203. Book on
Decolonizing Our Food Commons-3
3.
Good Growing Conditions: Changing Government Policies
3. เงื่อนไขที่ดีเพื่อการเพาะปลูก
: การเปลี่ยนนโยบายรัฐบาล
“If
I’m hoeing or cleaning out the chicken house, I have time to think. If I’m on
the tractor, I have time to think.”
-Dena
Hoff is explaining how she fits dreaming up ways to challenge international
trade policies into her days.
“หากฉันกำลังขุดหรือทำความสะอาดเรือนเลี้ยงไก่,
ฉันมีเวลาคิด. หากฉันอยู่บนรถแทรกเตอร์,
ฉันมีเวลาคิด”.
-ดีนา ฮอฟฟ์
อธิบายว่าเธอใช้เวลาวันๆ สานฝันเพื่อท้าทายนโยบายการค้าระหว่างประเทศได้อย่างไร.
At
the moment, she has stepped away from her farm, close to 500 acres of
everything you can imagine – vegetables, dry beans, corn, wheat, sheep,
poultry, cows, and more – for eight precious days of summer in order to be a
part of the National Family Farm Coalition (NFFC) board meeting. “That’s way too
long this time of year. I try not to be away from lambing through harvest.” But
Dena shows up for these meetings each year anyway, motivated, she says, by “the
audacity of multinational corporations to control government agencies and to
write the rules that impact us.”
ตอนนี้,
เธอกำลังย่างก้าวออกจากฟาร์มของเธอ, เนื้อที่เกือบ 500 เอเคอร์
มีทุกอย่างที่คุณจะจินตนาการได้—ผัก, ถั่วแห้ง, ข้าวโพด, ข้าวสาลี, แพะ, สัตว์ปีก,
วัว และ อื่นๆ อีกมาก—เป็นเวลาอันมีค่า 8 วัน ในฤดูร้อน
เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการประชุมบอร์ดของเครือข่ายครอบครัวฟาร์มแห่งชาติ (NFFC). “นั่นเป็นเวลาที่นานเกินไปในช่วงเวลานี้แห่งปี.
ฉันพยายามไม่ไปไหนจนกว่าจะถึงเวลาเก็บเกี่ยว”.
แต่ดีนาก็ปรากฏตัวขึ้นในการประชุมเหล่านี้ทุกปี, เธอกล่าว
เพราะแรงกระตุ้นจาก “ความมุทะลุของบรรษัทข้ามชาติในการควบคุมหน่วยงานรัฐบาล และ
ในการเขียนกฎข้อบังคับที่มีผลกระทบพวกเรา”.
NFFC
is a network of 28 rural and family farm organizations from around the country.
Together with other national coalitions, they bring together farmers,
organizers, and policy analysts towards the goal of changing government
agricultural policy.
NFFC เป็นเครือข่ายของ
องค์กรครอบครัวฟาร์มชนบท 28 องค์กรจากทั่วประเทศ. ร่วมกับเครือข่ายแห่งชาติอื่นๆ,
พวกเขาได้ระดมเกษตรกร, นักจัดกระบวน, และนักวิเคราะห์นโยบาย
สู่เป้าหมายของการเปลี่ยนนโยบายเกษตรของรัฐบาล.
“I
grew up where Union Carbide mined uranium,” says Dena, “and I saw people all
over my little community dying because Union Carbide left this big pit and then
went away when it was no longer economically viable for them. Then I started
learning all these other issues like corporate concentration and the lack of
credit and farm bill issues, and realized how interconnected everything was, from
the grassroots all the way to the global. You have to pay attention to the
whole picture.”
“ฉันเติบโตมาจากที่ๆ
ยูเนียนคาร์ไบด์ขุดแร่ยูเรเนียม”, ดีนากล่าว, “และฉันได้เห็นผู้คนทั่วชุมชนเล็กๆ
ของฉันตายลง เพราะ ยูเนียนคาร์ไบด์ ละทิ้งหลุมใหญ่นี้ และ
จากไปเมื่อมันไม่มีประโยชน์ทางเศรษฐกิจต่อพวกเขาต่อไป. แล้วฉันก็เริ่มเรียนรู้ว่า ประเด็นอื่นๆ
เหล่านี้ เช่น ประเด็นการกระจุกตัวของบรรษัท และ การขาดสินเชื่อ และ พรบ ฟาร์ม,
และ ตระหนักว่า ทุกสิ่งทุกอย่างมันเชื่อมโยงกันอย่างไร, จากรากหญ้า
ไปจนถึงระดับโลก.
คุณต้องให้ความสนใจกับภาพรวมทั้งหมด”.
“Brought
to you by…”: How Government Policies Underwrite Corporate Profit
“นำเสนอต่อท่านโดย...” : นโยบายของรัฐบาลประกันกำไรบรรษัทอย่างไร
|
In
tandem with the steady industrialization of our food systems, the last 50 years
have witnessed the erosion of national agricultural policies that support
farmers. The U.S. government, for example, used to set price floors for certain
commodity crops (nonperishable staples like corn, wheat, rice, and cotton),
which acted like a minimum wage for farmers, regulating the lowest amount they
could be paid for their products. Another government program, that of maintaining
grain reserves, allowed farmers to store some grain crops in seasons when they
overproduced; the reserves could then be released into the market in future,
less abundant seasons. This regulation of extra grain helped prevent food
shortages and price spikes.
เคียงคู่กันไปกับการกลืนระบบอาหารของเราสู่กระบวนอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง,
ช่วง 50
ปีที่ผ่านมา
ได้ประจักษ์ถึงการกัดเซาะนโยบายเกษตรแห่งชาติที่สนับสนุนเกษตรกร. เช่น รัฐบาลสหรัฐฯ เคยตั้งราคาประกัน/พื้นฐาน
สำหรับสินค้าพืชบางอย่าง (ไม่เน่าเสียง่าย เช่น ข้าวโพด, ข้าว, และ ฝ้าย),
ซึ่งเป็นเหมือนค่าแรงขั้นต่ำสำหรับเกษตรกร,
เป็นการควบคุมจำนวนเงินต่ำสุดที่พวกเขาพึงได้รับสำหรับผลิตผลของพวกเขา. อีกโปรแกมหนึ่งของรัฐบาล,
ที่รักษายุ้งสำรองธัญพืช, อนุญาตให้เกษตรกรเก็บธัญพืชบางอย่างในฤดูที่พวกเขาผลิตได้มากเกิน; ยุ้งสำรองนี้ปล่อยขายในตลาดได้ในอนาคต,
ในฤดูกาลที่เก็บเกี่ยวได้น้อย.
การควบคุมธัญพืชส่วนเกินนี้ ช่วยป้องกันไม่ให้เกิดภาวะขาดแคลนอาหาร หรือ
ราคาพุ่งลิ่วเกิน.
But
agribusinesses wanted to buy commodity crops, from which they make their products,
as cheaply as possible. So they pressured legislators to end price-regulating policies.
In the 1970s, the government started chipping away at price floors and grain
reserves, and in 1996 they were eliminated completely. Farmers lowered their prices
in response, attempting to attract more customers, and at the same time had to
boost production to compensate for lost income. Prices spiraled downward.
Farmers were suffering and the government, to keep them from going under,
ramped up the subsidy system. Subsidies, which began in the 1930s during the
Great Depression, use taxpayer money to give commodity farmers direct payments,
tax breaks, subsidized insurance, and other financial support. These government
payments allow farms to continue selling their products cheaply without going
out of business.
แต่ ธุรกิจเกษตร ต้องการซื้อสินค้าพืช,
เพื่อทำกำไร ด้วยการซื้อที่ถูกที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้. ดังนั้น
พวกเขาจึงกดดันฝ่ายนิติบัญญัติให้ยุตินโยบายการควบคุมราคา. ในปี 1970s,
รัฐบาลได้เริ่มแทะราคาพื้นฐาน และ ยุ้งสำรอง, และในปี 1996
ก็ได้ขจัดจนหมดสิ้น. เกษตรกรได้ลดราคาของตนเป็นการขานรับ,
เป็นการพยายามดึงดูดลูกค้ามากขึ้น, และในขณะเดียวกัน
ก็ต้องเพิ่มกำลังผลิตเพื่อชดเชยกับรายได้ที่หายไป. ราคาดิ่งลง.
เกษตรกรต้องเดือดร้อน และ รัฐบาล, เพื่อกดให้มันอยู่ใต้,
ปิดระบบการให้เงินอุดหนุน.
การให้เงินอุดหนุน, ซึ่งเริ่มต้นในทศวรรษ 1930s
ในระหว่างยุคเศรษฐกิจถดถอยที่ยิ่งใหญ่, ใช้เงินจากผู้เสียภาษี
จ่ายตรงให้เกษตรกรผู้ผลิตเป็นสินค้า/เกษตรพาณิชย์ รวมทั้งให้การระงับภาษี,
การประกันภัยแบบได้เงินอุดหนุน, และการสนับสนุนทางการเงินอื่นๆ. การจ่ายโดยรัฐบาลเหล่านี้ อนุญาตให้ฟาร์มขายผลผลิตของพวกเขาในราคาถูกโดยไม่ต้องเลิกกิจการไป.
Despite
common misperceptions, the real winners of the subsidy system are not by and large
the farmers receiving the payments. Instead, they are the corporations who buy,
process, transport, and resell the commodities. Commodity crops are generally
not sold directly to consumers. They are sold to middlepeople who package and
resell them, or who turn the raw materials into other products – corn to
produce animal feed, corn syrup, or ethanol, for example. Subsidies allow
corporations to buy these goods from farmers for such artificially low prices
that they make an even higher profit, while taxpayers foot the bill. The meat
industry is a perfect example. About half of all the corn and soybeans grown in
the U.S. are used to feed livestock.[1]47 The cheaper
the cost of corn and soybeans, the less money factory farms pay out for animal
feed, the less money processors pay out for meat, and the more both make in
profit.[2]48
ทั้งๆ ที่มีมุมมองผิดๆ
ร่วมหลายอย่าง, ผู้มีชัยชนะจริงๆ ของระบบเงินอุดหนุน
ไม่ใช่เกษตรกรที่ได้รับเงิน.
แต่เป็นบรรษัทผู้ซื้อ, แปรรูป, ขนส่ง, และขายสินค้าเหล่านี้ใหม่. สินค้าพืชไม่ได้ถูกขายโดยตรงสู่ผู้บริโภค. แต่ถูกขายให้คนกลาง
ผู้ทำการบรรจุหีบห่อแล้วขายซ้ำ, หรือ ผู้เปลี่ยนวัตถุดิบเป็นผลิตภัณฑ์อย่างอื่น—ข้าวโพด
เป็นอาหารสัตว์, น้ำหวานข้าวโพด, หรือ เอธานอล เป็นต้น. เงินอุดหนุน
อนุญาตให้บรรษัทซื้อสินค้าเหล่านี้จากเกษตรกรด้วยราคาต่ำผิดธรรมชาติ
ที่ทำให้พวกเขาทำกำไรได้มากขึ้น, ในขณะที่ผู้จ่ายภาษีเป็นผู้แบกภาระจ่ายใบเสร็จจริง. อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ เป็นตัวอย่างสมบูรณ์แบบ.
เกือบครึ่งของข้าวโพดและถั่วเหลืองที่ปลูกในสหรัฐฯ
ถูกใช้เลี้ยงปศุสัตว์.
ต้นทุนข้าวโพดและถั่วเหลืองยิ่งต่ำเท่าไร,
ฟาร์มอุตสาหกรรมก็จ่ายค่าอาหารสัตว์น้อยลงมากเท่านั้น,
โรงงานแปรรูปเนื้อจ่ายน้อยลงเพื่อซื้อเนื้อ, และทั้งสองก็ทำกำไรมากขึ้น.
The
mix of subsidies, together with deregulated agricultural policies, creates such
a skewed equation that some commodity crops are sold for even less money than
it costs to grow them. This practice, called ‘dumping,’ enables corporations to
undercut farmers around the world. Between 2000 and 2003, for example, while
the cost of producing rice was approximately $415 per ton, government subsidies
allowed agribusiness companies to sell it overseas for just $275 per ton.[3]49 In 2002,
cotton was exported at 61 percent, and wheat at 43 percent, below the cost of
production.[4]50
เงินอุดหนุนผสมผสาน,
ประกบกับนโยบายยกเลิกการควบคุมภาคเกษตร, ทำให้เกิดสมการบิดเบี้ยวจน
สินค้าพืชบางอย่างถูกขายในราคาต่ำกว่าต้นทุนในการปลูก. วิธีนี้ เรียกว่า ‘ทุ่มทิ้ง’, ช่วยให้บรรษัทตัดราคาเกษตรกรทั่วโลกได้. ระหว่างปี 2000 และ
2003, ในขณะที่ต้นทุนในการผลิตข้าวมีราคาประมาณ $415 / ตัน, เงินอุดหนุนรัฐบาล อนุญาตให้บริษัทธุรกิจเกษตร ขายในแดนโพ้นทะเล
ในราคาเพียง $275 / ตัน.
ในปี 2002,
ฝ้ายถูกส่งออกในราคาต่ำกว่าต้นทุนในการผลิตถึง 61%, และ
ข้าวสาลี 43%.
This whole
perplexing system is kept in place by close-knit relationships between
corporations and government. Members of Congress give out subsidies that keep
costs low for agribusiness and pass legislation that opens markets in their
favor. In return, corporations support legislators with campaign contributions,
votes, and investment in their districts. A revolving door spins government
officials into corporate positions and then back again.
ระบบยุ่งเหยิงทั้งมวลนี้
ถูกรักษาไว้ด้วยความสัมพันธ์สนิทแนบแน่นระหว่าง บรรษัท และ รัฐบาล. สมาชิกสภาคคองเกรส ยื่นเงินอุดหนุนให้
ที่ทำให้ราคาต่ำสำหรับธุรกิจเกษตร และ ออกกฎหมายที่เปิดตลาดที่เข้าข้างบรรษัท. ในทางกลับกัน,
บรรษัทสนับสนุนฝ่ายนิติบัญญัติด้วยการบริจาคเงินหาเสียง, การลงคะแนนเสียง, และ
การลงทุนในเขตของพวกเขา.
เกิดเป็นประตูวงเวียนสลับกันเปิดปิดให้เจ้าหน้าที่รัฐบาลได้นั่งในตำแหน่งบรรษัท
แล้วก็กลับเข้าตำแหน่งในรัฐบาลอีก.
Yet throwing
out government subsidies altogether isn’t a workable solution. Eliminating this
support system without changing the underlying conditions that make commodity farms
dependent on it won’t benefit farmers. And some subsidies, like grants for
sustainable agriculture, tax credits for renewable energy conversions, and food
stamps, can be positive for both farmers and consumers. Subsidies need to be
restructured while, even more fundamentally, new policies need to be
implemented to promote a just and sustainable food system.
แต่การโยนทิ้งนโยบายเงินอุดหนุนจากรัฐบาล
ก็ไม่ใช่ทางแก้ไข.
การขจัดระบบค้ำจุนนี้โดยปราศจากการเปลี่ยนเงื่อนไขเบื้องหลัง
ที่ทำให้สินค้าฟาร์มต้องพึ่งมัน จะไม่เกิดประโยชน์ต่อเกษตรกร. และเงินอุดหนุนบางอย่าง,
เช่นเงินให้เปล่าเพื่อเกษตรยั่งยืน, เครดิตภาษีเพื่อเปลี่ยนเป็นการใช้พลังงานหมุนเวียน,
และ แสตมป์อาหาร, สามารถมีผลบวกต่อทั้งเกษตรกรและผู้บริโภค.
จำเป็นต้องมีการเปลี่ยนโครงสร้างของการให้เงินอุดหนุน
ในขณะที่นโยบายใหม่จำเป็นต้องมีการบังคับใช้ เพื่อส่งเสริมให้เกิดระบบอาหารที่เป็นธรรม
และ ยั่งยืน.
“The
only way we’re going to… change the most basic attitude of policy-makers… is
for you and me to become the policymakers, taking charge of every aspect of
our food system – from farm to fork.”[5]51
—
Jim Hightower, former Agriculture Commissioner of Texas
“ทางเดียวที่เราจะ...เปลี่ยนทัศนคติพื้นฐานที่สุดของผู้กำหนดนโยบาย...คือ
คุณและผม ต้องกลายเป็นผู้กำหนดนโยบายเอง, กุมบังเหียนระบบอาหารของเราทุกๆ ด้าน—จากฟาร์มถึงช้อนส้อม.
-จิม
ไฮเทาเวอร์, อดีตสมาชิกในคณะกรรมาธิการเกษตร รัฐเท็กซัส
|
Seeds
of Policy Change
เปลี่ยนนโยบายเมล็ดพันธุ์
People
across the nation are advocating for policies that better support small
farmers, make healthy food accessible to all, respect the rights of
farmworkers, and preserve farmland. They’re also promoting changes in
international policies, like trade agreements and food aid programs, to stop harming
farmers in other parts of the globe. Some recent policy victories and campaigns
include:
ประชาชนทั่วประเทศสนับสนุนนโยบายที่ให้ความช่วยเหลือที่ดีกว่าแก่เกษตรกรรายย่อย,
ทำให้ทุกคนเข้าถึงอาหารที่สมบูรณ์ได้, เคารพสิทธิของคนงานฟาร์ม,
และพิทักษ์ที่ดินเพาะปลูก.
พวกเขายังส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงในนโยบายระหว่างประเทศ, เช่น
ข้อตกลงทางการค้า และ โปรแกมการช่วยเหลือด้านอาหาร,
ให้หยุดทำร้ายเกษตรกรในส่วนอื่นของโลก.
นโยบายและการรณรงค์ที่ได้รับชัยชนะเมื่อไม่นานมานี้ มีดังนี้:
•
The National Family Farm Coalition, farmer Dena Hoff’s group that we mentioned above,
is educating and lobbying for better loan and grant programs for farmers.
They’re also working for the reinstatement of price floors which would set
minimum prices farmers must receive for their goods, as well as grain reserves
to regulate the dramatic swings of scarcity and surplus. They, together with
other groups like Food and Water Watch, Food First, and the Institute for
Agriculture and Trade Policy, are engaged in research, education, and strategy
to help turn farmers, consumers, and all of us into effective policy-change advocates.
-เครือข่ายครอบครัวฟาร์มแห่งชาติ,
กลุ่มของ ดีนา ฮอฟฟ์,
กำลังให้การศึกษาและล็อบบี้เพื่อให้ได้โปรแกมเงินกู้และให้เปล่าที่ดีกว่าแก่เกษตรกร.
พวกเขากำลังทำงานเพื่อให้สถาปนาราคาพื้นฐานขึ้นใหม่
เพื่อประกันราคาขั้นต่ำที่เกษตรกรพึงได้รับจากผลิตผลของพวกเขา, รวมทั้งยุ้งธัญพืชสำรอง
เพื่อควบคุมความผันผวนสุดโต่งของความขาดแคลนกับล้นเกิน. พวกเขา, พร้อมกับกลุ่มอื่นๆ เช่น
กลุ่มเฝ้าระวังอาหารและน้ำ, Food First,
และสถาบันนโยบายเกษตรและการค้า, มีส่วนร่วมในการวิจัย, การศึกษา,
และยุทธศาสตร์เพื่อทำให้เกษตรกร, ผู้บริโภค, และ พวกเราทั้งหมดกลายเป็น
ผู้สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงนโยบายที่มีประสิทธิภาพ.
•
People from all walks – rooftop gardeners, PTA parents, ranchers, and chefs –
are becoming more involved in the U.S. Farm Bill. Up for renewal every five to seven
years, this hugely influential legislation lays out the framework for national food
and farming policy. It regulates agricultural subsidies, food stamps, school lunch
programs, rural conservation, and everything in between. Given the heavy impact
the set of laws has on our daily lives, more and more people are asserting that
we cannot leave its shaping to policymakers alone. The Community Food Security
Coalition, a coalition of nearly 300 organizations, drafted a platform of top
priorities for the 2012 Farm Bill, and helped organizations learn about and
lobby for those changes During the lead-up to the Farm Bill vote in 2008, the
Farm and Food Policy Diversity Initiative brought together farmers and
farmworkers of color to ensure that their perspectives were heard in the
legislative process. They helped secure policies putting a moratorium on land
foreclosures in cases where there was a claim of discrimination, prioritizing
socially disadvantaged farmers for federal loans and grants, and promoting
locally grown produce in food stamp and school-lunch programs.
-ประชาชนจากสาขาต่างๆ—คนทำสวนบนหลังคา, พ่อแม่ที่เป็นสมาชิกของสมาคมผู้ปกครอง-ครู,
เจ้าของปศุสัตว์, และพ่อ/แม่ครัว—ล้วนมีส่วนร่วมมากขึ้นใน พรบ ฟาร์มสหรัฐฯ. ความที่ต้องมีการต่ออายุทุกๆ 5 ถึง 7 ปี, กฎหมายที่มีอิทธิพลอย่างยิ่งนี้วางกรอบการทำงานสำหรับนโยบายอาหารและเกษตรแห่งชาติ. มันวางระเบียบเรื่องการให้เงินอุดหนุนทางเกษตร,
แสตมป์อาหาร, โปรแกมอาหารกลางวันที่โรงเรียน, การอนุรักษ์ชนบท, และทุกๆ
อย่างในเรื่องทำนองนี้.
เนื่องจากมันมีผลกระทบอย่างแรงต่อชีวิตประจำวันของพวกเรา, ประชาชนมากยิ่งขึ้น
กำลังยืนกรานว่า เราไม่สามารถปล่อยให้เป็นเรื่องของผู้กำหนดนโยบายทำตามลำพัง. เครือข่ายความมั่นคงทางอาหารชุมชน,
อันเป็นเครือข่ายเกือบ 300 องค์กร, ได้ร่างบทว่าด้วย
ประเด็นสำคัญสุดยอด สำหรับ พรบ ฟาร์ม ปี 2012, และได้ช่วยองค์กรให้เรียนรู้และทำการล็อบบี้ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง. ในระหว่างเวลาที่จะนำไปสู่การลงคะแนนในปี 2008,
กลุ่มริเริ่มให้มีความหลากหลายในนโยบายฟาร์มและอาหาร
ได้นำเกษตรกรและคนงานฟาร์มผิวสีให้รวมตัวกันเพื่อทำให้มั่นใจว่า
มุมมองของพวกเขาถูกรับฟังในกระบวนการนิติบัญญัติ.
พวกเขาได้ช่วยให้มีการบรรจุในนโยบายว่าให้มีการระงับชั่วคราวในการยึดที่ดินติดจำนอง
ในกรณีที่มีการกล่าวอ้างที่เลือกปฏิบัติ,
จัดให้เกษตรกรที่ด้อยโอกาสทางสังคมอยู่ในลำดับต้นๆ
เพื่อรับเงินกู้หรือเงินทุนจากรัฐบาลกลาง, และ
ส่งเสริมผลิตผลที่เพาะปลูกในท้องถิ่นในโปรแกมแสตมป์อาหารและอาหารกลางวันในโรงเรียน.
•
In 2009, the “Country of Origin Labeling” (COOL) law went into effect. This
federal law mandates that retailers label certain meats, produce, and nuts with
their country of origin. In 2011, the WTO ruled against the COOL labeling for
meat products, claiming that it interfered with international trade law. (Other
WTO decisions that year included a ruling against U.S. ‘dolphin-safe’ tuna labels
and the overturning of a U.S. ban on candy- and cola-flavored cigarettes.) Activists
and groups like Food and Water Watch are pressuring President Obama to appeal
the ruling. Some states such as Vermont, Minnesota, Montana and Maine have
their own state-labeling policies and programs to help residents choose foods
produced closer to home. Regional efforts, like one run in Western Massachusetts
by Community Involved in Sustaining Agriculture, also label local goods. Their
‘Local Hero’ logo adorns products in grocery stores, restaurants, farms, garden
centers, and public institutions.
-ในปี 2009, กฎหมาย “ติดฉลากประเทศต้นทาง” (COOL) ได้มีผลบังคับใช้. กฎหมายรัฐบาลกลางนี้
บังคับให้ผู้ขายปลีกติดฉลากอาหาร เช่น เนื้อ, ผลิตผลทางเกษตร, และถั่ว
โดยระบุประเทศต้นทาง. ในปี 2011, WTO ได้ตัดสินคว่ำ การติดฉลาก COOL บนผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์,
อ้างว่า เป็นการแทรกแซงกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ. นักกิจกรรมและกลุ่มต่างๆ
กำลังกดดันประธานาธิบดีโอบามา ให้อุทธรณ์ข้อตัดสินนี้. บางรัฐเช่น เวอร์มอนต์, มินเนโซตา, มอนทานา,
และเมน มีนโยบายติดฉลากของรัฐเอง และโปรแกมเพื่อช่วยชาวบ้านให้เลือกซื้ออาหารที่ผลิตใกล้บ้าน. ความพยายามระดับภูมิภาค, เช่น
รายหนึ่งที่ดำเนินอยู่ในแมสซาชูเซทส์ตะวันตก โดยองค์กร
ชุมชนมีส่วนร่วมในเกษตรยั่งยืน, ก็ติดฉลากอาหารท้องถิ่นด้วย. ยี่ห้อของพวกเขา “ฮีโร่ท้องถิ่น”
ประดับประดาผลผลิตในร้านขายของชำ, ภัตตาคาร, ฟาร์ม, ศูนย์สวน, และ สถาบันสาธารณะ.
•
U.S. meat- and dairy-eaters are becoming wise to the ways of industrial meat, dairy,
and egg production, and demanding an end to animal abuse. Ninety percent of
laying hens in the U.S., for example, spend their entire lives in cages smaller
than the standard-sized piece of paper.[6]52 In 2008,
California residents organized a ballot initiative requiring that “calves
raised for veal, egg-laying hens and pregnant pigs be confined only in ways
that allow these animals to lie down, stand up, fully extend their limbs and
turn around freely.”[7]53 More
Californians voted for the law than for any other citizen initiative in state
history.[8]54 Though the
right to stand up or turn around is a small step, California’s legislation is
part of an overall trend in addressing animals’ well-being. Michigan has since
passed a similar bill, and Arizona, Colorado, Florida, and Maine have passed
laws to phase out gestation crates, in which pregnant pigs are kept in cages
only slightly larger than the span of their bodies. Individual consumers are
increasingly switching to cage-free eggs and pasture-raised meats, and corporations
are being forced to change their practices as a result.
-นักกินเนื้อและนมในสหรัฐฯ
ฉลาดขึ้นรู้ทันวิธีการของอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อ, นม, และไข่,
และกำลังเรียกร้องให้ยุติการข่มเหงสัตว์.
เช่น ไก่ออกไข่ 90% ในสหรัฐฯ ใช้เวลาตลอดชีพอยู่ในกรงที่เล็กกว่ากระดาษขนาดมาตรฐาน. ในปี 2008,
ชาวแคลิฟอร์เนีย ได้จัดให้มีประชาพิจารณ์เพื่อบังคับให้
“ลูกวัวที่เลี้ยงเพื่อเอาเนื้อ, ไก่ไข่ และ หมูตั้งท้อง ให้กักขังได้ในที่ๆ
มันล้มตัวลงนอนได้, ยืนขึ้นได้, ยืดแขนขาได้เต็มที่ และหมุนรอบตัวได้อย่างเป็นอิสระ.
ชาวแคลิฟอร์เนียพากันออกมาลงคะแนนมากกว่ากิจกรรมที่พลเรือนริเริ่มครั้งก่อนๆ. แม้ว่า
สิทธิในการลุกขึ้นยืนหรือหมุนตัวเป็นก้าวเล็กๆ, กฎหมายของแคลิฟอร์เนียก็เป็นส่วนหนึ่งของแนวโน้มใหญ่ที่ห่วงใยความอยู่ดีมีสุขของสัตว์. รัฐมิชิแกนได้ผ่านกฎหมายคล้ายกันหลังจากนั้น,
และ อาริโซนา, โคโลราโด, ฟลอริดา, และ เมน
ก็ได้ผ่านกฎหมายห้ามการขังสัตว์ตั้งท้อง,
หมูที่ตั้งท้องจะถูกกักในกรงที่ใหญ่กว่าตัวของมัน. ปัจเจกผู้บริโภคมากขึ้น
กำลังหันไปซื้อไข่ที่ไม่ขังกรง และ เนื้อที่เลี้ยงด้วยหญ้า, และ ผลคือ บรรษัทก็กำลังถูกบังคับให้เปลี่ยนวิธีปฏิบัติ.
Edward
Crimmins
Occupy
Wall Street march, New York, December 2011. The National Young Farmers
Coalition connects new farmers to share skills and fight for national policies
that will “keep them farming for a lifetime.”
เดินขบวนยึดพื้นที่วอลล์สตรีท,
นิวยอร์ก, ธันวาคม 2011. เครือข่ายยุวเกษตรแห่งชาติเชื่อมเกษตรกรใหม่ให้แบ่งปันทักษะและต่อสู้เพื่อให้ได้นโยบายแห่งชาติที่จะ
“ทำให้พวกเขาทำเกษตรได้ตลอดชีพ”.
Aaron
Donovan
Residents
speak to the Springfield, Massachusetts city council in support of a local
ordinance to protect and promote community gardens, March 2012. The youth
organization Gardening the Community began crafting the ordinance after losing
access to the garden lot they had been working on for more than 10 years.
ชาวบ้านลุกขึ้นพูดต่อสภาเมืองสปริงฟิลด์แห่งแมสซัสชูแซทส์
เพื่อสนับสนุน กฎหมายท้องถิ่นที่ปกป้องและส่งเสริมสวนชุมชน, มีนาคม 2012. องค์กรหนุ่มสาว การทำสวนชุมชน
ได้เริ่มร่างกฎหมายหลังจากสูญสิทธิ์ในการเข้าถึงสวนที่พวกเขาได้ทำงานมากว่า 10 ปี.
Youth
Food Bill of Rights: Rooted in Community
พรบ
สิทธิอาหารเยาวชน: หยั่งรากในชุมชน
Rooted
In Community (RIC) is a national grassroots network that empowers young people
to take leadership for food justice. Each year RIC organizes a gathering where
youth from around the country come together to share knowledge and skills,
build relationships, and strategize. At the 2011 leadership summit, youth began
creating a Youth Food Bill of Rights. In RIC’s words:
หยั่งรากในชุมชน (RIC) เป็นเครือข่ายรากหญ้าแห่งชาติ
ที่เสริมอำนาจต่อรองให้เยาวชนให้รับบทผู้ในเพื่ออาหารเป็นธรรม. ทุกปี RIC
จัดการรวมตัวที่เยาวชนจากทั่วประเทศมาอยู่ร่วมกันเพื่อแบ่งปันความรู้และทักษะ,
สร้างความสัมพันธ์, และวางยุทธศาสตร์.
ในการประชุมสุดยอดผู้นำในปี 2011,
เยาวชนก็เริ่มสรรค์สร้าง พรบ สิทธิอาหารเยาวชน.
ในคำพูดของ RIC.
“It’s
what youth believe our food system should be like! It’s a work in progress.
It’s created by youth. It’s a Statement to All. It’s a tool for Change!!!”
There are currently 19 demands that span from school-wide to global. Here are
just a few:
“มันเป็นสิ่งที่เยาวชนเชื่อว่า ระบบอาหารของเราควรเป็นเช่นนั้น! มันเป็นงานที่กำลังก้าวไปข้างหน้า. มันถูกสร้างสรรค์โดยเยาวชน, มันเป็นแถลงการณ์สำหรับทุกคน. มันเป็นเครื่องมือเพื่อการเปลี่ยนแปลง!!!” ตอนนี้ มีข้อเรียกร้อง 19
ประการที่ครอบคลุมจาก โรงเรียน ถึง โลก.
นี่เป็นเพียงบางข้อ:
•
We the youth demand more healthy food choices in our schools, and in schools
all over the world. We want vending machines out of schools unless they have
healthy choices. We need healthier school lunches that are implemented by
schools with the ingredients decided on by the youth. We demand composting in
schools and in our neighborhoods.
|
ในโรงเรียนของเรา,
และในโรงเรียนทั่วโลก.
เราต้องการให้ยกเครื่องหยอดเหรียญ
ออกไปจากโรงเรียนหากไม่มีอาหารสมบูรณ์แข็งแรงให้เลือก. เราจำเป็นต้องมี
อาหารกลางวันที่ดีต่อสุขภาพที่ดำเนินการโดยโรงเรียนด้วยส่วนประกอบที่เยาวชน
เป็นคนตัดสิน.
พวกเราเรียกร้องให้มีการหมักขยะให้เป็นปุ๋ยในโรงเรียนและใน
เพื่อนบ้านของเรา.
•
We the youth demand a ban on high fructose corn syrup and other additives, and
preservatives
that are a detriment to our and our communities’ health. This must
|
-พวกเรา เยาวชน
ขอเรียกร้องให้ห้ามใช้น้ำหวานข้าวโพดที่มีฟรุกโตสสูง และสาร
เติมแต่งต่างๆ,
และสารกันบูดที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของเราและของชุมชน
ของเรา.
นี่จะต้องดำเนินการโดยรัฐบาลของเรา, และรัฐบาลทั่วโลก.
•
We demand school assemblies to recruit more youth to promote food justice.
The
continuation of the movement for food justice, food sovereignty and cultivation
of future youth leaders is necessary for feeding our youth, our nation and our
world.
-พวกเราขอเรียกร้องให้สภาโรงเรียนเกณฑ์เยาวชนมากขึ้นให้เข้าร่วมส่งเสริมอาหารเป็นธรรม. ความต่อเนื่องของขบวนการอาหารเป็นธรรม,
อธิปไตยทางอาหาร และ การบ่มเพาะภาวะผู้นำเยาวชนอนาคต
เป็นสิ่งจำเป็นเพื่อป้อนเลี้ยงเยาวชนของเรา, ชาติของเรา และ โลกของเรา.
Declaring
Local Control: Food and Community Self-Governance
ประกาศการควบคุมท้องถิ่น : การปกครองอาหารและชุมชนด้วยตนเอง
On
a windy November day in Blue Hill, Maine, Heather Retberg is standing at the microphone
on the steps of town hall surrounded by 200 people bundled in heavy coats. “We
are farmers,” she tells the crowd, “who are supported by our friends and our neighbors
who know us and trust us, and want to ensure that they maintain access to their
chosen food supply.”
ในวันที่ลมแรงแห่งเดือนพฤศจิกายน
ที่บลูฮิลล์, รัฐเมน, เฮเธอร์ เรทเบอร์ก ยืนอยู่ที่ไมโครโฟน บนขั้นบันได้ของศาลากลาง
ล้อมรอบด้วย 200
คนที่ห่อหุ้มตัวด้วยเสื้อหนาวหนา.
“พวกเราเป็นเกษตรกร”, เธอกล่าวต่อฝูงชน,
“ผู้ได้รับการสนับสนุนจากเพื่อนของเราและเพื่อนบ้านของเรา
ที่รู้จักพวกเราและเชื่อถือพวกเรา, และต้องการสร้างความมั่นใจว่า
พวกเขาจะธำรงการเข้าถึงแหล่งอาหารที่พวกเขาเลือก”.
Blue
Hill is one of a handful of small Maine towns that have been taking bold steps
to protect their local food systems. In 2011, they passed an ordinance
exempting their local farmers and food producers from federal and state
licensure requirements when these farmers sell directly to customers.
บลูฮิลล์ เป็นหนึ่งในเมืองเล็กๆ
สักหยิบมือของรัฐเมน ที่ได้หาญลุกขึ้นปกป้องระบบอาหารท้องถิ่นของพวกเขา. ในปี 2011,
พวกเขาได้ผ่านกฎหมายยกเว้นเกษตรกรและผู้ผลิตอาหารท้องถิ่นจากข้อบังคับให้ขอใบอนุญาตจากรัฐบาลกลางและรัฐ
เมื่อเกษตรกรเหล่านี้ขายตรงแก่ลูกค้า.
The
federal government has stiffened national food-safety regulations in order to
address the health risks associated with industrial-scale farming. Recent
widespread recalls of contaminated ground turkey, cantaloupe, eggs, and a host
of other foods illustrate the serious problems at hand. These outbreaks have
been linked to industrial farms with overcrowded animals and unbalanced
ecosystems. Furthermore, the significant distance between industrial farms and
consumers creates a lack of accountability and difficulties tracing problems
when they arise.
รัฐบาลกลางได้เพิ่มความเข้มงวดในระเบียบข้อบังคับด้านความปลอดภัยของอาหาร
เพื่อแก้ไขปัญหาความเสี่ยงต่อสุขภาพที่เกี่ยวเนื่องกับเกษตรขนาดอุตสาหกรรม.
การเรียกคืนผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตรปนเปื้อนอย่างกว้างขวางเมื่อเร็วๆ นี้
เช่น เนื้อไก่งวงบด, แคนตาลูป, ไข่, และอาหารอื่นๆ อีกมาก
แสดงให้เห็นถึงปัญหาร้ายแรงขณะนี้.
การปะทุเช่นนี้ เชื่อมโยงกับฟาร์มอุตสาหกรรม ที่เลี้ยงสัตว์อย่างเบียดเสียด
และ ระบบนิเวศที่ไม่สมดุล. ระยะทางที่ห่างไกลจากกันอย่างมีนัยสำคัญระหว่างฟาร์มอุตสาหกรรมและผู้บริโภค
ทำให้ขาดความน่าวางใจ และ ยากที่จะสาวหาต้นเหตุ.
Small-scale
farming, however, doesn’t spark the same safety risks. Small farmers who sell
their food locally will tell you that the nature of their business, based on
face-to-face relationships with the people who eat their food, creates a
built-in safety protection. They don’t need inspectors to make sure they are
following good practices; keeping their neighbors, families, and long-time customers
in good health is an even better incentive. Customers are also more able to witness
the farming practices firsthand.
แต่
ฟาร์มขนาดย่อยไม่จุดประกายความเสี่ยงในด้านความปลอดภัยแบบนี้. เกษตรกรรายย่อยผู้ขายอาหารของพวกเขาในท้องที่
จะบอกคุณว่า ธรรมชาติของธุรกิจของพวกเขา,
ตั้งอยู่บนความสัมพันธ์ตัวต่อตัวกับผู้ที่กินอาหารของพวกเขา, เป็นกลไกการป้องกันความปลอดภัยในตัว. พวกเขาไม่จำเป็นต้องอาศัยนายตรวจ
เพื่อยืนยันว่าพวกเขาทำตามข้อปฏิบัติต่างๆ.
การทำให้เพื่อนบ้าน, ครอบครัว, และลูกค้าระยะยาว ให้มีสุขภาพดี
เป็นแรงจูงใจที่ดียิ่งกว่า.
ลูกค้าก็ยังสามารถเห็นการทำฟาร์มกับตาตัวเอง.
Still,
small farmers are being pushed out of business because they are saddled with
the financial and bureaucratic burdens of the same regulations as large
industrial farms. Heather and her family’s Quill’s End Farm raise grass-fed
beef and veal, lamb, pastured pork, chickens for eggs and meat, turkeys, dairy
cows and goats, a diverse mix that is better both for the land and the economic
viability of the farm. Given the scale of their business, building their own
chicken processing unit is financially out of the question, however, so
instead, they were butchering at a neighboring farm’s USDA-approved unit. When
state inspectors told them that USDA regulations didn’t allow them to share this
neighbor’s facility, Quill’s End Farm was forced to stop raising and selling
chickens altogether.
ถึงกระนั้น,
เกษตรกรรายย่อยกำลังถูกเบียดขับให้ปิดกิจการ
เพราะพวกเขาต้องแบกภาระการเงินและระบบราชการภายใต้กฎระเบียบเดียวกันกับฟาร์มอุตสาหกรรมขนาดใหญ่. เฮเธอร์ และ Quill’s End Farm ของครอบครัวของเธอ
เลี้ยงสัตว์ที่ป้อนด้วยหญ้า เช่น วัว, แกะ, หมู, ไก่ไข่และเนื้อ, ไก่งวง, โคนม,
และ แพะ.
การผสมผสานอย่างหลากหลายเป็นวิธีปฏิบัติที่ดีกว่าทั้งต่อผืนดินและความยืดหยุ่นของเศรษฐกิจของฟาร์ม. แต่ด้วยขนาดของกิจการของพวกเขา,
พวกเขาย่อมไม่มีเงินมากพอที่จะสร้างโรงแปรรูปไก่ของตนเอง, ดังนั้น
พวกเขาฆ่าไก่ในฟาร์มเพื่อนบ้านที่ได้รับการอนุมัติจากกระทรวงเกษตร. เมื่อยายตรวจของรัฐบอกพวกเขาว่า
ระเบียนกระทรวงเกษตร ไม่อนุญาตให้พวกเขาแบ่งใช้อุปกรณ์ของเพื่อนบ้าน, Quill’s End Farm
ถูกบังคับให้หยุดเลี้ยงและหยุดขายไก่ไปด้วยกัน.
“I
just remember the feeling that if that was happening to us, the same message
was being given to all sorts of farmers of our scale and people were just going
to give up and stop farming,” says Heather. “My sense, more than anything, was
a really daunting realization that, ‘Oh, this is how farms get disappeared.’
And people are so supportive, but then when we disappear, everybody might just
kind of shake their heads like, ‘Oh, it must just be really tough to make it
farming.’ There’s sort of an expectation that farming will fail but not much
understanding about why that happens.”
“ฉันจำได้แต่ความรู้สึกว่า
หากนั่นเกิดขึ้นกับพวกเราได้, ข้อความเดียวกันนี้
จะต้องถูกเผยแพร่ไปยังเกษตรกรต่างๆ ในขนาดเดียวกับพวกเรา และ
คนก็จะแค่ถอดใจและหยุดการทำฟาร์ม”, เฮเธอร์ กล่าว. “เหนืออื่นใด ความรู้สึกของฉัน
เป็นความตระหนักที่น่ากลัวจริงๆ ว่า, ‘โอ, นี่เป็นวิธีที่ฟาร์มจะหายสาบสูญไป’. และประชาชนก็สนับสนุนพวกเรามาก,
แต่เมื่อพวกเราหายไป, ทุกคนคงจะเพียงสั่นหัว เหมือนกับว่า ‘โอ,
มันคงยากมากจริงๆ ที่จะทำฟาร์ม’ ”.
|
ดังนั้น เฮเธอร์,
พร้อมกับกลุ่มเล็กๆ ประกอบด้วย เกษตรกรอื่นๆ และ
ผู้มีอุปการคุณต่อฟาร์ม
ในรัฐเมน, ได้เริ่มร่าง พรบ การปกครองอาหาร
และชุมชนด้วยตนเอง,
นับเป็นปฏิบัติการประเภทนี้รายแรกในประเทศ.
ร่าง พรบ นี้
ยกเว้นการขายตรงระหว่างเกษตรกรและลูกค้า—ที่ฟาร์ม,
เพิงค้าของฟาร์ม, และ ตลาด
เป็นต้น—จากการขอใบอนุญาต และ การ
ตรวจตราของรัฐและรัฐบาลกลาง. มันจะเปิดทางให้เฮเธอร์ขายไก่ได้ที่
ร้านในฟาร์มของเธอ, และ สำหรับ
บ๊อบ เซนต์ปีเตอร์, เพื่อเกษตรกรและ
|
In
March 2011, the ordinance passed unanimously in the town of
Sedgwick,
Maine. Three days later it was presented at Heather’s town
meeting
in Penobscot. “We spent a good while talking about whether to
give
$3,000 to our local library,” says Heather, “and I was sitting there
thinking
‘Whoa, this is a tough crowd.’ But then when the ordinance came up, it was
another unanimous vote. It was tremendous.” Four other towns in Maine followed
suit.
ในเดือนมีนาคม 2011, เมือง Sedgwick, รัฐเมน ได้พร้อมใจกันผ่านร่าง พรบ
นี้. สามวันต่อมา มีการมอบ พรบ ณ
ที่ประชุมเมืองของเฮเธอร์ ใน Penobscot. “พวกเราได้ใช้เวลามากพอสมควร
พูดคุยกันว่าจะบริจาคเงิน $3,000
ให้ห้องสมุดท้องถิ่นของเรา”, เฮเธอร์กล่าว, “และฉันก็นั่งอยู่ตรงนั้น คิดในใจ ‘หว่าว, นี่เป็นกลุ่มที่สู้ยาก’.
แต่พอถึงวาระ ร่าง พรบ, มันเป็นการลงคะแนนแบบเอกฉันท์. มันยิ่งใหญ่มาก”. เมืองอื่นๆ ในรัฐเมน พากันดำเนินตามทันที.
Since
then, says Heather, “We’ve heard from people in Tennessee, Texas, California, Virginia…
someone in New Zealand. Last year, Vermont passed a food sovereignty resolution
with similar language. Over in California they’re working in the direction of
an ordinance in Mendocino County. In Arizona they’re beginning to circulate
petitions. And this fall we heard that a town in Utah had passed the
ordinance.”
ตั้งแต่นั้นมา, เฮเธอร์กล่าว,
“เราได้ยินจากผู้คนใน เทนเนสซี, เท็กซัส, แคลิฟอร์เนีย, เวอร์จิเนีย...บางคนใน
นิวซีแลนด์. ปีกลาย, รัฐเวอร์มอนต์
ได้ผ่านมติอธิปไตยทางอาหารด้วยการใช้ภาษาแบบเดียวกัน. ในแคลิฟอร์เนีย
พวกเขากำลังทำงานในทิศทางเดียวกันกับ พรบ (ของเรา) ใน Mendocino
County. ในรัฐอริโซนา
พวกเขากำลังเวียนคำร้อง.
และในฤดูใบไม้ผลิผีนี้ เราได้ยินว่า เมืองหนึ่งในรัฐอูถ่าห์ ได้ผ่าน พรบ
นี้”. ในช่วงสองปี หลังจากชัยชนะใน Sedgwick, กว่าแปดเมืองในรัฐเมน ได้ผ่าน พรบ นี้.
As
of this writing, Maine’s State Department of Agriculture is challenging one of
the local ordinances by suing a dairy farmer. Community members are reaching
out to friends in surrounding counties and national food justice coalitions,
asking them to call in and urge the state to drop the suit. Meanwhile,
organizers from far and wide are watching closely, hoping to launch similar
initiatives in their own communities.
ในขณะที่เขียนบทความนี้,
กระทรงเกษตรของรัฐเมน ได้ท้าทาย พรบ ท้องถิ่นฉบับหนึ่ง ด้วยการฟ้องเกษตรโคมนมรายหนึ่ง. สมาชิกในชุมชน
พากันยื่นมือออกไปติดต่อเพื่อนในเขตโดยรอบ และ เครือข่ายอาหารเป็นธรรมแห่งชาติ,
ขอให้พวกเขาโทรศัพท์และเร่งเร้าให้รัฐยกเลิกการฟ้องร้อง. คดีนี้ได้ดึงดูดความสนใจระดับชาติ. ในขณะเดียวกัน,
นักจัดกิจกรรมจากถิ่นไกลและกว้างออกไป กำลังเฝ้ามองอย่างใกล้ชิด,
ด้วยหวังว่าจะทำแบบเดียวกันในชุมชนของตนเอง.
“Collective
black self-recovery takes place when we begin to renew our relationship to
the earth, when we remember the way of our ancestors… Living in modern
society, without a sense of history, it has been easy for folks to forget
that black people were first and foremost a people of the land, farmers.”
—
bell hooks
“การฟื้นฟูตนเองร่วมของชาวผิงดำ
เกิดขึ้นเมื่อพวกเราเริ่มฟื้นฟูความสัมพันธ์ของเราต่อพิภพโลก, เมื่อพวกเรารำลึกถึงวิถีของบรรพชนของเรา...การมีชีวิตอยู่ในยุคใหม่,
ที่ปราศจากความรู้สึกเชิงประวัติศาสตร์, มันง่ายที่คนธรรมดาสามัญจะลืมไปแล้วว่า
ชนผิวดำเป็นชนกลุ่มแรกและนำหน้าที่สุดของแผ่นดิน, เกษตรกร”.
-เบลล์ ฮุกส์
|
In
addition to town efforts like those in Maine, farmers and activists are
attempting to tackle the government’s one-size-fits-all approach to food safety
at the federal level. When U.S. legislators voted to increase FDA inspections
and reporting requirements for farms in 2010, over 150 food groups succeeded in
winning an amendment that provides some exemptions for small farmers.
“Foodborne illnesses don’t come from family agriculture,” says Senator Jon Tester
from Montana, who co-sponsored the amendment.[9]55
นอกเหนือจากความพยายามในระดับท้องถิ่น,
เกษตรกรและนักกิจกรรมกำลังพยายามต่อสู้กับแนวทางของรัฐบาล
ที่เป็นแบบขนาดเดียวใช้กับทั้งหมด
เพื่อดูแลความปลอดภัยของอาหารในระดับรัฐบาลกลาง.
เมื่อ ฝ่ายนิติบัญญัติ สหรัฐฯ
โหวตให้เพิ่มอำนาจการตรวจสอบและบังคับให้รายงานของ อย. ต่อฟาร์มในปี 2010, กลุ่มอาหารกว่า 150 กลุ่ม
ได้รับชัยชนะในการแก้ไขธรรมนูญ ที่ให้ยกเว้นเกษตรกรรายย่อย. “โรคภัยที่มากับอาหาร
ไม่ได้มาจากครอบครัวเกษตรกรรม”, สว จอน เทสเตอร์ จากมอนทานา กล่าว,
เขาเป็นผู้ร่วมสนับสนุนการแก้ไข.
Dismantling
the Plantation: Challenging Discrimination in the USDA
รื้อถอนสวนพาณิชย์
:
การท้าทายการเลือกปฏิบัติในกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ
In
1920, one in every seven farmers in the U.S. was African American. Together,
they owned nearly 15 million acres. By 1982, however, African American farmers
numbered one in 67, together owning only 3.1 million acres.[10]56 Racism,
violence, and massive migration from the rural South to the industrialized
North caused a steady decline in the number of Black farmers. Institutional
racism in the agricultural policies of the USDA was also to blame. Over the
years, studies by the U.S. Civil Rights Commission (CRC), as well as by the
USDA itself, have shown that the USDA actively discriminated against Black
farmers, earning it the nickname ‘the last plantation.’ A 1964 CRC study showed that the agency
unjustly denied African American farmers loans, disaster aid, and
representation on agricultural committees.[11]57
ในปี 1920, หนึ่งในเกษตรกรทุกๆ เจ็ดรายในสหรัฐฯ
เป็นชาวอเมริกันเชื้อสายอัฟริกัน.
รวมกันแล้ว, พวกเขาถือครองเกือบ 15 ล้านเอเคอร์. แต่ในปี 1982, เกษตรกรอเมริกันเชื้อสายอัฟริกันซึ่งเป็นอันดับหนึ่งในปี
1967, รวมกันแล้วถือครองเพียง 3.1 ล้านเอเคอร์. การกดขี่ทางเชื้อชาติ, ความรุนแรง,
และการอพยพมหาศาลจากชนบทใต้ สู่ เมืองอุตสาหกรรมเหนือ เป็นสาเหตุให้จำนวนเกษตรกรผิวดำลดลงเรื่อยๆ. การกีดกันชาติพันธุ์เชิงสถาบันในนโยบายเกษตรของกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ
ก็มีส่วนถูกตำหนิ. ในช่วงเวลานั้น,
รายงานการศึกษาโดย คณะกรรมาธิการสิทธิพลเรือน (CRC),
และโดยกระทรวงเกษตรเอง, ได้แสดงให้เห็นว่า กระทรวงเกษตรได้กีดกันเกษตรกรผิวดำอย่างแข็งขัน,
และได้รับฉายาว่าเป็น “สวนพาณิชย์สุดท้าย”.
การศึกษา CRC ปี 1964
ได้แสดงให้เห็นว่า หน่วยงานได้ปฏิเสธอย่างไม่เป็นธรรมต่อเกษตรกรอเมริกันเชื้อสายอัฟริกัน
โดยไม่ยอมให้เงินกู้, ความช่วยเหลือวิบัติภัย, และ มีตัวแทนในคณะกรรมการเกษตร.
But
organizations like the National Black Farmers Association, the Black Farmers
and Agriculturalists Association, the Land Loss Prevention Project, and the
Federation of Southern Cooperatives are challenging racism in agricultural
policy through legal action. In 1997-98, African American farmers filed
class-action lawsuits against the USDA for unjustly denying them loans. The
lawsuits were consolidated into one case, Pigford v. Glickman, which was
settled in 1999. But due to delays in filing claims, nearly 60,000 farmers and
their heirs were left out of this settlement. In November 2010, the U.S.
Congress passed the Claims Settlement Act (known as Pigford II) to compensate
Black farmers who were left out of the first settlement. President Obama signed
the bill a month later, making $1.25 billion available for claimants in the
form of cash payments and loan forgiveness.[12]58
แต่องค์กรเช่น
สมาคมเกษตรกรผิวดำแห่งชาติ, สมาคมชาวนาและเกษตรกรผิวดำ, โครงการสกัดกั้นการสูญเสียที่ดิน,
และ สหพันธ์สหกรณ์ภาคใต้
กำลังท้าทายการกีดกันชาติพันธุ์ในนโยบายเกษตรผ่านการดำเนินการทางกฎหมาย. ในปี 1997-98, เกษตรกรอเมริกันเชื้อสายอัฟริกัน
ได้ยื่นฟ้องข้อหาแบ่งชนชั้น ต่อ กระทรวงเกษตร โทษฐานปฏิเสธการให้เงินกู้อย่างไม่เป็นธรรม. ข้อฟ้องร้องต่างๆ ได้มัดรวมเป็นคดีเดียว, Pigford
v. Glickman, ซึ่งได้ตกลงกันเรียบร้อยในปี 1999.
แต่เพราะความล่าช้าในการยื่นคำร้องทวงสิทธิ์, เกษตรกรและทายาทเกือบ 60,000 อยู่นอกวงการตกลงความนี้.
ในพฤศจิกายน 2010, สภาคองเกรสสหรัฐฯ ได้ผ่าน พรบ
ข้อตกลงการทวงสิทธิ์ (รู้จักในนาม Pigford II)
เพื่อชดเชยเกษตรกรผิวดำที่ตกขอบในการตกลงครั้งแรก. ประธานาธิบดีโอบามาได้ลงนามใน พรบ
นี้หนึ่งเดือนหลังจากนั้น, ปล่อยเงิน $1.25
พันล้านสำหรับผู้มีสิทธิ์เรียกร้องในลักษณะจ่ายเป็นเงินสด หรือ ให้อภัยเงินกู้.
[1] 47.
Timothy Wise, “Identifying the Real Winners from U.S. Agricultural Policies,”
(Global Development and Environment Institute Working Paper No. 05-07, December
2005), 3.
[2] 48.
Meat raised in this way costs less on grocery store shelves, but only in
exchange for mistreated animals, a degraded environment, and meat that is less
healthy for consumers. Small farmers who don’t rely on grain but instead allow
their animals to
graze
on pasture – a healthier practice for animals, consumers, and the planet –
don’t reap the financial benefits of cheap industrial animal feed.
[3] 49.
Kate Raworth and Duncan Green, “Kicking down the Door: How Upcoming WTO Talks
Threaten Farmers in Poor Countries”,
(Oxfam
Briefing Paper #72, Oxfam International, April 2005),
4,
http://www.fao.org/righttofood/KC/downloads/vl/en/details/214560.htm.
[4] 50.
Institute for Agriculture and Trade Policy, “United States Dumping on World
Agricultural Markets: February 2004 Update,”
(Cancun
Series Paper #1, February 2004), 3,
www.iatp.org/files/US_Dumping_on_World_Agricultural_Markets_Febru.pdf.
[5] 51.
“Jim Hightower” in “One Thing To Do about Food: A Forum,” Alice Waters, ed.,
The Nation, September 11, 2006, 21.
[6] 52.
The Humane Society of the United States, “Battery Cages,” July 14, 2010,
www.humanesociety.org/issues/confinement_farm/facts/battery_cages.html.
[7] 53.
California Office of the Secretary of State, “Prop 2: Standards for Confining
Farm Animals,” California General
Election
Official Voter Information Guide, November 4, 2008,
http://voterguide.sos.ca.gov/past/2008/general/title-sum/prop2-titlesum.
htm.
[8] 54.
Tracie Cone, “Lawmakers Rally around Animal Welfare Issues,” Associated Press,
May 29, 2009, http://www.nctimes.
com/news/state-and-regional/article_71d7def6-5874-5c09-93c0-7e0643eb904b.html.
[9] 55.
Helena Bottemiller, “Tester Offers Hope on S. 510, Help for Small Farms,” Food
Safety News, September 27, 2010, accessed February 28, 2012,
http://www.foodsafetynews.com/2010/09/tester-offers-positive-outlook-on-s510-amendment/.
[10] 56.
Public Broadcasting System, “Challenging the USDA (1980s and 1990s),” Black
Farming and Land Loss: A History,
http://www.pbs.org/itvs/homecoming/history7.html.
[11] 57.
Public Broadcasting System, “The Civil Rights Years (1954-1968),” Black Farming
and Land Loss: A History, http://www.pbs.org/itvs/homecoming/history5.html.
[12] 58.
The Black Farmers and Agriculturalists Association filed an appeal because the
benefits paid out in the recent settlement are smaller than those of the first and
require those who take part to waive their right to appeal. Sara Patterson,
“Black Farmers Urged to ‘Wait’ on Settlement: group president Asks for
timeout,” The Commercial Appeal online, December 31, 2011,
http://www.commercialappeal.com/news/2011/dec/31/black-farmers-urged-to-wait/
and Jody Callahan, “Farmers Rally against Settlement over Discrimination:
Oppose provision to waive right to appeal,” The Commercial Appeal online,
January 3, 2012, http://www.commercialappeal.com/news/2012/jan/03/farmersrally-against-settlement-over/.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น