วันอังคารที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2556

204. ตำราการปลดแอกอาณานิคมอาหารร่วมของเรา-๔


4. Bringing it Home: Creating and Reviving Local Food Systems
4. นำกลับบ้าน: สรรค์สร้างและฟื้นฟูระบบอาหารท้องถิ่น

“We’re reaching a place in which there’s ever-wider agreement that poetry gives us as much information about our relationship with the universe as telescopes do, and that those two strains can live together and complement one another harmoniously.”
— John Mohawk, Iroquois, professor and author[1]59
“เรากำลังเข้าใกล้ที่ๆ มีความเห็นพ้องกันอย่างกว้างขวางว่า บทกลอนให้ข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเรากับจักรวาลแก่เราได้มากพอๆ กับกล้องส่องทางไกล, และว่าเจ้าสองสิ่งนั้น สามารถอยู่ร่วมกันได้และเกื้อกูลต่อกันอย่างกลมกลืนได้”.
-จอห์น โมฮอว์ก, อิโรค๊อยส์, ศาสตราจารย์และผู้เขียน

In Western Massachusetts, on a sunny February day, a farmers’ market is taking place in an elementary school entryway. The smell is a mix of apple cider, homemade donuts, and gymnasium. Long rows of tables are heavy with piles of root vegetables, hardy apples, fresh pies, pasture-raised lamb, honey wine, and handmade brooms. There is enough diversity that, if determined and creative, one could make it through an admirable portion of a long northern winter.
ในแมสซัสชูแซทส์ตะวันตก, ในวันแดดจ้าของเดือนกุมภาพันธ์, มีตลาดนัดเกษตรกรในทางข้าวของโรงเรียนประถมแห่งหนึ่ง.  อบอวลไปด้วยกลิ่นผสมผสานของน้ำส้มแอปเปิล, โดนัทบ้าน, และกายกรรม.  โต๊ะเรียงแถวยาว แน่นขน้ดไปด้วยกองผักชนิดราก, แอปเปิลที่แข็งแรง, พายสดๆ, เนื้อแกะทุ่ง, ไวน์น้ำผึ้ง, และ ไม้กวาดทำด้วยมือ.  มีความหลากหลายมากพอที่, หากมีความตั้งใจจริงและสร้างสรรค์, ใครก็สามารถจะมีเดินเที่ยวชมได้นานพอสมควรในอากาศหน้าหนาวเหนืออันยาวนาน.
In the last few years, winter farmers’ markets have been turning up everywhere, tucked into corners of community centers, churches, and school auditoriums. Farmers in cold climes are pushing the limits of their seasons, growing vegetables in greenhouses and building giant root cellars to make harvests last. And communities are aligning their appetites with their climates, relinquishing mealy winter tomatoes in favor of the joys of parsnips and cabbage.
ในช่วงเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมา, ตลาดนัดเกษตรกรฤดูหนาว ได้โผล่ขึ้นมาทุกแห่งหน, สอดแทรกอยู่ในมุมของศูนย์ชุมชน, โบสถ์, และห้องประชุมใหญ่ของโรงเรียน.  เกษตรกรในถิ่นหนาวกำลังดันข้อจำกัดของฤดูกาล, ด้วยการปลูกผักในเรือนกระจก และ สร้างห้องใต้ดินขนาดยักษ์เพื่อรักษาผลเก็บเกี่ยวไว้นานๆ.  และชุมชนก็กำลังปรับความอยากอาหารของพวกเขาให้เข้ากับอากาศ, สละมะเขือเทศฤดูหนาวประจำมื้อหันไปชื่นชอบพาร์สนิปส์ และ ผักกะหล่ำ.
In today’s globalized system, the number of miles a typical piece of food travels before it gets to its final point of sale averages 1,000 to 1,500, depending on which of the many studies one is reading. A small bag of trail mix we recently purchased listed 11 countries as far-flung as Greece, Chile, India, Vietnam, and Tanzania as possible sources for its three ingredients of almonds, cashews, and raisins.
ในระบบโลกาภิวัตน์ทุกวันนี้, อาหารทั่วไป ต้องเดินทางไกลเฉลี่ย 1,000 - 1,500 ไมล์ ก่อนที่จะถึงจุดขาย, ขึ้นกับว่าคุณกำลังอ่านรายงานฉบับไหน.  ในถุงเล็กๆ ของขนมระหว่างทางที่เราซื้อเมื่อเร็วๆ นี้ ระบุ 11 ประเทศ ที่อยู่ไกลมากตั้งแต่ กรีซ, ชิลี, อินเดีย, เวียดนาม, และ แทนซาเนีย ว่าเป็นแหล่งสำหรับส่วนประกอบสามอย่าง คือ อัลมอนด์, มะม่วงหิมพานต์, และลูกเกด.
Food literally transverses the globe, creating a major disconnect between us and our source of survival, and creating plenty of opportunities for middlepeople to make a profit along the way. For every dollar spent on food in the U.S., about 84 cents go to middlepeople, while only 16 cents go to farmers.[2]60
อาหารเคลื่อนที่ข้ามโลก, สร้างความแปลกแยกสำคัญระหว่างพวกเราและแหล่งธำรงความอยู่รอดของพวกเรา, และสร้างโอกาสมากมายกับคนกลาง ให้ทำกำไรระหว่างทาง.  ในทุกๆ ดอลลาร์ที่ใช้ซื้ออาหารในสหรัฐฯ, เกือบ 84 เซ็นต์ เข้ากระเป๋าคนกลาง, ในขณะที่เพียง 16 เซ็นต์เป็นของเกษตรกร.
Nearly one-fifth of oil and gas consumption in the U.S. is used to power our industrialized food system.[3]61 This doesn’t just include fuel for shipping food, but also for growing it (tractors, pesticides, and fertilizers), processing it (factories, refrigeration, packaging materials), and distributing it (warehouses, stores, and restaurants). When we stand in front of our open refrigerators peering in for a snack, the cold air streaming out the door is the last hurrah on the long, energy-intensive journey our food has made. Between 7.3 and 10 units of fossil-fuel energy are required for each unit of food energy that we consume.[4]62 In our current food system, far more energy is used up getting that small bag of trail mix into our hands than we gain from eating it.
เกือบ 1/5 ของน้ำมันและแก๊สที่ใช้ในสหรัฐฯ ใช้เพื่อเดินเครื่องระบบอาหารอุตสาหกรรมของเรา.  อันนี้ไม่ได้เพียงรวมเชื้อเพลิงสำหรับขนส่งอาหาร, แต่ยังเพื่อการเพาะปลูก (แทรกเตอร์, ยาฆ่าแมลง, และปุ๋ย), แปรรูป (โรงงาน, ตู้เย็น, วัสดุบรรจุภัณฑ์), และ กระจาย (โกดัง, ห้องเก็บของ, และภัตตาคาร). เมื่อเรายืนอยู่หน้าตู้เย็นที่เปิดกว้าง มองหาของว่างกิน, อากาศเย็นที่ไหลรินออกมา เป็นเสียงร้องไชโยสุดท้ายของอาหารหลังจากเดินทางแสนไกลและใช้พลังงานอย่างเข้มข้น.  ในหนึ่งหน่วยของพลังงานจากอาหารที่เราบริโภค ต้องใช้ 7.3-10 หน่วยของพลังงานซากดึกดำบรรพ์.   ในระบบอาหารปัจจุบันของเรา, การทำให้ถุงเล็กๆ ของขนมปนเประหว่างทางนั้นมาถึงมือของเรา ต้องใช้พลังงานมากล้นกว่าพลังงานที่เราได้จากการกินมัน.
 Tory Field, In Santa Fe, New Mexico, one of a growing number of winter farmers’ markets.
“My whole life has been spent waiting for an epiphany, a manifestation of God’s presence, the kind of transcendent, magical experience that lets you see your place in the big picture. And that is what I had with my first compost heap.”
— Bette Midler, actor, singer, and comedian
“ตลอดชีวิตของฉันได้ใช้ไปกับการรอคอยการได้อยู่ต่อหน้าพระเจ้า, ประสบการณ์ที่มหัศจรรย์ ที่ยอมให้คุณมองเห็นที่ของคุณในภาพใหญ่.  และนั่นเป็นสิ่งที่ฉันพบในกองปุ๋ยหมักกองแรกของฉัน”.
-เบ็ต มิดเลอร์, นักแสดง, นักร้อง, และตัวตลก
Some advocates are strict in their commitment to local sourcing, envisioning an entirely local diet. Others believe that if something can’t be grown in a region and is imported, the price should more closely reflect the true costs, including the environmental impacts of transporting the far-flung food.
ผู้สนับสนุนบางคนเข้มงวดกับปณิธานต่อแหล่งท้องถิ่น, มองเห็นแต่การใช้อาหารท้องถิ่นหมด.  คนอื่นๆ เชื่อว่า หากบางอย่างปลูกไม่ได้ในภูมิภาคและต้องสั่งเข้า, ราคาก็ควรสะท้อนใกล้ต้นทุนที่แท้จริง, รวมทั้งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการขนส่งอาหารจากทางไกล.
Taken alone, ‘local’ or ‘organic’ doesn’t necessarily equate ‘sustainable.’ Local foods can be grown with heavy pesticides or without respecting workers’ rights. And today we have the Walmartization of organics, replicating some of the same destructive practices of industrial agriculture. An increasing amount of organic produce is grown on industrial-sized farms relying on harmful practices like monocropping and poor water and soil management, and more of it is being shipped around the globe. As organic food has become a trendy, lucrative market, big companies like Kellogg, M&M Mars, and Cargill have gotten in on the gold rush, buying up smaller organic companies and starting organic lines. A deluge of ‘green-washing,’ marketing with intentionally vague labels such as ‘natural’ or ‘naturally raised’ and drawings of idyllic country scenes, is further manipulating and misinforming consumers.
ถ้ามองแยกเดี่ยว, “ท้องถิ่น” หรือ “อินทรีย์” ไม่จำเป็นต้องเท่ากับ “ยั่งยืน”.  อาหารท้องถิ่น สามารถปลูกด้วยการใช้ยาฆ่าแมลงอย่างหนักหน่วง หรือ ปราศจากการเคารพสิทธิ์ของคนงาน.  และทุกวันนี้ เราก็มี การแปรรูปอินทรีย์เป็นวอลล์มาร์ท, ซึ่งเป็นการก๊อปปี้วิถีปฏิบัติชนิดทำลายล้างของอุตสาหกรรมเกษตร.  ผลิตผลอินทรีย์ กำลังถูกผลิตในฟาร์มขนาดอุตสาหกรรมมากยิ่งขึ้น ซึ่งพึ่งพาวิธีการอันตรายเช่น การปลูกพืชเชิงเดี่ยว และ การจัดการน้ำและดินที่แย่, และ ปริมาณมากขึ้นของผลผลิตนี้ ก็ถูกส่งออกไปขายทั่วโลก.  ในขณะที่อาหารอินทรีย์กลายเป็นแฟชั่นใหม่, การตลาดที่ทำเงินได้มาก, บริษัทใหญ่ๆ เช่น Kellogg, M&M Mars, และ Cargill ได้เข้าชิงขุดทอง, กว้านซื้อบริษัทอินทรีย์เล็กๆ และเริ่มวางสายอินทรีย์.  การทะลักของ “ทาเขียว”, การตลาดที่จงใจติดฉลากคลุมเครือ เช่น “ธรรมชาติ” หรือ “เลี้ยงอย่างธรรมชาติ” และ ภาพวาดหวานแว๋วของชีวิตชนบท, ได้ถูกปรุงแต่งบิดเบือน และให้ข้อมูลผิดๆ กับผู้บริโภค.

“Americans import Danish sugar cookies, and Danes import American sugar cookies. Exchanging recipes would surely be more efficient.”
— Herman Daly, economist
“ชาวอเมริกันสั่งเข้าคุกกี้น้ำตาลจากเดนมาร์ก, และชาวเดนนิชก็สั่งคุกกี้น้ำตาลอเมริกัน.  การแลกเปลี่ยนสูตรจะมีประสิทธิผลมากกว่าอย่างแน่นอน”.
-เฮอร์แมน ดาลีย์, นักเศรษฐศาสตร์

 Lesley Freeman, Angelic Organics
Angelic Organics, an organic and biodynamic CSA with more than 1,200 members outside of Chicago. Their learning center brings hundreds of people to the farm each year to learn skills and connect with their food system.
Angelic Organics, เป็นระบบเกษตรที่ชุมชนสนับสนุน (CSA) ที่เป็นอินทรีย์ และ biodynamic (พลวัตชีวนะ) มีสมาชิกกว่า 1,200 คน อยู่นอกชิคาโก.  ศูนย์เรียนรู้ของพวกเขา มีคนหลายร้อยแต่ละปี เข้ามาเรียนรู้ทักษะและเชื่อมต่อกับระบบอาหารของพวกเขา.

Shovels Ready: Building Local Food Systems
พลั่วพร้อม: การสร้างระบบอาหารท้องถิ่น

At its most basic, sustainability connotes a system capable of continuing indefinitely without compromising future life (including trees, insects, humans, soil, indeed all life).
ในระดับพื้นฐานที่สุด, ความยั่งยืนหมายถึงระบบที่สามารถยืนยงเจริญงอกงามอย่างไม่มีที่สิ้นสุดโดยปราศจากการประนีประนอมกับชีวิตอนาคต (รวมทั้ง ต้นไม้, แมลง, คน, ดิน, ที่จริงชีวิตทั้งมวล).
Sustainability is also sometimes described as a three-legged stool: In order to be balanced, it must sit equally on sturdy legs of economics, environment, and equity. A food system contributes to community sustainability if it is economically viable for small farmers; nourishing of the earth and elements; and socially equitable for all involved, including farm and food workers and consumers.
ความยั่งยืนบางครั้งยังถูกบรรยายว่าเป็นม้านั่งสามขา: เพื่อให้สมดุล, จะต้องนั่งลงน้ำหนักให้เท่าๆ กันบนทั้งสามขาของเศรษฐกิจ, สิ่งแวดล้อม, และ ความเสมอภาค.  ระบบอาหารทำให้ชุมชนยั่งยืน หากมันใช้การได้ทางเศรษฐกิจสำหรับชาวนารายย่อย, หล่อเลี้ยงโลกและองค์ประกอบต่างๆ, และมีความเสมอภาคทางสังคมสำหรับทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วม, รวมทั้งฟาร์มและคนงานและผู้บริโภคอาหาร.
“People are realizing that we can’t rely on the industrial food system much longer. The awakening that’s happening is our greatest opportunity,” says New Mexican farmer and activist Miguel Santistevan. This awakening is sparking the creation and revival of local, holistic systems that nourish communities and the earth. The examples are virtually endless. Here are just a few:
“คนเริ่มตระหนักว่า เราไม่สามารถพึ่งระบบอาหารอุตสาหกรรมอีกต่อไป.  การตื่นตัวนี้ เป็นโอกาสที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของพวกเรา”, เกษตรกรนิวเม็กซิโกและนักกิจกรรม มิเกล ซานติสตีวาน.  การตื่นตัวนี้ได้จุดประกายความคิดสร้างสรรค์และฟื้นฟูระบบองค์รวมและท้องถิ่น ที่หล่อเลี้ยงชุมชนและพิภพโลก.  ตัวอย่างมีไม่สิ้นสุด. ต่อไปนี้เป็นเพียงไม่กี่ตัวอย่าง.
• Community Supported Agriculture, or CSAs, create a direct partnership between a farm and members of the community. Members pay farmers at the beginning of the season, providing them with cash needed to purchase seeds and equipment. In return, each week they receive a share of the harvest, whatever is growing at the time. Members commit to sharing both the benefits and risks of each season. If there is a bumper crop of watermelon, everyone enjoys the abundance. If disease wipes out the tomatoes, share-members ride that out as well. This commitment from members gives farmers more protection from both the whims of nature and price fluctuations of the market. By cutting out the middlepeople, members have a more direct relationship with where their food comes from and receive a better price for local food.
-เกษตรสนับสนุนโดยชุมชน (CSA), สร้างภาคีสายตรงระหว่างฟาร์มและสมาชิกของชุมชน.  สมาชิกจ่ายเกษตรกรในตอนเริ่มต้นของฤดูกาล, ให้เงินสดแก่พวกเขาสำหรับซื้อเมล็ดและอุปกรณ์.  ในทางกลับกัน, ทุกๆ สัปดาห์ พวกเขาจะได้รับส่วนแบ่งของการเก็บเกี่ยว, ไม่ว่าจะปลูกอะไรในเวลานั้น.  สมาชิกปวารณาตัวที่จะแบ่งปันทั้งผลประโยชน์และความเสี่ยงของแต่ละฤดูกาล.  หากปีใดแตงโมงอกงามดี, ทุกคนก็ได้ลาภปากไปด้วย.  หากเชื้อโรคกินมะเขือเทศเกลี้ยง, สมาชิกก็มีส่วนช่วยแบ่งเบาเคราะห์นั้นด้วย.  การปวารณาตัวเช่นนี้จากสมาชิก เป็นการปกป้องเกษตรกรจากทั้งความไม่แน่นอนของธรรมชาติ และราคาผันผวนในตลาด.  ด้วยการตัดพ่อค้าคนกลางออก, สมาชิกมีความสัมพันธ์โดยตรงกันที่มาของอาหาร และ ได้ราคาที่ดีกว่าสำหรับอาหารท้องถิ่น.
 Courtesy of Berkeley Youth Alternatives, Rooted in Community promotes solidarity suppers, like this one hosted by Berkeley Youth Alternatives using food from their garden. RIC suggests, “In solidarity with everyone around the country fighting for food justice, share or host a meal with your friends, family, and community members with the following guidelines: Food items gathered from 5 miles or less; Food prepared and cooked together by group; Calling mindfulness and thanks to the ground that nourished the food, the hands that nurtured and prepared the food, and the nutrients that the food will provide for our bodies.”
RIC ส่งเสริมความสามัคคีในมื้อเย็น, เช่น รายนี้ กลุ่มทางเลือกเยาวชนแห่งเบอร์กลีย์ (Berkeley Youth Alternatives) ใช้อาหารจากสวนของพวกเขา.  RIC แนะว่า, “ด้วยความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันกับทุกคนทั่วประเทศที่ต่อสู้เพื่ออาหารเป็นธรรม, การแบ่งปันหรือเป็นเจ้าภาพมื้อหนึ่งกับเพื่อน, ครอบครัว, และสมาชิกชุมชน ด้วยแนวทางดังต่อไปนี้: วัตถุดิบอาหารมาจากที่ไม่ไกลเกิน 5 ไมล์; กลุ่มช่วยกันเตรียมและปรุงอาหาร; เรียกคืนสติและเอ่ยคำขอบคุณต่อผืนดินที่หล่อเลี้ยงอาหาร, มือที่เลี้ยงดูและตระเตรียมอาหาร, และสารอาหารที่จะบำรุงร่างกายของเรา”.

Started in Japan, CSAs are catching on all over the U.S. and the world. Since its introduction in the U.S. in the l980s, the model has expanded to over 12,000 farms.[5]63 In some cases, members pick up their share at the farm itself, and in others, farmers drop off boxes of produce at distribution sites, making CSAs possible in both rural and urban areas.
เริ่มต้นในญี่ปุ่น, CSA กำลังแพร่หลายไปทั่วสหรัฐฯ และทั่วโลก.  ตั้งแต่ถูกนำเข้ามาในสหรัฐฯ ในทศวรรษ 1980s, ต้นแบบนี้ได้แพร่กระจายไปกว่า 12,000 ฟาร์ม.  ในบางกรณี, สมาชิกเข้ามารับส่วนแบ่งของจนจากฟาร์ม, และในกรณีอื่นๆ, เกษตรกรจะขนกล่องผลผลิตไปที่จุดกระจายของ, ทำให้ CSA เป็นไปได้ทั้งในชนบทและในเมือง.
The CSA model is now being used not only for vegetables but also for many other goods like grains, meat, dairy, fish, medicinal herbs, pies, and spun wool.
ต้นแบบ CSA กำลังถูกใช้กับไม่เพียงผัก แต่รวมถึงสินค้าอื่นๆ เช่น ธัญพืช, เนื้อสัตว์, นมวัว, ปลา, สมุนไพร, พาย และ ไหมพรมขนแกะ.
• Farmers’ markets are also experiencing a meteoric rise. Between 1994 and 2011, farmers’ markets registered with the U.S. Department of Agriculture increased 400 percent. They now number over 7,000.[6]64 Markets are also vibrant community gathering spots, places to meet, play, connect, and unwind. Food from a farmers’ market or CSA typically travels between 10 and 100 miles, unlike the long distances traveled by their grocery-store counterparts.
-ตลาดนัดเกษตรกรกำลังรุ่งโรจน์.  ระหว่างปี 1994 และ 2011, ตลาดนัดเกษตรกรที่ได้ลงทะเบียนกับกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น 400%.  ตอนนี้ มีกว่า 7,000 แห่ง.  ตลาดก็ยังเป็นจุดชุมชนมาชุมนุมกันอย่างมีชีวิตชีวา, ที่ๆ พบปะกัน, เล่น, ติดต่อ, และผ่อนคลาย.  อาหารจากตลาดนัดเกษตรกร หรือ CSA ปกติเป็นการเดินทางระหว่าง 10-100 ไมล์, ไม่เหมือนกับการเดินทางไกลๆ โดยพวกร้านขายของชำ.
 Tory Field, Harvesting greens at Next Barn Over Farm in Hadley, Massachusetts. CSA members visit the farm weekly from June to October to pick up their share of the harvest.
การเก็บเกี่ยวที่ Next Barn Over Farm ในเมือง Hadley, แมสซัสชูเซทส์.  สมาชิก CSA เยี่ยมฟาร์มทุกสัปดาห์ จากเดือนมิถุนายน ถึง ตุลาคม เพื่อเอาส่วนแบ่งจากการเก็บเกี่ยว.

• Farmers are growing food for public institutions like schools, universities, hospitals, and prisons. In one instance, the Berkeley Unified School District did away with its tater tots and canned peaches through a policy of increasing the amount of local, organic food it purchases.
-เกษตรกรกำลังปลูกอาหารสำหรับสถาบันสาธารณะ เช่น โรงเรียน, มหาวิทยาลัย, โรงพยาบาล และ เรือนจำ.  ในกรณีหนึ่ง, สำนักงานเขตโรงเรียนของเบอร์กลีย์ ได้ถอนมันฝรั่งแช่เย็น และ พีชกระป๋อง ด้วยนโยบายเพิ่มการซื้ออาหารอินทรีย์ท้องถิ่น.
“We’ve gone from 95 percent processed foods to 95 percent made from scratch,” says chef Ann Cooper.[7]65
“เราได้เปลี่ยนจากอาหารแปรรูป 95% เป็นอาหารทำเอง 95%”, เชฟ แอน คูเปอร์ กล่าว. 
To help allay the higher food costs associated with this program, the school system has gotten bulk discounts from farmers and processors, sources a significant amount of fresh produce from school-sponsored gardens, and uses federal reimbursements from the USDA as well as sales to students. There are now 2,352 farm-to-school programs operating in 50 states.[8]66
เพื่อช่วยบรรเทาปัญหาจากต้นทุนอาหารที่เพิ่มสูงขึ้นในโปรแกมนี้, ระบบของโรงเรียนได้รับการลดราคาเมื่อซื้อในปริมาณมากจากเกษตรกรและผู้แปรรูป, ได้ผลผลิตสดจากสวนที่โรงเรียนให้การสนับสนุน, และใช้วิธีเบิกคืนรัฐบาลกลางจากกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ รวมทั้งการขายให้นักเรียน.  ตอนนี้มีฟาร์ม 2,352 แห่งที่ขายตรงให้โรงเรียนใน 50 รัฐ.
• Real Food Challenge is working to shift $1 billion worth of college and university food purchases towards local, sustainable, and fair sources, and away from industrial agriculture. The nationwide project supports student organizers as they develop campus-wide campaigns to get their schools to commit to purchasing 20% “real food” by 2020. They host leadership trainings and events, provide materials and other organizing support, and have developed a Real Food Calculator to help track institutional food purchasing. They define real food as “food which truly nourishes producers, consumers, communities and the earth. It is a food system – from seed to plate – that fundamentally respects human dignity and health, animal welfare, social justice and environmental sustainability.”
- Real Food Challenge กำลังทำงานเพื่อขยับงบมูลค่า $1 พันล้านสำหรับการซื้ออาหารวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย ให้ไปทางท้องถิ่น, ยั่งยืน และแหล่งผลิตที่เป็นธรรม, และไปพ้นจากเกษตรอุตสาหกรรม.  โครงการทั่วประเทศสนับสนุนนักศึกษาที่เป็นนักจัดกระบวน ที่ทำการรณรงค์ในวิทยาเขต เพื่อให้โรงเรียนสัญญาว่าจะซื้อ “อาหารจริง” 20% ภายในปี 2020.   พวกเขาเป็นเจ้าภาพจัดการอบรมภาวะผู้นำและกิจกรรมต่างๆ, แจกเอกสารและสิ่งเกื้อกูลสำหรับการจัดกระบวน, และได้พัฒนา วิธีคำนวณอาหารจริง เพื่อใช้ติดตามการซื้ออาหารสถาบัน.  พวกเขาให้นิยามคำว่า อาหารจริง เป็น อาหารที่หล่อเลี้ยงผู้ผลิต, ผู้บริโภค, ชุมชน และ พิภพโลกอย่างแท้จริง.  มันเป็นระบบอาหาร—จากเมล็ดถึงจาน—ที่โดยรากฐาน เคารพศักดิ์ศรีและสุขภาพของมนุษย์, สวัสดิการของสัตว์, ความเป็นธรรมในสังคม และ ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม”.
• Most people have heard the sad joke that if your illness doesn’t kill you when you get admitted into the hospital, the food will. Fletcher Allen Health Care in Vermont and Cancer Treatment Centers of America in Illinois and Oklahoma are just a few of the hospitals around the country that are part of a growing network of farm-to-hospital programs.[9]67 Three hundred and seventy five hospitals in the U.S. have signed a pledge, organized by the group Health Care without Harm, to offer more fruits and vegetables, as well as locally grown, fair-trade, and pesticide-and hormone-free food.[10]68 Some hospitals also host onsite farmers’ markets, plant gardens, and compost food scraps.
-คนส่วนใหญ่ได้ยินขำขันที่น่าเศร้าที่ว่า หากความป่วยไม่ฆ่าคุณ เมื่อคุณเข้าไปรักษาตัวในโรงพยาบาล, อาหารจะฆ่าคุณเอง.  สถานพยาบาล Fletcher Allen Health Care ในเวอร์มอนต์ และ ศูนย์รักษามะเร็งแห่งอเมริกา ในรัฐอิลินอยส์ และ รัฐโอกลาโฮมา เป็นเพียงไม่กี่โรงพยาบาลในประเทศที่เป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายที่กำลังขยายตัวของโปรแกม ฟาร์มสู่โรงพยาบาล.   โรงพยาบาล 375 แห่งในสหรัฐฯ ได้ลงนามในสัญญา, ที่จัดโดยกลุ่ม รักษาสุขภาพโดยไม่มีอันตราย (Health Care without Harm), ว่าจะเพิ่มผลไม้และผัก, ตลอดจนอาหารที่ปลูกในท้องถิ่น, ค้าขายเป็นธรรม, ปราศจากยาฆ่าแมลงและฮอร์โมน.  บางโรงพยาบาลยังจัดพื้นที่ให้มีตลาดนัดเกษตรกร, พืชสวน, และปุ๋ยหมัก.
“To forget how to dig the earth and to tend the soil is to forget ourselves.”
— Mahatma Gandhi
“การลืมวิธีขุดดินและดูแลดิน เป็นการลืมตัวเอง”
-มหาตมะ คานธี
• Farmers are continuing the timehonored practice of banding together through marketing cooperatives. Selling everything from cheese to cantaloupe, co-ops give small producers more bargaining power in the marketplace. They allow producers to pay discounted prices by buying in bulk; lower their transportation and distribution costs by sharing resources such as delivery trucks; earn a higher profit by eliminating some of the middlepeople; and access federal tax deductions. In 2008, the USDA reported that there were over 2,400 farmer, ranch, and fishery co-ops in the U.S., with a combined business volume of $191.9 billion.[11]69 One small-scale example is Moo Milk in Maine. In 2010, 10 organic dairy farmers who had been dropped by the giant corporation Hood created the co-op, through which farmers now keep up to 90% of the profits.
-เกษตรกรกำลังปฏิบัติตัวตามวิธีเก่าของการผนึกกำลังเข้าด้วยกันเป็นสหกรณ์.  การขายทุกอย่างตั้งแต่เนยแข็ง ถึง แคนตาลูป, สหกรณ์ให้ผู้ผลิตรายย่อยมีกำลังต่อรองสูงขึ้นในตลาด.  แล้วก็ยอมให้ผู้ผลิตได้ราคาลดเมื่อซื้อปริมาณมาก, ลดต้นทุนขนส่งและการกระจายสินค้าด้วยการแบ่งปันทรัพยากร เช่น รถบรรทุกขนส่ง, ได้กำไรสูงขึ้นด้วยการกำจัดคนกลาง, และเข้าถึงการลดภาษีต่อรัฐบาลกลาง.  ในปี 2008, กระทรวงเกษตร ได้รายงานว่า มีสหกรณ์เกษตรกร, เจ้าของปศุสัตว์ และ ประมงในสหรัฐฯ 2,400 แห่ง, ซึ่งมีมูลค่าธุรกิจรวม $191.9 พันล้าน.  ตัวอย่างเล็กๆ หนึ่ง คือ นมมูในรัฐเมน.  ในปี 2010, เกษตรกรนมโคอินทรีย์ 10 ราย ที่ถูกตัดออกจาก บรรษัทยักษ์ฮู๊ด ได้ตั้งสหกรณ์เอง, และเกษตรกรตอนนี้ ก็เก็บผลกำไร 90%.
 Courtesy of Cape Cod Commercial Fishermen’s Association, Eric Hesse unloads live cod for delivery to Boston’s Chinatown. Eric’s fishing operation is part of a Community Supported Fishery on Cape Cod, in which community members can buy a subscription share to purchase seafood that is caught in local waters by local fishermen and delivered fresh to a pick-up location.
อิริค เฮสเซ กำลังถ่ายปลาค็อดเป็นๆ เพื่อส่งไปยังย่านคนจีนในบอสตัน.  การประมงของอิริคเป็นส่วนหนึ่งของ โปรแกมการประมงปลาแคปค็อดที่สนับสนุนโดยชุมชน, ที่สมาชิกชุมชนซื้อหุ้นเพื่อซื้ออาหารทะเลที่จับในน่านน้ำท้องถิ่นโดบชาวประมงท้องถิ่นและส่งไปตามจุดที่ลูกค้ามารับไปได้.
• Community gardens are sprouting up everywhere, with an estimated 18,000 in the U.S. and Canada.[12]70 In most cases, members rent a small plot for a modest fee. These patchwork-quilt gardens, primarily in urban areas, provide a local food source, build community relationships, beautify the neighborhood, and give more people the opportunity to eat homegrown food.
-สวนชุมชนกำลังงอกเงยทุกแห่งหน, ประเมินว่ามี 18,000 แห่งในสหรัฐฯ และ แคนาดา.  ในกรณีส่วนใหญ่, สมาชิกเช่าที่ดินแปลงเล็กๆ ในราคาพอควร.  สวนแบบนี้, ส่วนมากในเมือง, เป็นแหล่งอาหารท้องถิ่น, สร้างความสัมพันธ์ชุมชน, ประดับประดาละแวกบ้าน, และให้คนมีโอกาสกินอาหารปลูกตามบ้านมากขึ้น.
• Educational gardening projects give children and teens the opportunity to get their hands dirty and learn about growing food. In East Oakland, California, youth with Oakland Food Connection grew over 3,000 pounds of produce in school-based gardens in one year. Now they’re branching out to create value-added products, like sauerkraut and jellies, and to run a catering business. On the other side of the country, in Orange, Massachusetts, Seeds of Solidarity works with rural and working-class youth to tend gardens at schools, a homeless shelter, and an elder care facility. Deborah Habib, director of Seeds of Solidarity, says, “Every person is capable of helping to feed their community. To me, it’s really about reclaiming the hearthands-land connection, so we can each participate, not only as consumers, but really participate by cultivating the earth and cultivating foods.”
-โครงการสวนเพื่อการศึกษา ให้เด็กและวัยรุ่นมีโอกาสทำงานกับดินและเรียนรู้การปลูกอาหาร.  ในอีสต์โอ๊คแลนด์, แคลิฟอร์เนีย, เยาวชนร่วมกัน กลุ่ม Oakland Food Connection ปลูกผลิตผลกว่า 3,000 ปอนด์ในสวนของโรงเรียนในหนึ่งปี.  ตอนนี้พวกเขากำลังแผ่สาขาออกไปสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม, เช่น ผักดอง sauerkraut และ เยลลี, และประกอบธุรกิจการจัดส่งอาหาร.  ในอีกฟากหนึ่งของประเทศ, ในเมืองออเรนจ์, แมสซัสชูเซทส์, เมล็ดแห่งความสามัคคี (Seeds of Solidarity) ทำงานกับเยาวชนชนบทชนชั้นแรงงาน ในการดูแลสวนที่โรงเรียน, บ้านพักคนไร้ที่อยู่, และ เครื่องอำนวยความสะดวกแก่ผู้สูงวัย.  เดบอราห์ ฮาบิบ, ผอ ของเมล็ดฯ, กล่าวว่า, “ทุกคนมีความสามารถในการช่วยเลี้ยงดูชุมชนของตนเอง.  สำหรับฉัน, มันเป็นการทวงคืนความเชื่อมโยงระหว่างหัวใจและแผ่นดิน, ดังนั้น พวกเราแต่ละคนมีส่วนร่วมได้, ไม่ใช่แค่เป็นผู้บริโภค, แต่มีส่วนร่วมจริงๆ ในการเพาะปลูกดินและเพาะปลูกอาหาร”.
Courtesy of Detroit Black Community Food Security Network.
Setting up bee hives at D-Town Farm in Detroit. The Detroit Black Community Food Security Network runs D-Town Farm, teaches gardening skills, and educates about the food system. They also work on policy change and dismantling racism to build food security in Detroit’s black community.
การตั้งรังผึ้งที่ ฟาร์มดี-ทาวน์ในดีทรอยท์.  เครือข่ายความั่นคงทางอาหารชุมชนชาวผิวดำแห่งดีทรอยท์ บริหาร ฟาร์มดี-ทาวน์, สอนทักษะการทำสวน, และ ให้การศึกษาเกี่ยวกับระบบอาหาร.  พวกเขายังทำงานด้านการเปลี่ยนแปลงนโยบาย และ รื้อถอนการเดียดเชื้อชาติ เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารในชุมชนชาวผิวดำของดีทรอยท์.

Putting the Culture Back in Agriculture: Reviving Native Food and Farming Traditions
ใส่ “วัฒนธรรม” กลับเข้าไปในคำ “เกษตรกรรม”: ฟื้นฟูอาหารถิ่นและประเพณีการทำเกษตร
“At one point ‘agriculture’ was about the culture of food. Losing that culture, in favor of an American cultural monocrop, joined with an agricultural monocrop, puts us in a perilous state…” says the indigenous activist Winona LaDuke.[13]71 Her lament is an agribusiness executive’s dream. The CEO of the H.J. Heinz Company says, “Once television is there, people, whatever shade, culture, or origin, want roughly the same things.”[14]72 The same things are based on the same technology, same media sources, same global economy, and same food.
“ครั้งหนึ่ง เกษตรกรรมเป็นเรื่องเกี่ยวกับวัฒนธรรมของอาหาร.  เมื่อวัฒนธรรมนั้นหายไป, หันไปฝักใฝ่วัฒนธรรมอเมริกันหนึ่งในพืชเชิงเดียว, การเข้าร่วมเกษตรกรรมพืชเชิงเดี่ยว, ได้ทำให้พวกเราตกในภาวะอันตราย...” นักกิจกรรมชนพื้นเมืองดั้งเดิม วิโนนา ลาดุ๊ค กล่าว.  ความทุกข์ของเธอ เป็นความฝันของนักบริหารธุรกิจเกษตร.  ซีอีโอ ของบริษัท H.J. Heinz กล่าวว่า, “เมื่อไรที่โทรทัศน์ไปถึงที่นั่น,ประชาชน, ไม่ว่าจะสี, วัฒนธรรม, หรือ ถิ่นเกิดอะไรก็ตาม, จะต้องการของเดียวกัน”.   ของสิ่งเดียวกันเหล่านี้ มาจากเทคโนโลยีเดียวกัน, แหล่งสื่อเดี่ยวกัน, ระบบเศรษฐกิจโลกเดียวกัน, และอาหารอย่างเดียวกัน.
Together with the loss of cultural diversity, the growth of industrial agriculture has led to an enormous depletion in biodiversity. Throughout history, humans have cultivated about 7,000 species of plants.[15]73 In the last century, three-quarters of the genetic diversity of agricultural crops have been lost; 30 crops now provide 95 percent of our food needs, with rice, wheat, maize, and potato alone providing 60 percent.[16]74 Eighty-five percent of the apple varieties that once existed in the U.S. have been lost.[17]75 Vast fields of genetically identical crops are much more susceptible to pests, necessitating increased pesticide use. The lack of diversity also endangers the food supply, as an influx of pests or disease can wipe out enormous quantities of crops in one fell swoop.
พร้อมไปกับการสูญเสียความหลากหลายทางวัฒนธรรม, การขยายตัวของเกษตรอุตสาหกรรม ได้นำไปสู่การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ.  ตลอดประวัติศาสตร์, มนุษย์ได้เพาะปลูกพืชประมาณ 7,000 สายพันธุ์.  ในศตวรรษที่แล้ว, ความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชเกษตร ¾ ได้สูญหายไป; ตอนนี้ พืช 30 ชนิด เป็นส่วนประกอบของอาหารจำเป็นสำหรับพวกเรา 95%, มีข้าว, ข้าวสาลี, ข้าวโพด, และ มันฝรั่ง ที่อยู่ในอาหาร 60%.  แอปเปิลในสหรัฐฯ ที่เคยมีอยู่ในสหรัฐฯ ตอนนี้ได้สูญหายไปแล้ว 85%.  ทุ่งอันกว้างใหญ่ของพืชที่มีพันธุกรรมแบบเดียวกัน มีความเปราะบางต่อการจู่โจมของแมลง, จึงจำเป็นต้องเพิ่มการใช้ยาฆ่าแมลง.  การขาดความหลากหลาย ก็ยังเป็นอันตรายต่อแหล่งอาหาร, เพราะการทะลักของแมลงหรือเชื้อโรค สามารถกวาดล้างพืชปริมาณมหาศาลในครั้งเดียว.
Native peoples’ efforts to protect their crop varieties and agricultural heritage in the U.S. go back 500 years to when the Spanish conquistadors arrived. Today, Native communities throughout the U.S. are reclaiming and reviving land, water, seeds, and traditional food and farming practices, thereby putting the culture back in agriculture and agriculture back in local hands. Two initiatives include:
ความพยายามของประชาชนถิ่น ในการป้องกันสายพันธุ์ของพืชและมรดกทางเกษตรในสหรัฐฯ ย้อนไปได้ 500 ปี เมื่อผู้บุกรุกสเปนมาถึง.  ทุกวันนี้, ชุมชนถิ่นทั่วสหรัฐฯ กำลังทวงสิทธิ์ และ ฟื้นฟูที่ดิน, แหล่งน้ำ, เมล็ด, และวิธีทำอาหารและทำเกษตรตามประเพณีนิยม, เช่นนี้ ก็เป็นการเติมคืนวัฒนธรรมในเกษตรกรรม และ เกษตรกรรมกลับคืนสู่มือของท้องถิ่น.  การริเริ่มสองอย่างมีดังนี้.
• The White Earth Land Recovery Project in Minnesota, which is recovering healthy stewardship of their original land base. They are harvesting and selling traditional foods such as wild rice, planting gardens and raising greenhouses, and growing food for farm-to-school and feeding-our-elders programs. They are reintroducing native sturgeon to local waters as well as working to stop pesticide spraying at nearby industrial farms. They’re also strengthening relationships with food sovereignty projects around the country. Winona LaDuke, the founding director of the project, tells us, “My father used to say, ‘I don’t want to hear your philosophy if you can’t grow corn’… I now grow corn.”
โครงการ ฟื้นคืนที่ดินไวท์เอิร์ธ ในมินเนโซตา, ซึ่งเป็นการฟื้นคืนการดูแลฐานที่ดินแรกเริ่มของพวกเขา.  พวกกำลังเก็บเกี่ยวและขายอาหารตามประเพณีนิยม เช่น ข้าวป่า, ปลูกสวน และ สร้างเรือนกระจก, และปลูกอาหารสำหรับโปรแกม ฟาร์มสู่โรงเรียน และ เลี้ยงดูผู้สูงวัยของเรา.  พวกเขากำลังนำปลาสเตอเจียนถิ่นกลับมาเลี้ยงใหม่ในแหล่งน้ำท้องถิ่น รวมทั้ง ทำงานเพื่อหยุดฉีดยาฆ่าแมลงในเขตใกล้ฟาร์มอุตสาหกรรม.  พวกเขาก็ยังเพิ่มความเข้มแข็งในสัมพันธภาพของโครงการอธิปไตยทางอาหารทั่วประเทศ.  วิโนนา ลาดุ๊ค, ผอ ผู้ก่อตั้งโครงการ, บอกว่า, “พ่อของฉันเคยบอกว่า, พ่อไม่ต้องการฟังปรัชญาของลูก ถ้าลูกปลูกข้าวโพดไม่ได้’…ตอนนี้ ฉันปลูกข้าวโพด”.
• The revival of buffalo herds by Native groups around the country. In the 1800s, European-American settlers drove wild buffalo close to extinction, decimating a source of survival for many Native communities. Just one example of the resurgence is the Lakota Buffalo Caretakers Cooperative, a cooperative of small-family buffalo caretakers, on Pine Ridge Reservation in South Dakota.
-การฟื้นฟูฝูงควายโดยกลุ่มชาวถิ่นดั้งเดิมทั่วประเทศ. ในทศวรรษ 1800s, นักบุกเบิกอเมริกันจากยุโรป ได้เบียดขับควายป่าจนเกือบสูญพันธุ์, เป็นการทำลายแหล่งเพื่อความอยู่รอดอย่างยับเยินสำหรับชุมชนถิ่นดั้งเดิม.  ตัวอย่างหนึ่ง คือ การฟื้นคืนสหกรณ์ผู้ดูแลควายแห่งลาโกตา, เป็นสหกรณ์ของครอบครัวรายย่อยที่ดูแลควาย, ที่เขตสงวนไพน์ริดจ์ ในดาโกตาตอนใต้.
The cooperative sees its work as threefold, to “restore the buffalo, restore the native ecology on Pine Ridge, and help renew the sacred connection between the Lakota people and the buffalo nation.”[18]76 At the national level, the InterTribal Bison Cooperative is a network of 56 tribal bison programs from around the country with a collective herd of over 15,000.[19]77 To look more in-depth at the revival of traditional and Native farming, we’ll focus on New Mexico, where Native communities are organizing a wealth of initiatives.
สหกรณ์เห็นงานของตนมี 3 ด้าน, เพื่อ “ฟื้นฟูควาย, ฟื้นฟูนิเวศถิ่นดั้งเดิมที่ไพน์ริดจ์, และช่วยรื้อฟื้นความเชื่อมโยงอันศักดิ์สิทธิ์ระหว่างชาวลาโกตา และ ฝูงควายของชนชาติ”.   ในระดับชาติ, สหกรณ์ InterTribal Bison เป็นเครือข่ายของโปรแกมควายชนเผ่า 56 ราย จากทั่วประเทศ ซึ่งมีความรวมกันทั้งหมดกว่า 15,000 ตัว.  มองลึกลงไปในการฟื้นฟูการทำเกษตรตามประเพณีนิยมของถิ่นดั้งเดิม, เราจะเน้นที่นิวเม็กซิโก, ที่ๆ ชุมชนถิ่นดั้งเดิมกำลังจัดกระบวนการริเริ่มมากมาย.
Communities around the state have started educational and production farms, youth-elder farming exchanges, buffalo revitalization programs, seed-saving initiatives, herb-based diabetes treatment programs, a credit union that invests in green and sustainable projects, and more. Schools like the Southwestern Indian Polytechnic Institute, the Institute of American Indian Arts, and the Santa Fe Indian School – along with other grammar schools, high schools, and non-profit programs – have developed agricultural education programs. The Traditional Native American Farmers’ Association helps farmers get back onto the land, hosts workshops on seed saving and agricultural techniques, and has a youth program.
ชุมชนทั่วรัฐได้เริ่มทำฟาร์มเพื่อการศึกษาและการผลิต, การแลกเปลี่ยนการทำเกษตรระหว่างเยาวชน-ผู้สูงวัย, โปรแกมฟื้นฟูควาย, การริเริ่มเก็บรักษาเมล็ด, โปรแกมการรักษาเบาหวานด้วยสมุนไพร, เครดิตยูเนียน ที่ลงทุนในโครงการสีเขียวและยั่งยืน, เป็นต้น.  โรงเรียนเช่น สถาบันโพลีเทคนิคอินเดียนตะวันตกเฉียงใต้, สถาบันศิลปะอินเดียนอเมริกัน, และ โรงเรียนอินเดียนซานตาเฟ—ควบคู่ไปกับโรงเรียนประถม, โรงเรียนมัธยม, และโปรแกมไม่แสวงกำไร—ได้พัฒนาโปรแกมการศึกษาด้านเกษตร.  สมาคมเกษตรกรอเมริกันถิ่นดั้งเดิม ช่วยเกษตรกรให้ได้ที่ดินกลับคืนมา, เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ และ เทคนิคเกษตร, และมีโปรแกมเยาวชน.
The annual Sustainable Food and Seed Sovereignty Symposium at the Tesuque [Indian] Pueblo brings together farmers, herbalists, natural dyers, healers, cooks, seed savers, educators, water protectors, and community organizers. From the 2006 symposium came the Declaration of Seed Sovereignty, which denounced genetically engineered seeds and corporate ownership of Native seeds and crops as “a continuation of genocide upon indigenous people and as malicious and sacrilegious acts toward our ancestry, culture, and future generations.”[20]78
การประชุมประจำปีอธิปไตยอาหารและเมล็ดที่ยั่งยืน ที่ Tesuque [Indian] Pueblo ได้นำเกษตรกร, นักสมุนไพร, นักย้อมสีธรรมชาติ, หมอทางเลือก, คนครัว, นักเก็บเมล็ด, นักการศึกษา, นักปกป้องน้ำ, และ นักจัดกระบวนชุมชน มารวมตัวกัน.  จากการประชุมปี 2006 มีการแถลงอธิปไตยทางเมล็ด, ซึ่งปฏิเสธเมล็ด จีอี และ การที่บรรษัทเข้ามาครอบครองเมล็ดและพืชถิ่นดั้งเดิมว่าเป็น “การต่อเนื่องของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชนพื้นเมืองดั้งเดิม และ เป็นการกระทำที่มุ่งร้ายและลบหลู่บรรพชน, วัฒนธรรม, และอนุชนของเรา.
“The only way we can get our autonomy is when we have the resources in our own hands, when we don’t have to buy from seed companies.”
— Emigdio Ballon, Quechua farmer, teacher, and geneticist at Tesuque Natural Farms
“ทางเดียวที่เราจะเป็นเอกราช คือ เมื่อเรามีทรัพยากรในมือของเรา, เมื่อเราไม่ต้องไปซื้อจากบริษัทเมล็ดพันธุ์”.
-เอมิกดิโอ บอลลอน, เกษตรกร, ครู, และ นักพันธุกรรม เควชา ที่ ฟาร์มธรรมชาติ Tesuque

In addition to the symposium, the Tesuque Pueblo also hosts Tesuque Natural Farms, which grows vegetables, herbs, grains, fruit trees, and cover crops, including varieties long lost to the region. The farm provides fresh foods to the senior center, sells at the farmers’ markets, and trains residents to begin farming themselves. The goal is to make the Pueblo autonomous in both food and seeds. The farm also grows medicinal herbs to treat HIV, diabetes, and cancer, and makes biofertilizer from plants. It has also begun gardening with kids at its community Head Start program, and plans to expand to grammar schools.
นอกจากการประชุมแล้ว, Tesuque Pueblo ก็ยังเป็นเจ้าภาพของ Tesuque Natural Farms, ซึ่งปลูกผัก, สมุนไพร, ธัญพืช, ผลไม้, และพืชคลุมดิน, รวมทั้งสายพันธุ์อื่นๆ ที่ได้สูญหายไปจากภูมิภาคนี้.  ฟาร์มได้ให้ อาหารสดแก่ศูนย์คนสูงวัย, ขายที่ตลาดนัดเกษตรกร, และอบรมชาวบ้านให้เริ่มเพาะปลูกเอง.  เป้าหมายคือทำให้ Pueblo ปกครองตัวเองได้ทั้งด้านอาหารและเมล็ดพันธุ์.  ฟาร์มนี้ยังปลูกสมุนไพรที่เป็นยาเพื่อรักษา HIV, เบาหวาน, และ มะเร็ง, และทำปุ๋ยชีวภาพจากพืช.  ฟาร์มยังได้เริ่มการทำสวนกับเด็กๆ ที่ชุมชน โปรแกม Head Start, และมีแผนขยายสู่โรงเรียนประถม.
People from across the nation come to Tesuque Natural Farms to study agricultural production and to take workshops on pruning, beekeeping, poultry, soil fertility, composting, and other topics. Soon the farm hopes to create a research and education center, where people can come for three to six months. Currently, they’re building a Native seed library.
ประชาชนทั่วชนชาติมาที่ ฟาร์มธรรมชาติ Tesuque เพื่อศึกษาการผลิตทางเกษตร และ เพื่อฝึกการพรุนดิน, การเลี้ยงผึ้ง, สัตว์ปีก, ความอุดมสมบูรณ์ของดิน, การทำปุ๋ยหมัก, และหัวข้ออื่นๆ.  ในไม่ช้า ฟาร์มหวังว่าจะสร้างศูนย์การวิจัยและการศึกษา, ที่ๆ ประชาชนสามารถมาอยู่ได้นาน 3-6 เดือน.  ปัจจุบัน, พวกเขากำลังสร้างห้องสมุดเมล็ดพันธุ์ถิ่นดั้งเดิม.
Nayeli Guzman, a Mexica woman who worked at Tesuque Natural Farms, says, “What we’re doing is very simple. These ideas are not an alternative for us, they’re just a way of life... We need to all work together as land-based people... Creator is not exclusive, so there’s no reason we should be. They tell us, ‘The more biodiversity you have, the richer your soil is going to be.’ It’s like that with people. The more different kinds of people you have, the more able we’re going to be to survive. We can’t compartmentalize ourselves. That’s what industrial agriculture does.”
นาเยลิ กุซแมน, หญิงเม็กซิกา ที่ทำงานในฟาร์มธรรมชาติ Tesuque, กล่าวว่า, “สิ่งที่พวกเรากำลังทำอยู่ง่ายมาก.  ความคิดเหล่านี้ ไม่ใช่เป็นทางเลือกสำหรับพวกเรา, มันเป็นเพียงวิถีชีวิต...เราจำเป็นต้องทำงานทั้งหมดร่วมกันในฐานะที่เราเป็นประชาชนของแผ่นดิน...พระผู้สร้างไม่กีดกัน, ดังนั้น ไม่มีเหตุผลที่เราควรกีดกันด้วย.  พวกเขาบอกพวกเราว่า, คุณมีความหลากหลายทางชีวภาพมากเท่าไร, ดินของคุณก็จะรุ่มรวยมากขึ้นเท่านั้น.’  มันเป็นเช่นนั้นเหมือนกันกับผู้คน.  คุณมีคนหลากหลายมากเท่าไร, พวกเราก็จะมีความสามารถอยู่รอดได้มากเท่านั้น.  เราไม่สามารถแบ่งแยกพวกเราเอง.  นั่นเป็นสิ่งที่เกษตรอุตสาหกรรมทำ”.
 Brett Ramey
A family on the Navajo Nation in the Four Corners area of the Southwest makes kneel down bread, a traditional food made with blue corn.
ครอบครัวหนึ่งในชนชาตินาวาโฮ ในพื้นที่ Four Corners ของย่านตะวันตกเฉียงใต้ กำลังนวดแป้งทำขนมปัง, อาหารตามประเพณีนิยมที่ทำจากข้าวโพดน้ำเงิน.
 Brett Ramey
Outside Flagstaff, members from several local indigenous-led organizations come together to grow food to nourish friends and family.
นอก Flagstaff, สมาชิกจากหลายองค์กรที่นำโดยชนพื้นเมืองดั้งเดิมท้องถิ่น รวมตัวกันเพื่อปลูกอาหารเพื่อหล่อเลี้ยงเพื่อนและครอบครัว.

A Cooperative Effort: Rebuilding the New Mexico Foodshed
ความพยายามของสหกรณ์: สร้างยุ้งอาหารนิวเม็กซิโกขึ้นใหม่

Today, in Native and non-Native New Mexico alike, people are reversing corporate trends by creating a ‘regional foodshed,’ a local food ecosystem that bases its boundaries on ecological parameters like water flow, rather than on arbitrary state lines.
ทุกวันนี้, ประชาชนไม่ว่าจะเป็นคนถิ่นหรือไม่, ล้วนหันห่างจากแนวโน้มบรรษัท ด้วยการสร้าง “ยุ้งอาหารภูมิภาค”, อันเป็นระบบนิเวศอาหารท้องถิ่น ที่ตั้งฐานบนขอบเขตของปัจจัยนิเวศ เช่น การไหลของน้ำ, แทนที่จะเป็นเส้นแบ่งเขตผิดธรรมชาติของรัฐ.
One important contributor to rebuilding the foodshed along the Rio Grande Valley is La Montañita Co-op food market. A 36-yearold store with five locations throughout the state, one of La Montañita’s slogans is “fair fresh local.” The ecosystem dictates what the co-op sells, Robin Seydel, the co-op’s membership coordinator, tells us. “We want to utilize all the eco-climes up and down the Rio Grande Valley.” Currently, 20 percent of the store’s sales come from more than 1,500 different items produced by nearly 900 local producers. The goal is to increase that to 50 percent. The co-op’s local production coordinator develops plans with farmers to increase the diversity and seasonality of local foods. “That way we’ll have quinoa from Southern Colorado, chili from New Mexico,” says Robin. La Montañita also provides training in land-stewardship practices and product improvement, and negotiates pre-payment on some contracts to help out struggling farmers.
ผู้มีอุปการคุณต่อการสร้างยุ้งอาหารขึ้นใหม่ในแถบหุบ ริโอ แกรนเด คือ สหกรณ์ตลาดอาหาร ลา มอนตานิตา.  สหกรณ์แห่งนี้ มีอายุ 36 ปี และมีร้านค้าห้าแห่งทั่วรัฐ, มีคำขวัญหนึ่ง คือ “เป็นธรรม และ สดท้องถิ่น”.  ระบบนิเวศเป็นตัวบังคับว่า สหกรณ์จะขายอะไรได้บ้าง, โรบิน ซีย์เดล, ผู้ประสานสมาชิกสัมพันธ์ของสหกรณ์, กล่าว.  “เราต้องการใช้ทุกอย่างตามสภาวะขึ้นและลงของนิเวศและอากาศในหุบริโอ แกรนเด”.  ปัจจุบัน, ยอดขาย 20% ของร้าน มาจากสินค้ากว่า 1,500 ประเภท ผลิตโดยผู้ประกอบการท้องถิ่นเกือบ 900 ราย.  เป้าหมายคือ เพิ่มให้เป็น 50%.  ผู้ประสานงานการผลิตท้องถิ่นของสหกรณ์ ได้พัฒนาแผนกับเกษตรกรเพื่อเพิ่มความหลากหลายตามฤดูกาลของอาหารท้องถิ่น.  “ด้วยวิธีนั้น เราจะได้ quinoa จากภาคใต้ของโคโลราโด, พริกจากนิวเม็กซิโก”, โรบินกล่าว.  ลา มอนตานิตา ก็ยังให้การอบรมในการดูแลที่ดิน และ ปรับปรุงผลิตภัณฑ์, และ ต่อรองการจ่ายล่วงหน้าในสัญญาบางอย่างเพื่อช่วยเกษตรกรที่กำลังดิ้นรนอยู่.
Over the past few years, as Robin and others at the co-op watched many local farms go out of business, they realized that a major challenge for farmers – especially given the skyrocketing cost of gas – is transporting their products to market. The co-op now leases a refrigerated truck to bring local goods to its stores, like milk from one of the only two dairy farms in the state that still produces and bottles milk for local consumption.
ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา, ในขณะที่โรบิน และ คนอื่นๆ ที่สหกรณ์ ได้เฝ้ามองฟาร์มท้องถิ่นหลายแห่งที่ต้องปิดกิจการลง, พวกเขาตระหนักว่า เกษตรกรกำลังเผชิญกับการท้าทายอย่างหนัก—โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อต้นทุนแก๊สที่พุ่งกระฉูด—คือ การขนส่งผลิตผลสู่ตลาด.  สหกรณ์ได้ทำสัญญาเช่ารถบรรทุกตู้เย็นเพื่อนำอาหารท้องถิ่นไปยังร้าน, เช่น นมจากฟาร์มโคนมหนึ่งในสองแห่งในรัฐ ที่ยังผลิตและบรรจุขวดเพื่อการบริโภคในท้องถิ่น.
Some other initiatives in New Mexico that are helping build a regional foodshed include:
การริเริ่มอื่นๆ ในนิวเม็กซิโก ที่กำลังช่วยสร้างยุ้งอาหารขึ้นใหม่ มี,
• Community kitchens for small producers so that, without the hefty cost of starting their own commercial kitchens, they can create value-added products and capture a better price;[21]79
-ครัวชุมชนสำหรับผู้ผลิตรายย่อย เพื่อว่า พวกเขาจะสามารถสร้างผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มและได้ราคาดีขึ้น โดยไม่ต้องแบกภาระการลงทุนหนักในการเริ่มครัวพาณิชย์ของตนเอง.
• Preservation of agricultural lands, both through direct purchase and mechanisms like conservation easements and agricultural land trusts;[22]80
-การสงวนที่ดินเกษตร, ทั้งด้วยการซื้อโดยตรง หรือ กลไกเช่น สิทธิในการใช้ทรัพย์สินของผู้อื่นในเชิงอนุรักษ์ และ ทรัสต์ที่ดินเกษตร.
• Production, distribution, and marketing alliances to help small farmers increase their sales;[23]81
-การผลิต, การกระจายสินค้า, และพันธมิตรการตลาด เพื่อช่วยเกษตรกรรายย่อยให้เพิ่มการขาย,
• Programs to help small farmers sell to institutions, such as directories which link growers with schools;[24]82 and
-โปรแกมเพื่อช่วยเกษตรกรรายย่อยให้ได้ขายต่อสถาบัน, เช่น จัดทำทำเนียบที่เชื่อมต่อผู้ปลูกกับโรงเรียน,
• Farmer-to-farmer trainings to exchange innovative practices and information.
-การอบรม เกษตรกรต่อเกษตรกร เพื่อแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติและข้อมูลแนวนวัตกรรม.

“How’re We Going to Fix It?”
“เราจะซ่อมแซมมันได้อย่างไร?”

Sol Feliz Farm is capturing the imagination of an impassioned group of youth in northern New Mexico. The creation of Miguel Santistevan and Margarita Garcia, the educational farm is an acre of spiral gardens, rock gardens, and straight rows around Miguel’s grandfather’s house east of Taos.
ฟาร์มโซล เฟริส เป็นกลุ่มนักฝันเยาวชนในภาคเหนือของรัฐนิวเม็กซิโก.  ด้วยการสร้างสรรค์ของมิเกล ซานติสเตวาน และ มาร์การิตา การ์ซัย, ฟาร์มเพื่อการศึกษาแห่งนี้เป็นพื้นที่ของสวนแบบเกลียวสว่าน, สวนหิน, และ แถวยาวๆ รอบๆ บ้านของปู่ของมิเกล.
Through the farm’s Agriculture Implementation Research and Education (AIRE) project, Miguel is helping youth reclaim knowledge about traditions behind the land and waters. “You figure maize agriculture, 10,000 years of agricultural evolution, at least,” he says, “and we’re losing all that cumulative knowledge.” At  AIRE, the youth get to engage in everything from planting seeds to plucking chickens to visiting the state legislature. On any given morning during the summer, you can find the youth irrigating the field, using the traditional acequia method of diverting flowing water to the land via hand-dug channels.
ด้วยโครงการการวิจัยการดำเนินเกษตรกรรมและการศึกษา (AIRE) ของฟาร์ม, มิเกลช่วยเยาวชนให้รื้อฟื้นความรู้เกี่ยวกับประเพณีเบื้องหลังที่ดินและแหล่งน้ำ.  “เกษตรข้าวโพด อย่างน้อยมีอายุ 10,000 ปี”, เขากล่าว, “และเรากำลังสูญเสียองค์ความรู้ที่ได้สั่งสมกันมา”.  ที่ AIRE, เยาวชนได้มีส่วนร่วมในทุกอย่างตั้งแต่ปลูกด้วยเมล็ด จนถึง ถอนขนไก่ จนถึง ไปเยี่ยมฝ่ายนิติบัญญัติของรัฐ.  ในยามเช้าของฤดูร้อน, คุณจะเห็นเยาวชนรดน้ำในทุ่ง, ด้วยการใช้วิธีดั้งเดิมที่ผันน้ำสู่ดินผ่านช่องทางที่ขุดด้วยมือ.
With a master’s degree in agriculture ecology and partway through a PhD in biology, Miguel is a walking encyclopedia about plants and water – but not the type of encyclopedia you’d find in any local library. “People try to put together equations. ‘Oh, well, you have this many acres and this much corn, and corn requires this much water, so you’ve got to irrigate this many times.’ And I say, ‘Dude, nature doesn’t work that way. Go talk to the Hopi about how much water corn needs.’ I know an elder Hopi who said, ‘It doesn’t even need to rain. A cloud just needs to fly overhead.’
ด้วยปริญญาโทในเกษตรนิเวศ และ อยู่ในระหว่างทางสู่ปริญญาเอกทางชีววิทยา, มิเกลเป็นสารานุกรมเคลื่อนที่เกี่ยวกับพืชและน้ำ—แต่ไม่ใช่สารานุกรมแบบที่คุณพบในห้องสมุดท้องถิ่นใดๆ.  “ผู้คนพยายามรวมให้เป็นสมการ.  เอาล่ะ, คุณมีแค่นี้เอเคอร์ และข้าวโพดเท่านี้, และข้าวโพดต้องใช้น้ำมากเท่านี้, ดังนั้น คุณต้องรดน้ำแค่นี้เที่ยว.  และผมบอกว่า, เพื่อน, ธรรมชาติไม่ได้ทำงานแบบนั้น.  ไปคุยกับพวก โฮปิ ว่าข้าวโพดต้องใช้น้ำมากเท่าไร’.  ผมรู้จัก โฮปิ อาวุโสผู้หนึ่ง ที่บอกว่า, มันไม่จำเป็นต้องมีแม้แต่ฝน. ขอเพียงให้มีเมฆลอยผ่านหัวเท่านั้นก็พอ’. ”
“We’re surrounded by agricultural land but we have no food security. Right now we’re strapped to the global market. Some people are trying to figure out how to set themselves free and are showing other people. It’s as if we were all tied to a train that’s headed off a cliff, and pretty soon a lot of us are saying, ‘Hey, I’m going to jump off this train before it goes.’
“เราถูกรายล้อมด้วยแดนเกษตร แต่ เราไม่มีความมั่นคงทางอาหาร.  ตอนนี้ พวกเราถูกผูกติดอยู่กับตลาดโลก.  บางคนกำลังพยายามหาทางปลดปล่อยตัวเอง และแสดงให้คนอื่นได้เรียนรู้ด้วย.  มันเหมือนกับว่าพวกเราทั้งหมด ถูกผูกไว้กับรถไฟที่พุ่งลงเหว, และไม่นาน พวกเราหลายๆ คน ก็จะบอกว่า, เฮ้ย, ฉันจะกระโจนออกจากรถไฟนี้ก่อนที่มันจะออกวิ่ง’.”
“All these people think that, dammit, this system has to conform to the mathematics of engineers, lawyers and economists, with the help of politicians. That’s why I like working with youth, because the youth don’t buy it. They buy a lot of it: this rap music, and the gangster stuff, and the drug subculture.  When it comes to what’s happening to the mountains, what’s happening to the rivers, what’s happening to the elders, they don’t buy it. Some kids are saying, ‘Oh well, the world’s gonna end anyways. The older generation, they already destroyed the planet. Might as well just party, have a good time.’ But other kids are saying, ‘How’re we going to fix it?’
“สิ่งที่คนเหล่านี้คิด, ให้ตาย, ระบบนี้จะต้องสยบต่อคณิตศาสตร์ของวิศวกร, ทนายความ, และนักเศรษฐศาสตร์, ด้วยความช่วยเหลือของนักการเมือง.  นี่เป็นเหตุผลว่าทำไมผมถึงชอบทำงานกับเยาวชน, เพราะเยาวชนไม่ซื้อความคิดอะไรง่ายๆ.  พวกเขาซื้อเยอะแยะ: เพลงแรป, กลุ่มแก๊ง, และยาบ้า.  พอมาถึงเรื่องที่ว่า เกิดอะไรขึ้นกับภูเขา, เกิดอะไรขึ้นกับแม่น้ำ, เกิดอะไรขึ้นกับผู้อาวุโส, พวกเขาไม่ซื้อด้วย.  เด็กๆ บอกว่า, เออดี, โลกยังไงจะต้องจบลง.  คนรุ่นเก่า, ก็ได้ทำลายโลกเรียบร้อยแล้ว.  มาสนุกเฮฮาปาร์ตี้กันดีกว่า’. แต่เด็กคนอื่นๆ บอกว่า, แล้วเราจะซ่อมแซมมันได้อย่างไร?’”

“Everyone should grow something, even if you only plant in a crack in the sidewalk.”
— Margarita Garcia, farmer from Chamisal, New Mexico
“ทุกคนควรปลูกอะไรบางอย่าง, แม้ว่าคุณจะเพียงปลูกในรอยแตกของข้างทาง.”
-มาร์การิตา การ์เซีย, เกษตรกรจาก ชามิซาล, นิวเม็กซิโก

“Our part in this process is not just about social change and justice, it’s also about food production and how do we feed ourselves. “The other day, we were harvesting corn. Some of these kids are on probation, getting in trouble in school, dropping out of school. Just to see that look on their faces and the wonder as they’re opening that corn up, just amazed at the sight of the kernels, the color… it was awesome. That wonderment, that’s how we’re going to get to the next stage.
“ส่วนของเราในกระบวนการนี้ ไม่เพียงแต่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงและความเป็นธรรมในสังคม, มันยังเป็นเรื่องเกี่ยวกับการผลิตอาหาร และ ว่าเราจะเลี้ยงดูพวกเราเองอย่างไร.  ในวันก่อน, เรากำลังเก็บเกี่ยวข้าวโพด.  เด็กบางคนกำลังถูกภาคทัณฑ์, เพราะมีปัญหาในโรงเรียน, หรือเลิกเรียน.  เพียงแต่เห็นสีหน้าของพวกเขาและความมหัศจรรย์ใจในขณะที่พวกเขาเปิดฝักข้าวโพด, ได้เห็นเนื้อข้าวโพด, สีของมัน...มันน่าทึ่งมาก.  ความมหัศจรรย์นั้น, เป็นจุดที่ทำให้เราก้าวสู่ขั้นต่อไป.
“The revolution isn’t going to be fought with guns. It’s like [Iroquois author and activist] John Mohawk said at the [Sustainable Food and Seed Sovereignty] conference: the revolution is going to be fought with the hoe. And the shovel. And not against people, but with people, working the land.”
“การปฏิวัติครั้งนี้ ไม่ใช่จะสู้กันด้วยปืน.  มันเหมือนกับที่ จอห็น โมฮอว์ก กล่าวในที่ประชุมว่า, การปฏิวัติจะสู้ด้วยจอบ และ พลั่ว และไม่ใช่ต่อต้านประชาชน, แต่สู้เคียงข้างประชาชน, ทำงานบนแผ่นดิน”.
 Miguel Santistevan
Spring cleaning of the acequia that irrigates Sol Feliz farm. Acequias are a traditional irrigation system used through much of New Mexico, and managed democratically by the community.
การถางทำความสะอาดแปลงดินด้วยการขุดร่องแบบดั้งเดิม เพื่อรดน้ำในฟาร์ม โซล เฟริส เป็นระบบชลประทานที่ใช้กันมากใน นิวเม็กซิโก, และจัดการอย่างเป็นประชาธิปไตยโดยชุมชน.


[1] 59. John Mohawk, “Clear Thinking: A Positive Solitary View of Nature,” in Melissa K. Nelson, ed., Original Instructions: Indigenous Teachings for a Sustainable Future (Vermont: Bear & Company, 2008), 49.
[2] 60. Patrick Canning, “A Revised and Expanded Food Dollar Series. A Better Understanding of Our Food Costs,” (Economic Research Report No. 114, U.S. Department of Agriculture Economic Research Service, February 2011), iv.
[3] 61. Michael Pollan, The Omnivore’s Dilemma: A Natural History of Four Meals (New York: Penguin Press, 2006), 83.
[4] 62. John Talberth, et al., “Building a Resilient and Equitable Bay
Area: Towards a Coordinated Strategy for Economic Localization,” Center for Sustainable Systems, November 2006, 9; and Christopher Cook, Diet for a Dead Planet (New York: New Press, 2006), 252. The 7.3 figure is taken from the first report; however, David Pimentel of Cornell University claims the figure is closer to10.
[5] 63. U.S. Department of Agriculture, “Publications: Community Supported Agriculture,” last modified February 16, 2012, http://www.nal.usda.gov/afsic/pubs/csa/csa.shtml.
[6] 64. U.S. Department of Agriculture, “Farmers Market Growth:1994-2011,” last modified August 08, 2011, http://www.ams.usda.gov/AMSv1.0/ams.fetchTemplateData.do?template=TemplateS&leftNav=WholesaleandFarmersMarkets&page=WFMFarmersMarketGrowth&description=Farmers%20Market%20Growth&acct=frmrdirmkt.
[7] 65. Anna Lappé, “Doing Lunch,” The Nation, August 27, 2006.
[8] 66. Farm to School Network, “Statistics,” accessed February 22, 2012, www.farmtoschool.org.
[9] 67. Center for Food & Justice, Urban & Environmental Policy Institute, Occidental College and Community Food Security Coalition, “Farm to Hospital: Supporting Local Agriculture and Improving Health Care,” 2007, 5.
[10] 68. Health Care without Harm, “Healthy Food Pledge,” accessed March 16, 2012, www.healthyfoodinhealthcare.org/pledge.
[11] 69. U.S. Department of Agriculture, “Cooperative Statistics 2008,” November 2009, 12, http://www.rurdev.usda.gov/rbs/pub/CoopStats2008.pdf.
[12] 70. American Community Garden Association, “Frequently Asked Questions,” accessed February 22, 2012, www.communitygarden.org/learn/faq.php.
[13] 71. Winona LaDuke in “One Thing to Do About Food: A Forum,” Alice Waters, ed., The Nation, September 11, 2006, 18.
[14] 72. Sharon Beder, Global Spin: The Corporate Assault on Environmentalism (Devon: Green Books, 2002), 184.
[15] 73. Food and Agriculture Organization of the UN, “Biodiversity: Plants,” accessed February 22, 2012, www.fao.org/biodiversity/components/plants/en/.
[16] 74. Food and Agricultural Organization of the UN, “Biodiversity for Food Security,” May 20, 2004, http://www.fao.org/newsroom/en/news/2004/42621/index.html; and Food and Agriculture Organization of the UN, “Biodiversity: Plants,” accessed February 22, 2012, www.fao.org/biodiversity/components/plants/en/.
[17] 75. Hope Shand, “Biological Meltdown: The Loss of Agricultural Biodiversity,” Race, Poverty, and the Environment online, Winter 2000, www.urbanhabitat.org/node/921.
[18] 76. Lakota Buffalo Caretakers Cooperative, accessed February 22, 2012, http://lakotabuffalocaretakers.org/about.
[19] 77. Intertribal Bison Cooperative, accessed February 22, 2012, www.itbcbison.com/about.php.
[20] 78. Las Acequias, “A Declaration of Seed Sovereignty: A Living Document for New Mexico,” March 11, 2006, www.lasacequias.org/programs/seed-alliance/seed-declaration/.
[21] 79. See the Taos Food Kitchen of the Taos County Economic Development Corporation, www.tcedc.org/TFC.html.
[22] 80. For example, the Quivira Coalition, www.quiviracoalition.org.
[23] 81. See, for example, the Southwest Grassfed Livestock Alliance, www.swgla.org.
[24] 82. See, for example, the New Mexico Farm to School Directory, www.farmtotablenm.org/nm_fts_directory_oct07.pdf.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น