์อัพอัลตรา เป็นยากำจัดวัชพืช ไกลฟอเสต ของมอนซานโต ชนิดเข้มข้นสูงมาก, ที่เพิ่มส่วนประกอบอื่น เพื่อเพิ่มอำนาจพิฆาต ของมัน.  ชุมชนท้องถิ่นและองค์กรสิทธิมนุษยชน ได้ฟ้องว่า ยากำจัดวัชพืชนี้ ได้ทำลายพืชอาหาร, แหล่งน้ำ, และ เขตสงวนในแอนดีส, และได้นำไปสู่อัตราเพิ่มขึ้นของการพิการแต่กำเนิดและมะเร็ง.
On March 26, siding once again with corporations, President Obama signed into law a spending bill with a “Monsanto Protection Rider.” This requires the government to allow GMO crops to be planted before an environmental and health assessment is completed. This means that crops may be planted with the permission of the USDA even if it is not known whether they are harmful.
ในวันที่ 26 มีนาคม, เข้าข้างบรรษัทอีกครั้ง, ประธานาธิบดีโอบามา ได้ลงนามให้ พรบ การจ่ายเงินที่ “มอนซานโตเป็นคนขับขี่ที่ได้รับการคุ้มครอง” เป็นกฎหมาย.

One Goliath, Many Davids / หนึ่งโกไลแอธ, หลายๆ เดวิด
Farmers and activists are not sitting idly by.
เกษตรกรและนักรณรงค์ไม่ได้นั่งเฉยๆ.
Via Campesina launched a global campaign against Monsanto on International World Food Day in 2009, with marches, protests, land occupations, and hunger strikes in more than 20 countries. The coalition continues organizing international days of action against the company and agribusiness in general. Via Campesina has kept the spotlight on Monsanto at its global protests, such as the 2012 UN Climate Change Conference in Bangkok.
เวีย คัมเปซินา ได้เริ่มการรณรงค์ระดับโลกต่อต้านมอนซานโต ในวันอาหารโลกระหว่างประเทศ ในปี 2009, มีการเดินขบวน, ประท้วง, ยึดพื้นที่, และประท้วงด้วยการอดอาหารในกว่า 20 ประเทศ.  เครือข่ายได้จัดวันปฏิบัติการระหว่างประเทศต่างๆ เพื่อต่อต้านบริษัทกับเกษตรธุรกิจโดยทั่วไป.  เวีย คัมเปซินา ได้ส่องไฟสปอต ไปที่ มอนซานโต ในที่ประท้วงโลกทั้งหลาย, เช่น ในที่ประชุมภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงสหประชาชาติ 2012 ในกรุงเทพฯ.
One of the rejections of Monsanto occurred in the small village of Hinche, Haiti in June, 2010. There, thousands of farmers burned Monsanto seeds. The Haitian Ministry of Agriculture had given Monsanto permission to import and ‘donate’ 505 tons of hybrid corn and vegetable seeds. “It’s a declaration of war,” said Chavannes Jean-Baptiste, director of the Peasant Movement of Papay (MPP). The importation of massive amounts of hybrid seed threatens the traditional, regionally adapted seed stock of Haiti, as it does in many other countries. Hybrid seeds also cause a cycle of dependence, with farmers buying them from Monsanto each year rather than relying on local markets or their own saved seed. In an open letter, Jean-Baptiste called the entry of the seeds “a very strong attack on small agriculture, on farmers, on biodiversity, on Creole seeds…, and on what is left of our environment in Haiti.”[iii]
การปฏิเสธมอนซานโตรายหนึ่ง เกิดขึ้นในหมู่บ้านเล็กๆ ในฮินเช, ไฮติ ในเดือนมิถุนายน 2010.  ที่นั่น, เกษตรกรหลายพันคน ได้เผาเมล็ดของมอนซานโต.  กระทรวงเกษตรของไฮติ ได้อนุญาตให้มอนซานโตส่งเข้า และ “บริจาค” เมล็ดข้าวโพดและผักผสมพันธุ์ 505 ตัน.  “มันเป็นการประกาศสงคราม”, Chavannes Jean-Baptiste, ผอ ของขบวนการชาวนาแห่ง ปาปาย (MPP).  การส่งเข้าปริมาณมหาศาลของเมล็ดพันธุ์ผสม คุกคาม คลังเมล็ดดั้งเดิมของไฮติที่ได้ปรับตัวในภูมิภาคดีแล้ว, เช่นเดียงกับเมล็ดอื่นๆ ในประเทศต่างๆ มากมาย.  เมล็ดพันธุ์ผสมยังทำให้เกิดการพึ่งอิง, ด้วยเกษตรกรจะต้องซื้อมันจากมอนซานโตทุกปี แทนที่จะพึ่งตลาดท้องถิ่น หรือ เก็บรักษาเมล็ดของตัวเอง.  ในจดหมายเปิด, Jean-Baptiste ได้เรียกการเข้ามาของเมล็ดเหล่านี้ว่าเป็น “การโจมตีอย่างแรงต่อเกษตรกรรมเล็ก, ต่อเกษตรกร, ต่อความหลากหลายทางชีวภาพ, ต่อ เมล็ดของชาวครีโอ..., และต่อสิ่งแวดล้อมที่เหลืออยู่ของเราในไฮติ”.
The same day as the protest in Haiti, activists in Seattle gathered in solidarity. They burned Monsanto seeds in front of the headquarters of the Gates Foundation, which is promoting GMO seeds in Africa. In Montana, the home state of Monsanto’s world headquarters, activists dressed in lab coats and Tyvek to demand that Monsanto “seeds of dependency” be kept out of Haiti. In Chicago, a Haiti support group did not have Monsanto seeds, so they burned Cheetos instead. The Organic Consumers Association’s network sent more than 10,000 emails protesting Monsanto’s ‘donation’ to USAID and President Obama. African-American farmers in Mississippi mobilized letters to the White House, too.
ในวันเดียวกับที่มีการประท้วงในไฮติ, นักรณรงค์ในซีแอตเติลพร้อมใจรวมตัวกัน.  พวกเขาเผาเมล็ดมอนซานโตข้างหน้า สนญ ของมูลนิธิเกตส์, ที่ส่งเสริมเมล็ด จีเอ็มโอ ในอาฟริกา.  ในมอนทานา, รัฐถิ่นของ สนญ โลกของมอนซานโต, นักรณรงค์แต่งชุดแล็ป และ Tyvek เรียกร้องให้ “เมล็ดมอนซานโตที่ล่าเมืองขึ้น” ให้ออกไปจากไฮติ.  ในชิคาโก, กลุ่มสนับสนุนไฮติ ไม่ได้มีเมล็ดมอนซานโต, พวกเขาเผา Cheetos แทน.  เครือข่ายของสมาคมผู้บริโภคอินทรีย์ ได้ส่งอีเมลกว่า 10,000 ฉบับ ประท้วงการ “บริจาค” ของมอนซานโต ต่อ กระทรวงเกษตรของสหรัฐฯ และ ประธานาธิบดีโอบามา.  เกษตรกรอเมริกันเชื้อสายอาฟริกัน ในมิสซิสซิปปี ได้ขับเคลื่อนจดหมายสู่ทำเนียบรัฐบาลด้วย.
Around the world, farmers and activists have long taken it upon themselves to destroy Monsanto’s GMO crops. Groups have cut down or pulled up fields of corn, potatoes, rapeseed, and other crops, sometimes laying them at the entryways of government buildings where they are demanding anti-GMO legislation. In 2003 in the state of Paraná in Brazil, activists uprooted plants at one of Monsanto’s experimental labs. They went on to file and win a land reform claim, and then started their own agroecology university on the site.
ทั่วโลก, เกษตรกรและนักรณรงค์ได้อุทิศตัวเพื่อทำลายพืช จีเอ็มโอ ของมอนซานโต.  กลุ่มเหล่านี้ได้ถางทุ่งข้าวโพด, มันฝรั่ง, เมล็ดองุ่น, และพืชอื่นๆ, บางครั้งทอดตัวลงนอนตรงทางเข้าของอาคารรัฐบาล ที่ๆ พวกเขาเรียกร้องให้ออกกฎหมายต่อต้าน จีเอ็มโอ.  ในปี 2003 ในรัฐ Paraná ในบราซิล, นักรณรงค์ได้ถอนต้นไม้ที่ห้องทดลองของมอนซานโต.  พวกเขาได้ยื่นร้องทุกข์ และได้รับชัยชนะในการทวงคืนการปฏิรูปที่ดิน, และก็เริ่มมหาวิทยาลัย เกษตรนิเวศของพวกเขาเองที่นั่น.
In the U.S., the Organic Consumers Association has spearheaded the “Millions Against Monsanto” campaign, demanding that the company stop intimidating small family farmers and forcing untested and unlabeled genetically engineered foods on consumers. The campaign works to unearth information about Monsanto’s practices, push legislation to limit corporate power, and disseminate research and action items through its extensive network. Occupy Monsanto has also held a number of actions around the country. This week, starting April 8, groups from around the country are gathering in Washington, D.C. for Occupy Monsanto’s “eat-in” at the FDA, demanding GMO regulation and an end to corporate influence in food policy.
ในสหรัฐฯ, สมาคมผู้บริโภคอินทรีย์ ได้เป็นหัวหอกในการรณรงค์ “คนหลายล้านต่อต้านมอนซานโต”, เรียกร้องให้บริษัทหยุดข่มเหงครอบครัวเกษตรกรรายเล็ก และ ยัดเยียดอาหาร จีเอ็มโอ ที่ไม่ได้ทดสอบและไม่ได้ติดฉลากให้ผู้บริโภค.  งานรณรงค์ได้ขุดข้อมูลเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติของมอนซานโต, ผลักดันฝ่ายนิติบัญญัติให้จำกัดอำนาจของบรรษัท, และ เผยแพร่งานวิจัยและปฏิบัติการผ่านเครือข่ายที่กว้างขวางของมัน.  ยึดพื้นที่มอนซานโต ได้จัดปฏิบัติการหลายครั้งทั่วประเทศ.  สัปดาห์นี้, เริ่มต้นวันที่ 8 เมษายน, หลายกลุ่มจากทั่วประเทศรวมตัวกันที่วอชิงตัน ดีซี เพื่อยึดการเขมือบกิน อย. ของมอนซานโต, เรียกร้องให้มีการควบคุม จีเอ็มโอ และ ยุติ อิทธิพลของบรรษัทในนโยบายอาหาร. 
In 2012, the Organic Seed Growers and Trade Association gathered enough signatures for a ballot initiative (Prop 37) in California to mandate labeling of products containing GMOs. Their hope was that forcing companies to label in California, the eighth-largest economy in the world, would prompt countrywide labeling. Companies poured money into defeating the measure, the largest donors being Monsanto (about $8.1m) and DuPont (about $5.4m). Also donating millions were companies that own major organic labels like Kashi (Kellogg Company), Horizon (Dean Foods), Odwalla (Coca-Cola), and Cascadian Farms (General Mills). The measure failed by a tiny margin, causing the anti-GMO movement to redouble its efforts. Labeling laws have been proposed in more than 20 other states and are currently under consideration by legislators in Vermont and Washington.
ในปี 2012, สมาคมผู้ปลูกเมล็ดอินทรีย์และการค้า รวบรวมลายเซ็นเพื่อการทำประชาพิจารณ์ (ญัตติ 37) ในแคลิฟอร์เนีย เพื่อบังคับให้ติดฉลากในผลิตภัณฑ์ที่มีจีเอ็มโอ.  ความหวังของพวกเขาคือ หากบังคับให้ติดฉลากในแคลิฟอร์เนีย, เศรษฐกิจใหญ่ที่สุดเป็นอันดับแปดของโลก, ได้ก็จะทำให้เกิดการติดฉลากทั่วประเทศ.  เหล่าบริษัทได้ทุ่มเงินให้มาตรการนี้พ่ายแพ้ไป, ผู้บริจาครายใหญ่ที่สุด คือ มอนซานโต (ประมาณ $8.1ล้าน) และดูปองต์ (ประมาณ $5.4 ล้าน).  บริษัทที่บริจาคเงินนับล้าน มีพวกที่เป็นเจ้าของยี่ห้ออินทรีย์หลักๆ ด้วย เช่น Kashi (Kellogg Company), Horizon (Dean Foods), Odwalla (Coca-Cola), และ Cascadian Farms (General Mills).  มาตรการแพ้ด้วยคะแนนนิดเดียว, ทำให้ขบวนต่อต้าน จีเอ็มโอ เพิ่มความพยายามเป็นสองเท่า.  มีการเสนอร่างกฎหมายให้บังคับติดฉลากในกว่า 20 รัฐอื่นๆ และกำลังถูกพิจารณาในเวอร์มอนต์ และ วอชิงตัน.
In 2011, the Organic Seed Growers and Trade Association – together with 82 other plaintiffs, including agricultural associations, seed companies, and farmers – brought a lawsuit against Monsanto in Manhattan federal district court to establish protections for organic farmers whose crops are contaminated by GMOs. The court ruled against them, but the plaintiffs appealed and are currently awaiting a ruling.
ในปี 2011, สมาคมผู้ปลูกเมล็ดอินทรีย์และการค้า – ร่วมกับผู้ร้องทุกข์อื่นๆ อีก 82 ราย, รวมทั้งสมาคมเกษตร, บริษัทเมล็ดพันธุ์, และเกษตรกร – ยื่นฟ้องมอนซานโตในศาล แมนฮัตตัน เพื่อให้คุ้มครองเกษตรกรอินทรีย์ ผู้ซึ่งพืชผลถูกปนเปื้อนด้วย จีเอ็มโอ.  ศาลตัดสินยกฟ้อง, แต่ผู้ร้องทุกข์ได้อุทธรณ์ และตอนนี้ก็กำลังรอฟังคำพิพากษาอยู่.
Back in the rural Haitian town of Hinche on March 22 of this year, the same peasant farmer group that had burned Monsanto seeds held another demonstration. Holding banners reading “Down with Monsanto,” they demanded an end to corporate tyranny of agriculture. Allies from many countries in Latin America, North America, Europe, and Africa joined them in that dusty town, recommitting themselves to a world with food and seed sovereignty.
 กลับไปที่เมืองชนบทในไฮติ ในวันที่ 22 มีนาคม ปีนี้, กลุ่มชาวนาเดิมที่ได้เผาเมล็ดมอนซานโตได้จัดการประท้วงอีกครั้ง.  พวกเขาถือป้าย “โค่นมอนซานโต”, พวกเขาเรียกร้องให้ยุติทรราชย์บรรษัทในเกษตรกรรม.  พันธมิตรจากหลายประเทศในลาตินอเมริกา, อเมริกาเหนือ, ยุโรป, และอาฟริกา ได้เข้าร่วมในเมืองคลุ้งฝุ่นนี้, ตั้งปณิธานใหม่อีกครั้ง ต่อการทำให้โลกมีอธิปไตยทางอาหารและเมล็ดพันธุ์.
[i] Andrew Kimbrell and Joseph Mendelson, Center for Food Safety, “Monsanto vs. US Farmers,” 2005.
[ii] Center for Food Safety, “Monsanto vs. US Farmers,” Nov. 2007.
[iii] Chavannes Jean-Baptiste, group email, May 14, 2010.
This article originally appeared on Other Worlds as part of their Harvesting Justice series.
 Tory Field is Research and Education Coordinator for Other Worlds. Tory is an organizer living in Massachusetts. She worked for many years as a community organizer with Arise for Social Justice, a multi-issue community justice organization in Springfield, MA. where she now serves on the Board of Directors.
 Beverly Bell is the founder of Other Worlds and more than a dozen international organizations and networks, Beverly is also an Associate Fellow at the Institute for Policy Studies. Beverly has worked for more than three decades as an organizer, advocate, and writer in collaboration with social movements in Latin America, the Caribbean, Africa, and the U.S.   She is the author of the book Walking on Fire: Haitian Women's Stories of Survival and Resistance.
Published on Monday, April 8, 2013 by Common Dreams

Monsanto = Death
"Monsanto came to own such a vast supply by buying major seed companies to stifle competition, patenting genetic modifications to plant varieties, and suing small farmers."
Does anyone remember a parent telling him or her that if you can't play nice, then don't play? Capitalism doesn't work.
So, as I understand it, Monsanto donated 505 TONS of hybrid corn and vegetable seed and much of it (all?) was burned? It doesn't say how much seed the Organic growers organization donated (none?). All I know is that this is one sad fucking mess.
Monsanto and corporate farming is now in charge of the food supply..more and more outside money is controlling the system against the peoples interest all over the world...monsanto now sues organic farmers for poluting their genetic patented seeds(and winning)...will be only source of seed if they have their way...as a farmer and landowner...it has been obvious for some time...just got back from a farm seminar this weekend....they just love Monsanto...wonder why??
A) Dunno if Haitians were asking for any seeds at all
B) How many seeds have you donated?
Push my buttons - "One Goliath, Many Davids." This is such a scary thought to me because Goliath was the one defending his land against an invading army that had advanced technology operated by David. How is it after thousands of years intelligent people, those who supposedly care about the victims, can still accept that the opposite is true and glorify the aggressor?

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น