วันอาทิตย์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556

261. ความร่วมมือเมือง-ชนบท ในการสร้างระบบตลาดขายตรง เกื้อกูลกิจการครอบครัวเกษตรย่อย: บราซิล


261.  Urban-Rural Collaboration in Creating Direct Market Supporting Small Farm Family Enterprises: Brazil

Rede Raízes da Mata: Strengthening links between producers and consumers
by Nina Abigail Caligiorne Cruz , Fabricio Vassalli Zanelli , Heitor Mancini Teixeira , Irene Maria Cardoso
รีด ไรเซส ดา มาตา: เสริมความเข้มแข็งความเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค
-          นินา อบิเกล ครูซ ฯลฯ
ดรุณี ตันติวิรมานนท์ แปล
As in many other parts of the world, farmers in the Zona da Mata region, in the Brazilian state of Minas Gerais, were encouraged to take up the Green Revolution package. This model also prescribed integration with the international markets. Family farmers, however, have found that this model has not brought the promised benefits. Many different efforts have led to viable alternatives. One of these is Rede Raízes da Mata, started in 2011 as a joint initiative by a group of university students and local producers.
ดังเช่นคนอื่นมากมายใน ภาคส่วนอื่นๆ ในโลก, เกษตรกรใน ภูมิภาค ซอนา ดา มาตา, ในรัฐบราซิล ของ มินาส เกอราอิส, ถูกชักจูงให้รับปฏิวัติเขียว.  โมเดลนี้ ก็มีใบสั่งให้ผนวกรวมเข้าสู่ตลาดระหว่างประเทศ.  แต่ครอบครัวเกษตรกร พบว่า โมเดลนี้ ไม่ได้นำผลประโยชน์มาให้ตามสัญญา.  หลายๆ ความพยายามต่างๆ ได้นำไปสู่ทางเลือกที่ใช้ได้.  หนึ่งในนั้น คือ รีด ไรเซส ดา มาตา, ที่เริ่มต้นในปี ๒๕๕๔ ในฐานะโครงการร่วม โดยกลุ่มนักศึกษาในมหาวิทยาลัยกับผู้ผลิตท้องถิ่น.
Farming Matters | 29.2 | June 2013
Consumers have access to healthy food, and the opportunity to participate actively. Photos: Rede Raízesda Mata
As part of the democratisation process in Brazil at the end of the 1980s, many protests and movements were organised around the problems that existed in the rural areas, promoting the rights of small-scale farmers and seeking alternatives to the mainstream production model.
ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการประชาธิปไตย ในบราซิล ในตอนปลายทศวรรษ ๒๕๒๓, การประท้วงและการเคลื่อนไหวมากมายรอบๆ ปัญหาที่มีอยู่ในชนบท, เป็นการส่งเสริมสิทธิของเกษตรกรรายย่อย และ แสวงหาทางเลือกที่ต่างจากโมเดลการผลิตของกระแสหลัก.
In the Zona da Mata, many of these efforts were driven by the farmers themselves, founding various farmers’ unions (“Sindicatos de Trabalhadores Rurais”) and other rural organisations.
ใน ซอนา ดา มาตา, หลายความพยายาม ขับเคลื่อนโดยตัวเกษตรกรเอง, ด้วยการก่อตั้งสหภาพเกษตรกรต่างๆ และ องค์กรชนบทอื่นๆ.
They worked together with a group of students and lecturers from the Universidade Federal de Viçosa (UFV), and also with technicians and extension agents sensitive to the environmental and social degradation in the region, to create an NGO to promote an alternative ecological approach. This was named CTA-ZM, or the Centre for Alternative Technologies in Zona da Mata.
พวกเขาทำงานร่วมกับนักศึกษาและอาจารย์กลุ่มหนึ่ง จากมหาวิทยาลัย Federal de Viçosa (UFV), และร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและเจ้าหน้าที่ภาคสนามที่อ่อนไหวต่อความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมและสังคมในภาค, ได้สร้างเอ็นจีโอหนึ่งขึ้น เพื่อส่งเสริมแนวทางเลือกนิเวศ.  ชื่อว่า CTA-ZM, หรือ ศูนย์เทคโนโลยีทางเลือกใน ซอนา ดา มาตา.
Twenty-five years later, a visitor to the region can see many positive results, ranging from the ecological management of soils to the emergence of a strong organisation of women farmers. Throughout this period, the region has seen a drastic change in agricultural production and the way that farmers reach consumers with their products, which now include not only coffee but also dairy products, honey, vegetables, fruits, grains, amongst others.
หลังจากนั้น ๒๕ ปี, แขกผู้มาเยือนภาคนี้ สามารถเห็นผลบวกมากมาย, ตั้งแต่การจัดการดินเชิงนิเวศ จนถึง การเกิดขึ้นขององค์กรเกษตรกรหญิงที่เข้มแข็ง.   ตลอดช่วงเวลานี้, ภาคนี้ ได้เห็นความเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัดในการผลิตทางเกษตร และ ในหนทางที่เกษตรกรยื่นมือไปถึงผู้บริโภคด้วยผลิตผลของตน, ซึ่งตอนนี้ ไม่เพียงรวมกาแฟ แต่ยังมี ผลิตภัณฑ์นมโค, น้ำผึ้ง, ผัก, ผลไม้, ธัญพืช, และอื่นๆ.
A study conducted by CTA in 2009 identified several marketing possibilities in Zona da Mata, including street markets, farmers’ associations and co-operative sales points, door-to-door selling and the interest of different government agencies for locally-sourced products.
การศึกษาที่กระทำโดย CTA ในปี ๒๕๕๒ ได้ระบุความเป็นไปได้ในการตลาดหลายอย่าง ใน ซอนา ดา มาตา, เช่น ตลาดถนน, สมาคมเกษตรกร และ จุดขายของๆ สหกรณ์, การขยายเคาะประตู และ ความสนใจของหน่วยงานรัฐบาล สำหรับผลิตภัณฑ์ที่มาจากท้องถิ่น.
However, the commercialisation of agro-ecological products remained, and still remains, a great challenge. A lot of products are seasonal, and increasing the total output is difficult, as most farmers grow many different products simultaneously and experience limitations in terms of land and labour.
แต่ การพาณิชย์ของผลิตผลเกษตรนิเวศ ยังคงเป็นความท้าทายอย่างยิ่ง.  ผลิตผลส่วนใหญ่เป็นไปตามฤดูกาล, และ การเพิ่มปริมาณผลได้ทั้งหมดเป็นเรื่องยาก, เพราะเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกผลิตผลหลายอย่างแตกต่างกันพร้อมๆ กัน และ ต่างประสบข้อจำกัดเรื่อง ที่ดินและแรงงาน.
The existence of sanitary regulations which do not match the reality that family farmers face is also a big obstacle. The study mentioned that many of the difficulties faced by farmers could be reduced through an educational process based on the exchange of experiences and knowledge, developing farmers’ capacities to enhance already existing initiatives and raising their awareness of the mechanisms for achieving certain required market standards. The recommended strategies also included enhancing the value of products through, for example, the use of specific labels and logos and better packaging.
ข้อบังคับที่มีอยู่ด้านสุขอนามัย ที่ไม่สามารถเข้ากันได้กับความเป็นจริงที่ครอบครัวเกษตรกรเผชิญอยู่ ก็เป็นอุปสรรคใหญ่.  การศึกษาได้บรรยายว่า ความยากลำบากที่เกษตรกรเผชิญ สามารถลดลงได้ด้วยกระบวนการศึกษา ที่มีฐานบนการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความรู้, พัฒนาสมรรถนะของเกษตรกรให้ยกระดับการริเริ่มที่มีอยู่แล้ว และ ช่วยให้พวกเขาตื่นรู้ถึงกลไกที่จะทำให้บรรลุมาตรฐานบางประการที่ตลาดต้องการ.   ยุทธศาสตร์ที่แนะนำก็ยังรวมการเพิ่มคุณค่าของผลิตผลผ่าน, เช่น, การติดฉลากและยี่ห้อเฉพาะ และ การบรรจุภัณฑ์ที่ดีขึ้น.
 Every week, more than 200 different products in a list which changes seasonally. Photos: Rede Raízes da Mata

Rede Raízes da Mata / รีด ไรเซส ดา มาตา

After many small-scale attempts, the accumulated lessons learned led to the foundation of Rede Raízes da Mata (or the “Forest Roots Network”) in 2011 in a joint effort between producers, consumers, the university and CTA. The main goal of the network is to improve the commercialisation of local agro-ecological produce by establishing stronger links between producers and consumers.
หลังจากพยายามในขนาดเล็กหลายครั้ง, การถอดบทเรียนที่สะสม ได้กลายเป็นรากฐานของ รีด ไรเซส ดา มาตา (หรือ “เครือข่ายรากป่า”)  ในปี ๒๕๕๔ ในความพยายามร่วมระหว่างผู้ผลิต, ผู้บริโภค, มหาวิทยาลัย และ CTA.  เป้าหมายหลักของเครือข่าย คือ ปรับปรุงการค้าขายของผลผลิตเกษตรนิเวศท้องถิ่น โดยก่อตั้งความเชื่อมโยงที่เข้มแข็งกว่าระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค.
During the past two years it has worked on a co-operative basis, with farmers playing an active role in deciding what products will be provided, and determining the quantities and prices for each product. Consumers help to run the network as volunteers and active supporters, gaining both access to healthy, local and diverse food, and the opportunity to share their comments and suggestions.
ในสองปีที่ผ่านมา มันได้ทำงานแบบสหกรณ์, มีเกษตรกรเล่นบทรุกในการตัดสินใจว่าจะผลิตอะไร, และกำหนดปริมาณและราคาของผลผลิตแต่ละชนิด.  ผู้บริโภคได้ช่วยดำเนินการเครือข่ายด้วยการเป็นอาสาสมัคร และ ผู้สนับสนุนอย่างแข็งขัน, ทำให้เข้าถึงทั้งอาหารที่แข็งแรง, มาจากท้องถิ่นและหลากหลาย, และ โอกาสที่จะแบ่งปันความเห็นและคำแนะนำของตน.
Work is organised on a weekly basis and facilitated by a team of students from the university. A spreadsheet is made after consulting the farmers about the availability of products: every Monday, a new spreadsheet with the week’s offers is sent to all registered customers. They have until Wednesday to return their order by e-mail. All the producers are contacted every Wednesday with the order for their produce, specifying the amount to be delivered.
งานถูกจัดเป็นรายสัปดาห์ และ อำนวยความสะดวกโดยทีมนักศึกษาจากมหาวิทยาลัย.  หลังจากปรึกษากับเกษตรกร ก็ได้ทำบัญชีเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่มี: ทุกวันจันทร์, บัญชีใหม่แสดงสิ่งของที่สัปดาห์นี้จะมีขาย จะถูกส่งไปยังผู้บริโภคที่ได้ลงทะเบียนด้วย.  พวกเขามีเวลาถึงวันพุธ ที่จะสั่งสินค้าโดยทางอีเมล.  ผู้ผลิตทั้งหมดจะถูกติดต่อทุกๆ วันพุธ ด้วยใบสั่งสินค้าของพวกเขา, พร้อมทั้งระบุปริมาณที่ต้องการให้ส่ง.
Friday is the delivery day, when the producers bring their products before 3 p.m. to the network’s office, which is located inside the university campus (in a space where workshops, debates and several other activities also take place). Here all the produce is put together as individual packages for the customers by 6:30 p.m., when the office is open for people to collect their orders.
วันศุกร์ เป็นวันส่งของ, เมื่อผู้ผลิตนำผลิตผลของตนมาส่งที่ สนง ของเครือข่ายก่อนบ่ายสามโมง, ซึ่งตั้งอยู่ภายในตัวมหาวิทยาลัย (ในพื้นที่ๆ การประชุมเชิงปฏิบัติการ, การอภิปราย และ กิจกรรมอื่นๆ ได้เกิดขึ้นที่นั่น).  ที่นี่ ผลผลิตทั้งหมดถูกจัดให้เป็นห่อๆ ให้ลูกค้าภายใน ๑๘.๓๐ น., เมื่อ สนง เปิดให้ผู้คนมาเอาของตามสั่ง.
There are over three hundred consumers registered in the network today, most of whom pick up a personal package every week. The list from which they can choose currently contains more than two hundred products, including fruits and vegetables as well as fresh teas, coffee, beans, corn flour, artisanal breads and even natural cosmetics. This diverse range of products changes seasonally. The supply of products comes from seven individual farmers and nine different groups of family farmers in the region, including associations, co-operatives and production groups.
มีผู้บริโภคกว่า ๓๐๐ คนลงทะเบียนในเครือข่ายทุกวันนี้, ส่วนใหญ่จะมาหยิบห่อของตนทุกสัปดาห์.  รายการที่พวกเขาเลือกซื้อได้ ตอนนี้มีกว่า ๒๐๐ ชนิด, รวมทั้ง ผลไม้และผัก ตลอดจนของสด เช่น ชา, กาแฟ, ถั่ว, แป้งข้าวโพด, ขนมปังบ้าน และแม้แต่เครื่องสำอางค์.  ผลิตผลแปรเปลี่ยนหลากหลายตามฤดูกาล.  แหล่งของผลผลิตมาจากเกษตรกร ๗ ราย และ ๙ กลุ่มต่างๆ ของครอบครัวเกษตรกรในภาค, รวมทั้ง สมาคม, สหกรณ์ และ กลุ่มผลิต.

One of many efforts / หนึ่งในหลายความพยายาม

While family farmers are working to improve access to markets, they are also benefitting from an increasing demand from an urban population interested in consuming healthier, good quality, food that is not contaminated by pesticides and is free from GMOs. The Forest Roots Network is a small initiative that is very modest in terms of coverage when compared to most agribusinesses, but it is not the only one. Members of the network see themselves as a “complementary tool”.
ในขณะที่ครอบครัวเกษตรกรทำงานเพื่อปรับปรุงการเข้าถึงตลาด, พวกเราก็ได้รับประโยชน์จากความต้องการที่เพิ่มขึ้นจากประชากรเมือง ที่สนใจจะกินอาหารที่แข็งแรงกว่า, คุณภาพดี, อาหารที่ไม่ได้ปนเปื้อนด้วยยาฆ่าแมลงและปลอดจาก จีเอ็มโอ.  เครือข่ายรากป่า เป็นการริเริ่มน้อยๆ ที่ครอบคลุมย่อมๆ เมื่อเทียบกับ ธุรกิจเกษตร, แต่มันไม่ใช่เพียงแห่งเดียว.  สมาชิกของเครือข่าย เห็นตัวเองเป็น “เครื่องมือเกื้อกูล”.
As Edilei Cirilo da Silva, a farmer and member, says, “the network is an alternative that is helping to overcome the difficulty that farmers have in accessing the market. Of course, it’s not the only solution, but this kind of initiative can reach large numbers and play an important role encouraging and supporting farmers to produce food for the market, and also to feed themselves! The role of the network is also to strengthen the dialogue within society about the problems caused by modern agriculture. We need to work together with others and reach a wide variety of audiences, including workers, employees and civil servants, in order to break the myth that our products, because they are organic, are much more expensive than conventional ones.”
ดังที่ เอดิไร ซิริโล ดา ซิลวา, สมาชิกและเกษตรกรคนหนึ่ง, กล่าวว่า, “เครือข่ายเป็นทางเลือกที่ช่วยให้เอาชนะความยากลำบากที่เกษตรกรประสบในการเข้าถึงตลาด.  แน่นอน, มันไม่ใช่ทางออกเพียงทางเดียว, แต่เป็นการริเริ่มที่สามารถยื่นออกไปถึงคนจำนวนมาก และ เล่นบทบาทสำคัญในการจูงใจ และ สนับสนุนเกษตรกรให้ผลิตอาหารสำหรับตลาด, และเลี้ยงตัวเองด้วย!  บทบาทของเครือข่ายก็ยังช่วยเสริมเข้มแข็งการเสวนาแลกเปลี่ยนภายในสังคม เกี่ยวกับปัญหาที่เกิดจากเกษตรกรรมสมัยใหม่.  เราจำเป็นต้องทำงานร่วมกันกับคนอื่นๆ และ ยื่นไปถึงผู้ฟังหลากหลายกว้างขวาง, รวมทั้ง คนงาน, ลูกจ้าง และ ข้าราชการ, เพื่อทลายมายาคติ ที่ว่า ผลผลิตของเรา, เพราะว่ามันเป็นอินทรีย์, มีราคาแพงกว่าของในตลาดมากๆ”.
Such efforts are benefitting from innovative governmental policies. A good example is the PAA programme, established in 2003 by the national government to promote food security and strengthen family farming through the acquisition and distribution of food products. Family farmers can sell their products directly to the government for a fair price without going through a difficult and bureaucratic process. Some of the products are donated to public organisations such as popular restaurants, or to food banks from where they are distributed to vulnerable social groups. The other part is acquired by family farmers’ organisations in other regions.
ความพยายามเหล่านี้ ได้รับประโยชน์จากนโยบายนวัตกรรมของรัฐบาล.  ตัวอย่างที่ดี คือ โปรแกม PAA, ที่ตั้งขึ้นในปี ๒๕๔๖ โดยรัฐบาลกลาง เพื่อส่งเสริมความมั่นคงทางอาหาร และ ทำให้ครอบครัวเกษตรเข้มแข็ง ผ่านการจัดหาและกระจายผลิตผลอาหาร.  ครอบครัวเกษตรกร สามารถขายผลิตภัณฑ์ได้โดยตรงแก่รัฐบาล ในราคาเป็นธรรม โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการที่ลำบากและซับซ้อนของราชการ.  ผลิตภัณฑ์บางอย่างถูกบริจาคให้องค์กรสาธารณะ เช่น ร้านอาหารสาธารณะ, หรือ ธนาคารอาหาร ซึ่งจากจุดนั้น ก็ถูกกระจายสู่กลุ่มเปราะบางทางสังคม.  ส่วนอื่น ขายให้องค์กรครอบครัวเกษตรกรในภาคอื่น.
Another interesting measure was taken in 2009, with changes made to the implementation of the National Programme for School Nutrition. This has been running since 1955, supporting students enrolled in the public basic educational system. The law passed in 2009 stipulated that at least 30% of the programme’s resources (990 million reais, or 370 million euros, in 2012) must be used for purchasing products from family farmers.
อีกมาตรการที่น่าสนใจ เกิดขึ้นในปี ๒๕๕๒, ด้วยการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการดำเนินโปรแกมแห่งชาติเพื่อโภชนาการโรงเรียน, ซึ่งได้ดำเนินมาตั้งแต่ ปี ๒๔๙๘, เป็นการสนับสนุนนักเรียนที่เรียนอยู่ในระบบการศึกษาพื้นฐาน.  กฎหมายที่ออกมาในปี ๒๕๕๒ ระบุว่า อย่างน้อย 30% ของทรัพยากรของโปรแกม (๓๗๐ ล้านยูโร, ในปี ๒๕๕๕) จะต้องใช้เพื่อซื้อผลิตภัณฑ์จากครอบครัวเกษตรกร.

A win-win model / โมเดล ชนะทุกฝ่าย

The Forest Roots Network serves as a bridge between local production and consumption, and strengthens the links between farmers and consumers. Through the network, farmers are able to sell small quantities of many different products for a fair price. This turns their production on small plots of land into a viable and profitable enterprise, resulting in higher biodiversity levels.
เครือข่ายรากป่า ทำหน้าที่เป็นสะพานระหว่างการผลิตและการบริโภคท้องถิ่น, และ ช่วยให้ความเชื่อมโยงระหว่างเกษตรกรและผู้บริโภคเข้มแข็งขึ้น.  ด้วยเครือข่าย, เกษตรกรสามารถขายผลผลิตหลากหลายในปริมาณน้อย ในราคาเป็นธรรม.  ซึ่งช่วยให้การผลิตในแปลงเล็กๆ ให้เป็นกิจการที่งอกงามและทำกำไรได้, ยังผลให้มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงขึ้น.
Although small, the Forest Roots Network represents a significant movement towards reorganising the agri-food systems, helping to reshape social relations and creating new market structures. The initiative contributes to raising consumer awareness about agro-ecology and local food, and has already inspired the creation of new consumer networks in two other municipalities in the region.
แม้ว่าจะเล็กๆ, เครือข่ายรากป่า เป็นตัวแทนของการเคลื่อนไหวที่มีนัยสำคัญ สู่ระบบอาหาร-เกษตร, ด้วยการช่วยปรับทิศทางความสัมพันธ์ทางสังคม และ สร้างโครงสร้างตลาดใหม่.  ความริเริ่มนี้ ได้ช่วยยกระดับความตื่นตัวของผู้บริโภคเกี่ยวกับเกษตรนิเวศ และ อาหารท้องถิ่น, และ ได้เป็นแรงบันดาลใจของเครือข่ายผู้บริโภคใหม่ในอีกสองเทศบาลในภาคนี้.

Nina Abigail Caligiorne Cruz, Fabricio Vassalli Zanelli and Heitor Mancini Teixeira are students and graduates of the Universidade Federal de Viçosa. Irene Maria Cardoso works as lecturer at the same university.
E-mail: heitorteixeira_5@hotmail.com

References
Cardoso, I. M. and E. A. Ferrari, 2006. Construindo o conhecimento agroecológico: trajetória de interação entre ONG, universidade e organizações de agricultores. Revista Agriculturas, v. 3-4.

Grisa, C.; C.J. Schmitt, L. Mattei, R. Maluf and S. Leite, 2011. Contribuições do Programa de Aquisição de Alimentos à segurança alimentar e nutricional e à criação de mercados para a agricultura familiar. Revista Agriculturas, v. 8-3.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น