วันอาทิตย์ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2556

184. ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง...ชั่วนิจนิรันดร


 Two Reasons Climate Change Is Not Like Other Environmental Problems
 by David Roberts
สองเหตุผลที่ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไม่เหมือนปัญหาสิ่งแวดล้อมอื่นๆ
โดย เดวิด โรเบิร์ตส์


If you’ll forgive me for stating the obvious: Most people don’t understand climate change very well. This includes a large proportion of the nation’s politicians, journalists, and pundits — even the pundits who write about it. (I’m looking at you, Joe Nocera.)
ขออภัยครับที่ผมพูดในสิ่งที่ชัดเจนอยู่แล้ว: คนส่วนใหญ่ไม่ค่อยเข้าใจภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง.  นี่รวมถึงส่วนใหญ่ของนักการเมือง, นักข่าว, และผู้เชี่ยวชาญทั้งหลายของชาติ—แม้แต่ผู้เชี่ยวชาญที่เขียนเรื่องนี้. (ผมกำลังจ้องที่คุณ, โจ โนซีรา.)
One reason for the widespread misunderstanding is that climate change has been culturally coded as an “environmental problem.” This has been, in all sorts of ways, a disaster. Lots of pundits, especially brain-dead “centrist” pundits, have simply transferred their framing and conception of environmental problems to climate. They approach it as just another air pollution problem.
เหตุผลหนึ่งที่ทำให้เกิดความเข้าใจผิดอย่างแพร่หลาย คือ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงได้ถูกใส่รหัสเชิงวัฒนธรรมเป็น “ปัญหาสิ่งแวดล้อม”.  นี้เป็นความฉิบหายในทุกทาง.  ผู้เชี่ยวชาญหลายคน, โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พวกผู้เชี่ยวชาญ “กลางๆ” สมองตาย, เพียงแต่ถ่ายโอนกรอบคิดและการตีความของพวกเขาถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมไปที่ภูมิอากาศ.  พวกเขาทำเหมือนมันเป็นเพียงปัญหามลพิษในอากาศอีกเรื่อง.
However, there are two features of climate change that make it importantly different from other environmental problems, not just in degree but in kind. And these differences have important public policy implications.
แต่มีสองลักษณะที่ทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงต่างจากปัญหาสิ่งแวดล้อม,  ไม่ใช่แค่ระดับ แต่เป็นประเภท.  และความแตกต่างเหล่านี้ มีความสำคัญต่อการดำเนินนโยบายสาธารณะ.
The first difference is that carbon dioxide is not like other pollutants.
ความแตกต่างประการแรก คือ คาร์บอนไดออกไซด์ ไม่เหมือนกับมลพิษอื่นๆ.
To make this clear, let’s use the old bathtub analogy. The faucet is the source of the pollutant. The tub is the environment. And the drain represents the means by which the pollutant exits the environment. The key fact to remember: the damage to public health is determined by the total amount of pollutant in the tub.
เพื่อทำให้เห็นชัด, ขอให้เราใช้อุปมาของอ่างอาบน้ำ.  ก๊อกน้ำเป็นแหล่งของตัวมลพิษ.  อ่างเป็นสิ่งแวดล้อม.  และท่อน้ำทิ้งเป็นตัวแทนของช่องทางที่มลพิษจะไหลออกไปจากสิ่งแวดล้อม.  ข้อเท็จจริงหลักที่พึงจำไว้:   ความเสียหายต่อสุขภาพของสาธารณะ ถูกตัดสินโดย ปริมาณมลพิษทั้งหมดที่มีอยู่ในอ่าง.
Take a familiar air pollutant like particulate matter. We are spewing it into the air from tailpipes and smokestacks (the faucet). It leaves the air through simple gravity (the drain). Most of it falls to earth in days or weeks.
ลองดูที่มลพิษในอากาศที่คุ้นเคย เช่น อนุภาค.  เรากำลังพ่นมันเข้าสู่อากาศทางท่อดูดอากาศและปล่องไฟสูง (ก๊อกน้ำ).  มันออกจากอากาศด้วยแรงดึงดูดโลกง่ายๆ (ท่อน้ำทิ้ง).  อนุภาคส่วนใหญ่ใช้เวลาหลายวันหรือหลายสัปดาห์หล่นลงบนพื้นโลก.
So when it comes to the particulate-matter bathtub, the drain is very large. We can reduce the total level of particulate matter in the tub any time we want; all we have to do is turn the faucet down, or off, and the tub will drain rapidly.
ดังนั้น เมื่อมันเป็นอนุภาคในอ่างอาบน้ำ, ท่อน้ำทิ้งต้องใหญ่มากๆ.   เราจะลดปริมาณอนุภาคทั้งหมดในอ่างได้ทุกเวลาที่ต้องการ; สิ่งที่เราต้องทำสิ่งเดียวคือ เปิดก๊อกให้ไหลช้าลง, หรือ ปิดก๊อก, และอ่างจะถ่ายทิ้งอย่างรวดเร็ว.
Carbon dioxide is not like that. Once it’s in the tub, it stays there for up to 100 years before it drains out. And the drain in the bathtub (so-called “sinks” that absorb carbon out of the air, like oceans and forests) is comparatively small relative to the enormous amounts coming out of the faucet. And by the way, we’re actively making the drain smaller by cutting down forests and carbon-loading the oceans.
คาร์บอนไดออกไซด์ไม่เป็นเช่นนั้น.  เมื่อไรมันอยู่ในอ่าง, มันจะอยู่ที่นั่นถึง 100 ปีก่อนที่มันจะไหลลงท่ออกไป.  และท่อน้ำทิ้งในอ่างอาบน้ำ (ที่เรียกกันว่า “ซิงค์” ที่ดูดซับคาร์บอนจากอากาศ, เหมือนมหาสมุทรและป่า) กลายเป็นเล็กเกินไปเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณมหาศาลที่ไหลออกมาจากก๊อก.  และเกือบลืมไป, พวกเราก็กำลังช่วยกันทำให้ท่อน้ำทิ้งเล็กลงอย่างขยันขันแข็งด้วยการโค่นป่าและยัดเยียดคาร์บอนใส่เต็มมหาสมุทรด้วย.
This makes for a very different situation. Even if we cut our emissions by a third tomorrow, we would still be increasing the total amount in the bathtub:
อันนี้ทำให้เกิดสถานการณ์ที่แตกต่างอย่างมาก.  แม้ว่าเราจะลดการปล่อยก๊าซลงหนึ่งในสามได้พรุ่งนี้, เราจะยังคงเพิ่มปริมาณรวมในอ่าง:

National Geographic

The typical climate-policy targets that get thrown around — reducing emission rates by 80 percent by 2050, for example — are relatively meaningless. They focus on the rate of flow from the faucet. But that’s not what matters. What matters is the amount in the tub. If the tub fills up enough, global average temperature will rise more than 2 degrees Celsius and we’ll be in trouble. Avoiding that — staying within our “carbon budget” — is the name of the game.
เป้าหมายนโยบายภูมิอากาศที่เป็นแบบอย่างให้โยนไปโยนมา—เช่น ลดอัตราการปล่อยก๊าซให้ได้ 80% ภายในปี 2050—ค่อนข้างไร้ความหมาย.  พวกเขาเพ่งอยู่ที่อัตราการไหลเข้าทางก๊อกน้ำ.  แต่นั่นไม่สำคัญเท่าไร.  ที่สำคัญคือปริมาณในอ่าง.  หากอ่างเต็มพอ, อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะเพิ่มมากขึ้นกว่า 2 องศาเซลเซียส และ เราก็จะแย่.  เพื่อหลีกเลี่ยงจุดจบนั้น—ต้องอยู่ในขอบเขตของ “งบคาร์บอน”—เป็นชื่อของเกมนี้.
The public-policy implications are straightforward: Because CO2 is slow to drain, and the damages are cumulative, we need to reduce the amount of CO2 we’re spewing out of the faucet now, as much as possible, as quickly as possible. Yes, we’ll need new technologies and techniques to drive emissions down near to zero, and we should R&D the hell out of them. But we absolutely cannot afford to wait. There is no benign neglect possible here. Neglect is malign.
ความหมายโดยนัยของนโยบายสาธารณะง่ายๆ: เพราะ CO2 ไหลทิ้งได้ช้ามาก, และความเสียหายสะสม, เราจำเป็นต้องลดปริมาณ CO2 ที่เรากำลังพ่นออกมาจากก๊อก, มากที่สุดเท่าที่จะมากได้, เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้.  ถูกต้องครับ, เราจำเป็นต้องมีเทคโนโลยีและเทคนิคใหม่ๆ เพื่อขับการปล่อยก๊าซให้ลดลงจนเป็นศูนย์, และเราควรจะมี R&D (งานวิจัยและพัฒนา) เพื่อกำจัดพวกมันให้หมดสิ้น.  แต่เราไม่สามารถทนรออยู่ต่อไป.  ไม่มีการละเลยที่คิดว่ามันเป็นเนื้องอกที่ไม่เป็นอันตราย เป็นไปได้ที่นี่.  การละเลยคือ ความชั่วร้าย / เนื้อร้าย.
The second difference is that climate change is irreversible.
ความแตกต่างประการที่สอง คือ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงหวนคืนเดิมไม่ได้.
As Joe Romm notes in a recent post, New York Times columnist Joe Nocera slipped up in his latest column and referred to technology that would “help reverse climate change.” I don’t know whether that reflects Nocera’s ignorance or just a slip of the pen, but I do think it captures the way many people subconsciously think about climate change. If we heat the planet up too much, we’ll just fix it! We’ll turn the temperature back down. We’ll get around to it once the market has delivered economically ideal solutions.
ดังที่ โจ รอมม์ โพสต์เมื่อเร็วๆ นี้, นักข่าวนิวยอร์กไทมส์ โจ โนซีรา ลื่นไถลในคอลัมน์ล่าสุดของเขา และพูดถึงเทคโนโลยีที่จะ “ช่วยผันคืนภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง”.  ผมไม่รู้ว่า นั่นสะท้อนถึงความเขลาของโนซีรา หรือ เป็นเพียงไพล่เขียนผิด, แต่ผมไม่คิดว่าบทความนั้นได้จับวิธีที่หลายคนได้นึกคิดใต้จิตสำนึกเกี่ยวกับภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง.  หากเราทำให้โลกร้อนขึ้นมากเกินไป, เราจะแค่ซ่อมมัน!  เราจะลดอุณหภูมิลง.  เราจะข้ามพ้นมันไปได้ ทันทีที่ตลาดหาทางออกอุดมคติเชิงเศรษฐกิจได้.
But as this 2009 paper in Nature (among many others) makes clear, it doesn’t work that way:
แต่ดังที่บทความในปี 2009 ในวารสาร Nature (และอื่นๆ) ได้แสดงให้เห็นชัด, มันไม่ได้ทำงานแบบนั้น:
This paper shows that the climate change that takes place due to increases in carbon dioxide concentration is largely irreversible for 1,000 years after emissions stop. Following cessation of emissions, removal of atmospheric carbon dioxide decreases radiative forcing, but is largely compensated by slower loss of heat to the ocean, so that atmospheric temperatures do not drop significantly for at least 1,000 years. [my emphasis]
บทความนี้แสดงว่า ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เนื่องมาจากความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มสูงขึ้นนี้ ส่วนใหญ่ไม่สามารถเปลี่ยนคืนให้เหมือนเดิมได้เป็นเวลา 1,000 ปีหลังจากการปล่อยก๊าซหยุดลง.  หลังจากหยุดปล่อยก๊าซ, การขจัดคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากชั้นบรรยากาศ ลดการสะท้อนรังสี, แต่ส่วนใหญ่ชดเชยด้วยการสูญเสียความร้อนให้แก่มหาสมุทร, ดังนั้นอุณหภูมิในชั้นบรรยากาศไม่ลดอย่างมีนัยสำคัญเป็นเวลาอย่างน้อย 1,000 ปี.
This is not the time cycle of particulate pollution — days or weeks — it is the time cycle of the Earth’s basic biophysical systems, which move much more slowly. A thousand years is not “forever,” but in terms of human agency it might as well be.
นี่ไม่ใช่วัฏจักรเวลาของอนุภาคมลพิษ—วันหรือสัปดาห์—มันเป็นวัฏจักรเวลาของระบบชีว-กายภาพพื้นฐานของโลก, ที่เคลื่อนตัวช้ากว่ามากๆ.  หนึ่งพันปีไม่ใช่ “ชั่วนิรันดร์”, แต่ในแง่ของมนุษย์ มันอาจเป็นเช่นนั้น.
The damage we’re doing now is something the next 40 to 50 generations will have to cope with, even if we stop emitting CO2 tomorrow. And the CO2 we’ve already released has locked in another 50 or 100 years of damage (because of the slow draining). There is no “reversing” climate change. There is only reducing the amount we change the climate.
หายนะที่เรากำลังทำอยู่เดี๋ยวนี้ เป็นบางอย่างที่อนุชนข้างหน้าอีก 40-50 รุ่นจะต้องทนรับมือ, แม้ว่าเราจะหยุดการปล่อยก๊าซ CO2 พรุ่งนี้ได้.  และ CO2 ที่เราได้ปล่อยออกไปเรียบร้อยแล้ว ได้ติดกับในกระบวนก่อเกิดความเสียหายอีก 50 หรือ 100 ปี (เพราะไหลทิ้งได้ช้า).  ไม่มี “การหวนกลับ” ของภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง.  มีแต่ช่วยกันลดปริมาณที่เราเปลี่ยนภูมิอากาศ.
Both these facts about climate change set it apart from other environmental problems. They also, for what it’s worth, set it apart from social problems like poverty, crime, or poor healthcare. All of those problems are serious; they all have an impact on public health. But they can all be measurably affected by public policy within our lifetimes. They are bad but they are not cumulative. They are not becoming less solvable over time.
ข้อเท็จจริงทั้งสองเกี่ยวกับภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงได้ฉีกมันออกจากปัญหาสิ่งแวดล้อมอื่นๆ.  ข้อเท็จจริงเหล่านี้ก็ได้ฉีกมันออกจากปัญหาสังคมอื่นๆ ด้วย เช่น ความยากจน, อาชญากรรม, หรือ บริการสาธารณสุขที่ย่ำแย่.  ปัญหาทั้งหมดเหล่านี้สาหัสมาก; ทั้งหมดมีผลกระทบต่อสุขภาพสาธารณชน.  แต่ทั้งหมดก็สามารถกระทบชนิดวัดได้ ด้วยนโยบายสาธารณะในช่วงชีวิตของเรา.  พวกมันเลวร้าย แต่ก็ไม่สะสม.  มันไม่กลายเป็นเรื่องแก้ยากขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป.
Climate change, on the other hand, is forever.
ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง, ในทางตรงข้าม, อยู่ชั่วกัลปวสาน.
© 2013 Grist.org

David Roberts is the senior staff writer at Grist.org, an online journal of green politics and culture. He blogs there daily, even obsessively, mainly on politics and energy.
เดวิด โรเบิร์ต เป็นนักเขียนอาวุโสที่ Grist.org, วารสารออนไลน์การเมืองและวัฒนธรรมสีเขียว.  เขาเขียนใส่บล็อกทุกวัน, แม้ว่าจะอย่างหมกมุ่น, ส่วนใหญ่เป็นเรื่องการเมืองและพลังงาน.

Published on Wednesday, March 20, 2013 by Grist.org

Two Americas > Contrarian • 2 days ago
I think people do put the environment first already. It is a top priority. They see the environment as the enemy, to be changed, controlled, managed, exploited, killed and destroyed.
Any intrusions into suburbia by nature, and people kick into high gear, mowing and cutting and spraying or calling in the authorities to trap or shoot. Nature is a high priority - on the kill list.

Contrarian > Two Americas • 2 days ago
Unless some communications genius appears to rapidly lead to a change in this outlook -- unlikely, to say the least -- the deterioration of everyone's living conditions will continue at an ever increasing rate until . . . as the old saying goes, Nature bats last.

Two Americas > Contrarian • 2 days ago
Yes.
I am not sure how useful the phrase "nature bats last" is, since it will take nature thousands of years to recover now even if humans disappeared tomorrow.
Reality bats last, and the reality is that destroying the environment destroys us, and the reality is that this will happen within the lifetimes of most people alive today. That is a hell of a long bottom of the ninth inning, and the visiting team won't be around to see the outcome.
Humans could - theoretically - help nature recover, but that is rarely talked about. Maybe some survivors will be talking about that.

twinkie_defense > Two Americas • a day ago
The bottom of the barrel and saddest of all is that we will leave unattended piles of nuclear materials we have created that will mess with genetics as life struggles to return to our home planet.

SanctuaryOne > Contrarian • a day ago −
Contrarian: 'Nature bats last'.
Here's is perhaps an example of nature in its mysterious ways at work. Ironic isn't it? :
http://www.cbc.ca/news/world/s...

SanctuaryOne > Two Americas • a day ago
It's called 'Man Against Nature' and the worst offenders are the religious 'go ye forth and subdue the world' wackjobs, although these are by no means the only ones embracing this internecine ideology.

Bernard Berrier > SanctuaryOne • 7 hours ago
Man against nature, is self mutilating.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น