วันอังคารที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2556

235. วีรบุรุษของโลกามาตา


235.  Hero of Mother Earth

Released Tim DeChristopher Finds a Movement Transformed by His Courage
A climate justice activist's cause for celebration
 by Melanie Jae Martin, 4-23-13
ทิม เดอคริสโตเฟอร์ ถูกปล่อยออกมา พบว่า การเคลื่อนไหวพลิกโฉมไปด้วยความกล้าหาญของเขา
เหตุของนักรณรงค์ภูมิอากาศคนหนึ่ง ที่ควรแก่การเฉลิมฉลอง
โดย เมลานี เจ มาร์ติน

“We hold the power right here to create our vision of a healthy and just world, if we are willing to make the sacrifices to make it happen.” –Tim DeChristopher in 2011
“พวกเราถืออำนาจในมือที่ตรงนี้ เพื่อสร้างวิสัยทัศน์แห่งโลกที่แข็งแรงและเป็นธรรม, หากพวกเรายินดีที่จะเสียสละเพื่อทำให้มันเกิดขึ้นได้”. –ทิม เดอคริสโตเฟอร์ ในปี 2011

Tim DeChristopher at a climate rally before serving a two year prison sentence. (Flickr/350.org)
Yesterday, after 21 months in federal custody, climate activist Tim DeChristopher approached the pulpit at his church in Salt Lake City, Utah, as a free man. The First Unitarian congregation rose in uproarious applause, tears streaming down more than a few faces. “It’s good to be home,” DeChristopher told the crowd.
เมื่อวาน, หลังจากถูกคุมขังอยู่นาน 21 เดือน, นักรณรงค์ ทิม เดอคริสโตเฟอร์ ได้เดินไปที่แท่นเทศนา ที่โบสถ์ของเขาใน ซอลต์เลคซิตี้, รัฐอูทาห์, ในฐานะเสรีชน.  สาธุชนที่มาร่วมบูชาพระเจ้าที่โบสถ์ เฟริสต์ยูนิทาเรียน ลุกขึ้นและปรบมือเสียงดังสนั่น, น้ำตาไหลร่วงบนใบหน้าบางคน.  “มันดีเหลือกเกินที่ได้กลับมาบ้าน”, เดอคริสโตเฟอร์ กล่าวต่อฝูงชน.
During his sermon, he said that he had never expected to change the oil and gas industry alone. “But I thought that I could change people like you, and I knew people like you have a lot of power.”
ในระหว่างการเทศน์ของเขา, เขากล่าวว่า เขาไม่เคยคาดคิดที่จะเปลี่ยนลำพังอุตสาหกรรมน้ำมันและแก๊ส.  “แต่ผมคิดว่า ผมอาจสามารถเปลี่ยนคนเช่นพวกคุณ, และผมก็รู้ว่า คนเช่นพวกคุณ มีพลังอำนาจมากมาย”.
The story of how DeChristopher landed in prison is well known. On Dec. 19, 2008, he walked into an oil and gas auction in Salt Lake City, where the Bureau of Land Management was auctioning off leases to drill on public lands. When asked if he had come to bid, DeChristopher, somewhat startled, said yes. He took a paddle, labeled “Bidder 70,” and without any plan as to what he would do with it, entered the auction. But then, when he saw a friend across the room break down in tears over the potential loss of wild lands, an idea came to him. He began raising his paddle to bid. By the end, he’d amassed a total of 22,500 acres at a price of $1.8 million.
เรื่องเล่าถึงเดอคริสโตเฟอร์ ว่าไปลงเอยในคุกได้อย่างไร เป็นที่รู้กันดีอยู่.  เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2008, เขาเดินเข้าไปในเวทีประมูลน้ำมันและแก๊ส ใน ซอลต์เลคซิตี้, ที่ๆ สนง จัดการที่ดิน กำลังประมูลสัญญาเช่าให้ขุดเจาะบนที่สาธารณะได้.  เมื่อถูกถามว่า เขามาเพื่อประมูลหรือ, เดอคริสโตเฟอร์ สะดุ้ง, และตอบว่า ใช่.  เขาหยิบไม้พาย, ติดฉลาก “ผู้ประมูล 70”, และ โดยปราศจากแผนใดๆ ว่าจะทำอย่างไรกับไม้พายนั้น, ได้เดินเข้าห้องประมูล.  แต่แล้ว, เมื่อเขาเห็นเพื่อนคนหนึ่งปล่อยโฮ น้ำตาร่วง กับความเป็นไปได้ที่จะสูญที่ป่ารกชัฏ, ความคิดก็ผุดขึ้นในหัวของเขา.  เขาเริ่มยกไม้พาย และร่วมวางเดิมพันขันต่อ.  ท้ายที่สุด, เขาได้รวบรวมที่ดินทั้งหมด 22,500 เอเคอร์ ด้วยราคา $1.8 ล้าน.
Although the Obama administration later declared the auction illegal, and DeChristopher eventually raised enough money to buy the land he had bid on, two of the felony charges against him stuck. After a trial delayed nine times by the prosecution, he finally received a two-year sentence in July 2011.
แม้ว่ารัฐบาลโอบามาจะได้ประกาศภายหลังว่า การประมูลครั้งนั้น ผิดกฎหมาย, และ เดอคริสโตเฟอร์ ในที่สุดก็ระดมเงินได้มากพอที่จะซื้อที่ดินที่เขาประมูลมาได้, เขาก็ถูกฟ้องร้องด้วยข้อหาอาชญากรรมสองกระทง.  หลังจากการการสอบสวนที่เลื่อน 9 ครั้ง โดยฝ่ายผู้ดำเนินคดี, ในที่สุดเขาก็ถูกพิพากษาให้จำคุก 3 ปี ในเดือนกรกฎาคม 2011.
But that’s the Tim DeChristopher story you already know. What often gets overlooked in this folk-hero tale of a man who went to jail for his principles is that DeChristopher didn’t want to be the only hero. And so he became one of the most consistent and strongest voices for direct action and civil disobedience in the movement, urging environmental groups to use personal sacrifice as means of becoming more effective.
แต่นั่นเป็นเรื่องของ ทิม เดอคริสโตเฟอร์ ที่คุณรู้อยู่แล้ว.  สิ่งที่มักถูกมองข้ามในนิทานวีรบุรุษลูกทุ่งของชายคนหนึ่งที่เดินเข้ากรงขัง เพื่อหลักการของเขา คือ เดอคริสโตเฟอร์ ไม่ต้องการจะเป็นวีรบุรุษเพียงคนเดียว.  ดังนั้น เขาได้กลายเป็นหนึ่งในบรรดาเสียงที่สม่ำเสมอและเข้าแข็งที่สุด ให้ใช้วิธีปฏิบัติการตรง และ กระทำอารยะขัดขืน ในการขับเคลื่อน, ชักชวนกลุ่มสิ่งแวดล้อมให้ใช้การเสียสละส่วนตัว เป็นหนทางที่จะทำให้เกิดประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น.
By showing that people who don’t hold positions of authority can successfully confront injustice, his example helped to build the climate justice group Peaceful Uprising, changed the tactics of the nation’s most established environmental organizations and helped shape the mass climate movement, which turned out nearly 50,000 people on the National Mall in Washington, D.C., in February.
ด้วยการแสดงให้เห็นว่า ประชาชนที่ไม่ได้มีตำแหน่งอำนาจหน้าที่ทางการ สามารถจะผจญกับความอยุติธรรมได้สำเร็จ, ตัวอย่างของเขา ช่วยสร้างกลุ่มภูมิอากาศเป็นธรรม ชื่อ การลุกฮืออย่างสันติ, ได้เปลี่ยนยุทธวิธีของเหล่าองค์กรสิ่งแวดล้อมที่เป็นที่ยอมรับมากที่สุด และได้ช่วยปรับทิศทางลักษณะของขบวนการภูมิอากาศมวลชน, ที่มีปรากฏว่ามีคนเกือบ 50,000 คนเข้าร่วมที่ลานแห่งชาติ ในกรุงวอชิงตัน ดีซี ในเดือนกุมภาพันธ์.

Realizing the time to act is now / ด้วยความตระหนักว่า เวลาปฏิบัติการ คือ เดี๋ยวนี้

It’s important to remember how much things have changed over the past few years in the climate justice movement, which emphasizes the effects of climate change on human rights — particularly on the world’s most marginalized people. When DeChristopher began speaking publicly about his action, the most popular approach in the movement could be described as “Let’s wait until we’re big enough and act then.”
ที่สำคัญ จะต้องระลึกว่า หลายสิ่งหลายอย่างได้เปลี่ยนไปอย่างมากในช่วงสองสามปีที่ผ่านมา ในขบวนการภูมิอากาศเป็นธรรม, ที่เน้นผลของภูมิอากาศแปรปรวนต่อสิทธิมนุษยชน—โดยเฉพาะ ในเหล่าประชากรที่อยู่ชายขอบที่สุด.  เมื่อเดอคริสโตเฟอร์ ได้เริ่มพูดในที่สาธารณะเกี่ยวกับปฏิบัติการของเขา, แนวทางการขับเคลื่อนที่นิยมกันมากที่สุด อาจบรรยายได้เป็น “รอจนกว่าพวกเราจะใหญ่พอแล้วจึงปฏิบัติการ”.
DeChristopher saw things differently, and he wasn’t afraid to say so. He thought the movement already had the numbers it needed to succeed if people would step up and act — with the belief that their actions would propel more people into motion and build the movement’s numbers. He began to argue that groups like 350.org needed to stop waiting and start using civil disobedience now.
เดอคริสโตเฟอร์ ได้เห็นสิ่งต่างๆ ไม่เหมือนเช่นนี้, และ เขาก็ไม่กลัวที่จะบอกเช่นนั้น.  เขาคิดว่า การขับเคลื่อนได้ขยายในแง่จำนวนที่มันจำเป็นต้องมี เพื่อทำให้สำเร็จ หากประชาชนจะลุกขึ้น ก้าวออกมา และ ปฏิบัติ—ด้วยความเชื่อว่า ปฏิบัติการของพวกเขา จะขับดันประชาชนให้เริ่มขยับตัวเข้าร่วมและสร้างปริมาณผู้ร่วมขบวนการมากขึ้น.  เขาเริ่มโต้แย้งว่า กลุ่มเช่น 350.org จำเป็นต้องหยุดรอ และ เริ่มกระทำอารยะขัดขืน เดี๋ยวนี้.
“We hold the power right here to create our vision of a healthy and just world, if we are willing to make the sacrifices to make it happen,” he said at the 2011 Power Shift conference in Washington, D.C. “Mountaintop removal and climate change and all the other injustices we are experiencing are not being driven solely by the coal industry, solely by lobbyists or solely by the failure of our politicians. They’re also happening because of the cowardice of the environmental movement.”
“พวกเราถืออำนาจในมือที่ตรงนี้ เพื่อสร้างวิสัยทัศน์แห่งโลกที่แข็งแรงและเป็นธรรม, หากพวกเรายินดีที่จะเสียสละเพื่อทำให้มันเกิดขึ้นได้”, เขากล่าว ในปี 2011 ณ ที่ประชุม ขยับอำนาจ ในกรุงวอชิงตัน ดีซี.   “การตัดยอดภูเขา และ ภูมิอากาศแปรปรวน และ ความอยุติธรรมอื่นๆ ทั้งหลาย ที่พวกเรากำลังเผชิญอยู่ ไม่ได้ผล้กดันโดยอุตสาหกรรมถ่านหินถ่ายเดียว, โดยนักล็อบบี้ถ่ายเดียว หรือ โดยความล้มเหลวของนักการเมืองของพวกเรา.  มันเกิดขึ้นได้ด้วยเพราะความขี้ขลาดของขบวนการสิ่งแวดล้อม”.
Shortly after the Bidder 70 action, DeChristopher founded Peaceful Uprising, or PeaceUp, with his friend from the University of Utah, Ashley Anderson. Their intention was to radicalize the movement by making civil disobedience more the norm than the exception.
ไม่นานหลังจาก การปฏิบัติการ ของผู้ประมูลหมายเลข 70, เดอคริสโตเฟอร์ ได้ก่อตั้ง “การลุกฮืออย่างสันติ”, (Peaceful Uprising, หรือ PeaceUp), กับเพื่อน จากมหาวิทยาลัย อูทาห์, Ashley Anderson.  ความตั้งใจของพวกเขา คือ ปลุกขบวนการให้สะดุ้งตื่นถึงรากฐาน ด้วยการกระทำอารยะขัดขืน เป็นบรรทัดฐานมากกว่าเพียงคาดหวัง.
“Peaceful Uprising realized something was building,” Anderson said, referring to public understanding of climate change. But the group’s members believed that taking full advantage of that was “going to require revolutionary change.”
“การลุกฮืออย่างสันติ ตระหนักว่า บางสิ่งบางอย่างกำลังก่อตัวขึ้น”, แอนเดอร์สันกล่าว, ซึ่งหมายถึงความเข้าใจของสาธารณชนต่อภาวะภูมิอากาศผันผวน.  แต่สมาชิกของกลุ่มเชื่อว่า จะฉวยโอกาสนี้ได้อย่างเต็มที่ “ต้องมีการเปลี่ยนแปลงขนาดปฏิวัติ”.
PeaceUp aimed to push people to sacrifice their own comfort and take bolder action for the sake of a liveable future. That may sound a little austere, but the group managed to make it rejuvenating and joyful by cultivating a supportive community.
PeaceUp  เน้นที่การผลักดันให้ประชาชนเสียสละความสบายส่วนตัว และ ปฏิบัติการที่กล้าหาญ เพื่อให้ (โลกใน) อนาคต (ยัง) อยู่อาศัยได้.  นั่นอาจฟังเข้มงวดไปหน่อย, แต่กลุ่มก็สามารถจัดการให้มันกระปรี้กระเปร่า และ มีความผาสุก ด้วยการบ่มเพาะชุมชนที่เกื้อกูลกัน.
Before his imprisonment, DeChristopher continued to speak publicly about the need for escalation. While he didn’t berate 350.org or other climate justice groups, his message was clearly aimed at them. He criticized the movement for focusing on mass gatherings that resulted in statements rather than action.
ก่อนการจำคุก, เดอคริสโตเฟอร์ ยังคงพูดในที่สาธารณะไปเรื่อยๆ เกี่ยวกับความจำเป็นที่ต้องเพิ่มระดับการขับเคลื่อน.  ในขณะที่เขาไม่ได้ ตำหนิ 350.org หรือ องค์กรภูมิอากาศเป็นธรรมอื่นๆ, สาระที่เขาพูด เห็นชัดว่า เล็งไปที่พวกเขา.  เขาวิจารณ์ขบวนการว่า มุ่งสร้างมวลชนเพื่อเขียนเป็นแถลงการณ์ แทนที่จะเป็นปฏิบัติการ.

A movement transformed / พลิกโฉมขบวนการ

Little by little, DeChristopher’s message was catching on through a series of events — each one larger than the last — that used civil disobedience. In April 2011, more than 350 climate justice supporters staged a sit-in at the Department of the Interior, and 21 were arrested. Among the participants was 58-year-old University of Utah librarian Joan Gregory, a founding member of Peaceful Uprising, who remains active to this day. It was her first arrest.
ทีละน้อยๆ, สาระสื่อจาก เดอคริสโตเฟอร์ ก็เริ่มติดเครื่องผ่านกิจกรรมที่ต่อเนื่อง—แต่ละครั้งใหญ่กว่าครั้งก่อนหน้า—ที่ใช้ อารยะขัดขืน.  ในเดือน เมษายร 2011, ผู้สนับสนุนภูมิอากาศเป็นธรรม กว่า 350 คน ได้นั่งประท้วงที่ กระทรวงมหาดไทย, และ 21 คนถูกจับกุม.  ในบรรดาผู้เข้าร่วม คือ บรรณารักษ์ อายุ 58 ของมหาวิทยาลัย อูทาห์ โจแอน เกรกอรี, หนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งของ ลุกฮืออย่างสันติ, ผู้ยังคงเข้มแข็งเชิงรุกทุกวันนี้.  มันเป็นการถูกจับกุมครั้งแรกของเธอ.
The demonstrators stormed the building despite a line of guards attempting to block the entrance. Police threatened them with felony charges, but Joan refused to leave. “I knew I couldn’t get up, no matter what it was,” she said. “I couldn’t not take action at that point.”
ขบวนประท้วงตะลุยเข้าอาคารทั้งๆ ที่มีแนวหน่วย รปภ พยายามขวางกั้นที่ทางเข้า.  ตำรวจขู่ว่าจะตั้งข้อหาอาชญากรรม, แต่โจแอน ปฏิเสธที่จะถอย.  “ฉันรู้ว่าฉันลุกขึ้นไม่ได้, ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้น”, เธอกล่าว.  “ฉันไม่สามารถที่จะไม่ปฏิบัติการ ณ จุดนั้น”.
According to Peaceful Uprising director Henia Belalia, the Department of the Interior action stemmed from frustration over the movement’s lackluster response to the BP oil spill in 2010, as well as Tim’s impending imprisonment. “People were outraged and heartbroken,” she explained, “and they were going to do something about it, rather than just sit with the pain.”
ตามคำบอกเล่าของ ผอ ลุกฮืออย่างสันติ เฮเนีย เบลาเลีย, ปฏิบัติการที่กระทรวงมหาดไทย เกิดขึ้นจากอึดอัดผิดหวังจากการที่ขบวนการไร้วี่แวว จะตอบสนองต่อ เหตุการณ์ที่ บีพี ทำน้ำมันกระเซ็นเปื้อนมหาสมุทร ในปี 2010, ตลอดจนการจำคุกของทิมที่รออยู่.  “ประชาชนรู้สึกโกรธแค้นและอกหัก”, เธออธิบาย, “และพวกเขาก็ต้องการทำบางสิ่งบางอย่าง, แทนที่จะแค่นั่งจมกัความระทมทุกข์”.
A few months later, in August 2011, DeChristopher’s message came to life in a monumental way. During two weeks of sit-ins organized by the 350.org-affiliated Tar Sands Action, 1,253 people were arrested while protesting the Keystone XL pipeline. It was not only the largest civil disobedience demonstration by the climate movement but also the largest in decades for any environmental issue in the United States.
สองสามเดือนต่อมา, ในเดือนสิงหาคม 2011, สาส์นของ เดอคริสโตเฟอร์ ได้เริ่มมีชีวิตชีวาอย่างมโหฬาร.  ในช่วงสองสัปดาห์ของการนั่งประท้วง ที่จัดกระบวนโดย ปฏิบัติการดินทรายน้ำมัน ที่สังกัด 350.org, ประชาชน 1,253 คน ถูกจับกุม ในระหว่างการประท้วง ท่อส่ง Keystone XL pipeline.  มันไม่เป็นเพียงการประท้วงแบบอารยะขัดขืนที่ใหญ่ที่สุด โดยขบวนการภูมิอากาศ แต่ยังใหญ่ที่สุดในทศวรรษ สำหรับประเด็นสิ่งแวดล้อมใดๆ ในสหรัฐฯ.
“Tim’s act helped break civil disobedience out of the domain of radicals and marginal activist culture,” said Tar Sands Action coordinator Matt Leonard. “That openness is a big part of how we mobilized the 1,253 people that were arrested in the Tar Sands Action, and a part of the near-daily actions that have happened on the Keystone pipeline this past year.”
“ปฏิบัติการของทิม ได้ช่วยให้อารยะขัดขืนแหกจากคอกของวัฒนธรรมของนักกิจกรรมห้วรุนแรงและอยู่ชายขอบ”, ผู้ประสานงาน ปฏิบัติการดินทรายน้ำมัน แมท เลียวนาร์ด กล่าว.  “ความเปิดกว้างนั้น ส่วนใหญ่เป็นการระดมคนได้ 1,253 คน ที่ถูกจับกุมใน ปฏิบัติการดินทรายน้ำมัน, และ อีกส่วน เป็นการปฏิบัติการที่เกิดขึ้นเกือบทุกวันใน Keystone pipeline เมื่อปลายปีที่แล้ว”.
350.org founder Bill McKibben agreed, saying that DeChristopher “was and is a complete inspiration to all of us. His courage permeated everyone’s thinking.” While McKibben’s current work does not revolve solely around civil disobedience — he’s been building a successful divestment campaign over the course of the past year — the mass civil disobedience actions have demonstrated the campaign’s resolve.
ผู้ก่อตั้ง 350.org บิลล์ แมคกิบเบน เห็นด้วย, บอกว่า เดอคริสโตเฟอร์ “เป็นแรงบันดาลใจเบ็ดเสร็จของพวกเราทั้งหมด.  ความอาจหาญของเขา แทรกซึมอยู่ในความคิดของทุกคน”.   ในขณะที่ งานปัจจุบันของ แมคกิบเบน ไม่ได้ออกมาในรูปอารยะขัดขืนเท่านั้น—เขาได้สร้างการรณรงค์ผันการลงทุนที่ประสบความสำเร็จในช่วงปีกลาย—การกระทำอารยะขัดขืนมวลชน เป็นการแสดงให้เห็นถึงผลของการรณรงค์.
In turn, those actions likely provided the inspiration for the Sierra Club’s recent reversal of its 121-year-old ban on civil disobedience. Soon after, club leaders cuffed themselves to the White House gates, again over the issue of the Keystone XL pipeline.
ในทางกลับกัน, ปฏิบัติการเหล่านั้น ได้ให้แรงบันดาลใจแก่ เซียร์ร่าคลับ ให้ปลดการคว่ำบาตรที่นาน 121ปี ต่ออารยะขัดขืน.  ไม่นานหลังจากนั้น ผู้นำคลับ ได้ใส่กุญแจมือล็อคตัวเองไว้ที่ประตูรั้วของทำเนียบขาว, ตอกย้ำประเด็น Keystone XL pipeline.

Not just peaceful, but joyful / ไม่เพียงแต่สันติ แต่ยังสุขสันต์ด้วย

Peaceful Uprising’s emphasis on community-building is another testament to the lasting impact of DeChristopher’s work. The group strives to maintain an attitude of joy and resolve, with the goal of drawing new members and keeping them in the movement for the long haul by fostering a supportive, fun, community-centered culture. As DeChristopher often said, “We will be a movement when we sing like a movement.”
จุดเน้นของ ลุกฮืออย่างสันติ ในเรื่องการสร้างชุมชน เป็นข้อพิสูจน์ถึงผลกระทบอันยาวนานของผลงานของ เดอคริสโตเฟอร์.  กลุ่มได้บากบั่นธำรงทัศนคติของความสุขและความมุ่งมั่น, ด้วยเป้าหมายของการดึงสมาชิกใหม่เข้ามา และ ทำให้พวกเขาอยู่กับขบวนการนานๆ ด้วยการเพาะวัฒนธรรมที่มีชุมชนที่เกื้อกูลและสนุกสนาน เป็นศูนย์กลาง.  ดังที่ เดอคริสโตเฟอร์ ได้บอก, “พวกเราจะเป็นขบวนการ เมื่อพวกเราร้องเพลงเหมือนขบวนการ”.
PeaceUp members have taken those words literally. At actions, its members can always be found singing upbeat, folksy songs, from “If I Had a Hammer” to “Have You Been to Jail for Justice?” Through song, colorful art like its giant paper mache puppets and the deep sense of camaraderie its members share, Peaceful Uprising has been successfully building a nurturing culture.
สมาชิกของ PeaceUp ได้จำคำเหล่านั้นใส่ใจและทำตามด้วย.  ในปฏิบัติการ, จะพบสมาชิกร้องเพลงเสมอ ในเพลงโฟล์ค จังหวะสนุกๆ ตั้งแต่ “หากฉันมีค้อน” จนถึง “คุณเคยถูกขังเพื่อเรียกร้องความยุติธรรมไหม?”   ด้วยเพลง, ศิลปะสีสันสดใส เช่น หุ่นกระดาษยักษ์ และ ความรู้สึกลึกๆ ของสหายที่แบ่งปันในระหว่างสมาชิก, ลุกฮืออย่างสันติ ได้สร้างวัฒนธรรมที่หล่อเลี้ยงได้สำเร็จ.
Maintaining a joyful presence is part of Peaceful Uprising’s strategy of merging resilience and resistance. Instead of getting bogged down in campaigns that do nothing but oppose unwanted things, PeaceUp goes a step further and tries to embody the world its members want to create. For example, group members select a “hot spot” and “cool spot” for every campaign — the hot spot representing an injustice members want to stop and the cool spot representing a positive change that they want to create or bolster.
การธำรงบรรยากาศของความสุขสันต์ เป็นยุทธศาสตร์ส่วนหนึ่งของ ลุกฮือฯ ในการเชื่อมรวมความยืดหยุ่น และการต่อต้าน.  แทนที่จะเคร่งเครียดมึนตึงในการรณรงค์ที่ ไม่ทำอะไรเลย นอกจากคัดค้านสิ่งที่ไม่ต้องการ, ลุกฮือฯ ได้ก้าวไปไกลกว่านั้น และ ได้พยายามแปรตัวเองให้เป็นโลกที่สมาชิกต้องการสร้าง.  เช่น สมาชิกกลุ่มเลือก “จุดร้อน” และ “จุดเย็น” สำหรับการรณรงค์ทุกครั้ง—จุดร้อน หมายถึง ความไม่ยุติธรรม ที่สมาชิกต้องการหยุด และ จุดเย็น หมายถึง การเปลี่ยนแปลงเชิงบวก ที่พวกเขาต้องการสร้าง หรือ เสริม.
Peaceful Uprising also models how a small group of committed people with little background in activism can quickly become a powerful force for change. Members have gained experience in legal observation, media relations, jail support and other elements of direct action, and they now serve as a valuable resource for the local community by providing trainings in nonviolent direct action.
ลุกฮือฯ ยังเป็นต้นแบบของการที่กลุ่มเล็กๆ ของประชาชน ที่ผูกพันกับประชาชนที่มีพื้นเพด้านกิจกรรมรณรงค์เพียงเล็กน้อย สามาระจะกลายเป็นพลังที่ทรงอำนาจในการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร.  สมาชิกได้เพิ่มประสบการณ์ในการสังเกตการณ์ทางกฎหมาย, สื่อสัมพันธ์, ยอมถูกคุมขัง และปัจจัยอื่นๆ ในปฏิบัติการตรง, และพวกเขาได้ทำหน้าที่เป็นทรัพยากรอันมีค่าสำหรับชุมชนท้องถิ่น ด้วยการให้การฝึกอบรมในการกระทำอารยะขัดขืนทางตรง.
The continued influence of Peaceful Uprising in Utah and within the broader climate justice movement testifies to the significance of Tim’s closing statement at his sentencing in July 2011: “You can steer my commitment to a healthy and just world if you agree with it, but you can’t kill it. This is not going away. At this point of unimaginable threats on the horizon, this is what hope looks like. In these times of a morally bankrupt government that has sold out its principles, this is what patriotism looks like. With countless lives on the line, this is what love looks like, and it will only grow.”
อิทธิพลต่อเนื่องของ ลุกฮือฯ ในอูทาห์ และ ภายในวงกว้างกว่าของขบวนภูมิอากาศเป็นธรรม ได้พิสูจน์ให้เห็นนัยสำคัญของ แถลงการณ์ปิดของทิม เมื่อเขาถูกพิพากษาในเดือน กรกฎาคม 2011: “คุณสามารถคัดท้าย นำทางให้พันธสัญญาของผมไปสู่โลกที่แข็งแรงและเป็นธรรม หากคุณเห็นด้วยกับมัน, แต่คุณไม่สามารถฝฆ่ามันได้.  พันธสัญญานี้จะไม่หายไป.  ณ จุดนี้ ที่ภัยพิบัติที่ไม่อาจจินตนาการได้ ปรากฏตัวแล้วที่ขอบฟ้า, นี่คือหน้าตาของความหวัง.  ในห้วงเวลาของรัฐบาลที่ล้มละลายทางศีลธรรม ที่ได้ขายหลักการ, นี่คือหน้าตาของความรักชาติ.  ด้วยชีวิตเรียงกันเป็นแถว นับไม่ถ้วน, นี่คือ หน้าตาของความรัก, และ มันจะมีแต่เจริญงอกงาม”.
And that is precisely what happened, which is why the celebration yesterday and today is not just about one man’s release from prison. It’s also his influence on the powerful movement that transpired in his absence.
และนั่นคือ สิ่งที่ได้เกิดขึ้น, ซึ่งเป็นสาเหตุว่า ทำไมการเฉลิมฉลองเมื่อวาน และ วันนี้ จึงไม่ใช่เพียงเพื่อการปลดปล่อยชายคนหนึ่งจากคุก.  ยังเป็นอิทธิพลของเขาต่อขบวนการที่ทรงพลังอำนาจ ที่ได้ปลดปล่อยออกมาในยามที่เขาไม่อยู่.
Already, others are taking his place in prison. As Tim mentioned in his sermon yesterday, biologist and author Sandra Steingraber and two other activists were just imprisoned for 15 days after blocking access to a fracking gas storage site in New York to protect drinking water.
ตอนนี้, มีคนอื่นๆ แทนที่เขาในคุก.  ดังที่ ทิม ได้บรรยายในการเทศน์เมื่อวานนี้, นักชีววิทยา และ นักเขียน แซนดรา สไตน์เกรเบอร์ และ นักกิจกรรมอีกสองคน ถูกจองจำเป็นเวลา 15 วัน หลังจากขวางทางเข้าสู่โกดังแสจากการ fracking ในนิวยอร์ก เพื่อปกป้องน้ำดื่ม.
This Earth Day, we thank Tim DeChristopher for steering our movement toward the path of courage. With countless lives on the line, it’s the path we need to take.
ในวันโลกนี้, พวกเราขอขอบคุณ ทิม เดอคริสโตเฟอร์ ที่ได้คัดท้าย นำทาง ขบวนการของเราสู่เส้นทางของความกล้าหาญ.  ด้วยชีวิตที่เรียงแถวอยู่นับไม่ถ้วน, มันเป็นหนทางที่พวกเราจำเป็นต้องเดิน.

This piece was written as a special Earth Day collaboration between YES! Magazine and Waging Nonviolence.
บทความพิเศษสำหรับวันโลก ร่วมกับ YES! Magazine และ ต่อสู้ด้วยอารยะขัดขืน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-Share Alike 3.0 License
Melanie writes on environmental justice and forging a sustainable future. Follow her at @MJaeMartin.
Published on Monday, April 22, 2013 by Waging Nonviolence / YES! Magazine

RobertColgan • 8 hours ago
Sadly, the for-profit prison system ("justice system") is more than happy to accommodate all the protesters who actively and bravely oppose harmful practices.  More than happy.  Ecstatic.

WhichWaldenPond • 8 hours ago
He is one of our contemporary heroes. I am glad that he survived prison OK.

Doug Latimer • 4 hours ago
It's heartening to hear about PeaceUp's attempt at mirroring the world they say they want within their group. It's something that's all too rare in my experience.
I'm concerned about the potential for cooptation. I think Martin puts too much faith in just how much commitment 350.org and certainly Sierra have to working for the profound transformation necessary to avoid "Game over", and I don't want to see the promise of Peaceful Uprising eroded by their practice of realpolitik.
Perhaps that suspicion will turn out to be unwarranted, but I believe my observations of and adventures in activism give me good reason for caution.

MountainMan23 • 13 hours ago
Democracy Now talks with Tim DeChristopher
Earth Day Exclusive: Tim DeChristopher Speaks Out After 21 Months in Prison for Disrupting Oil Bid

RebelFarmer > MountainMan23 • 11 hours ago
Thanks. Does anybody know the link to watch the live stream of Tim's presentation tonight that was mentioned in this Democracy Now interview?

Tom Carberry • 13 hours ago
While I admire Tim DeChristopher's courage, I don't think his actions have brought about a lot of change in the environmental movement. So Bill McKibben spent 15 minutes getting booked in and out, will that stop Keystone XL? I don't think so.  The wealthy have learned to ignore protests. Millions protested the Iraq war, but it happened anyway.

Elizabeth Tjader > Tom Carberry • 2 hours ago
I agree with you 100%. This is sensationalism on the other side; the environmental movement is as invested in creating "propaganda" and hype regarding their "progress" as the right is in preventing it.
That said, I do admire de Christopher's courage because his protest and subsequent incarceration weren't staged. Unless I'm completely mistaken, it's my understanding he bid on the land auction sale all by himself then paid the price with some serious time in prison. There were no press releases and media attention prior to his action. (Compared to those who plan their arrests then get released the next day). Like that makes a difference.
I know this pisses off some posters in here but I'm yet to be convinced that planning an arrest with the knowledge you're released the next day has any impact on the criminals raping the planet. They don't care; in fact, I'd bet my life it makes for great mockery and joke telling during two martini lunches in some high end Upper East Side cafe. Sometimes the truth hurts more than usual.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น