248. Will India Banana Be
Colonized by GM Giants?
India Goes Bananas Over GM
Crops
อินเดียคลุ้มคลั่งด้วยพืชจีเอ็ม
-รันชิต เทวราช
ดรุณี
ตันติวิรมานนท์ แปล
Banana vendors in Chennai, South India. Credit:
McKay Savage/CC-BY-2.0
NEW DELHI, Jun 14 2013
(IPS) -
India’s environmental and food security activists who have so far succeeded in
stalling attempts to introduce genetically modified (GM) food crops into this
largely farming country now find themselves up against a bill in parliament
that could criminalise such opposition.
นักกิจกรรมสิ่งแวดล้อมและอาหารของอินเดีย
ผู้ได้ประสบความสำเร็จจนถึงตอนนี้ ในการยับยั้งการนำพืช จีเอ็ม
เข้ามาปลูกในประเทศที่ส่วนใหญ่เป็นการเกษตร
บัดนี้ พบว่า ตัวเองกำลังเผชิญกับร่างกฎหมายในรัฐสภา
ที่สามารถทำให้การต่อต้านเช่นนี้ เป็นอาชญากรรม.
The Biotechnology Regulatory
Authority of India (BRAI) bill, introduced into parliament in
April, provides for ‘single window clearance’ for projects by
biotechnology and agribusiness companies including those to bring GM food crops
into this country, 70 percent of whose 1.1 billion people are involved in
agricultural activities.
ร่างกฎหมาย
การควบคุมเทคโนโลยีทางชีวภาพแห่งอินเดีย (BRAI),
ที่ถูกนำเสนอสู่รัฐสภาในเดือนเมษายน, ได้ให้ ‘หน้าต่างเดี่ยวของการอนุมัติ’ สำหรับโครงการที่
บริษัทไบโอเทคและธุรกิจเกษตร รวมทั้งพวกที่นำพืชอาหารจีเอ็มเข้าสู่ประเทศนี้, ที่ 70%
ของประชาชน 1.1 พันล้านคน มีส่วนในกิจกรรมเกษตร.
“Popular opposition to the
introduction of GM crops is the result of a campaign launched by civil society
groups to create awareness among consumers,” said Devinder Sharma, food
security expert and leader of the Forum for Biotechnology and Food
Security. “Right now we are opposing a plan to introduce GM bananas from
Australia.”
“การต่อต้านของประชาชนต่อการนำเข้าพืช
จีเอ็ม เป็นผลจากการรณรงค์ ที่เริ่มโดยกลุ่มภาคประชาสังคม
เพื่อสร้างความตื่นตัวในบรรดาผู้บริโภค”, เทวินทร ชาร์มา กล่าว, เขาเป็นผู้เชี่ยวชาญความมั่นคงทางอาหาร
และ ผู้นำในเวทีไบโอเทคและความมั่นคงทางอาหาร.
“ตอนนี้ เรากำลังต่อต้านแผนนำเข้ากล้วยจีเอ็มจากออสเตรเลีย”.
Sharma told IPS that if the
BRAI bill becomes law such awareness campaigns will attract stiff penalties.
The bill provides for jail terms and fines for “whoever, without any evidence
or scientific record misleads the public about the safety of organisms and
products…”
ชาร์มา กล่าวว่า หาก ร่าง BRAI
กลายเป็นกฎหมายแล้ว การรณรงค์สร้างความตื่นตัวแบบนี้ จะถูกลงโทษอย่างหนัก. ร่างกฎหมายจะให้จำคุก หรือ ปรับ “ใครก็ตาม,
ที่ไม่มีหลักฐานหรือบันทึกทางวิทยาศาสตร์ ชี้นำสาธารณชนผิดๆ
เกี่ยวกับความปลอดภัยของสิ่งมีชีวิต และ ผลิตภัณฑ์...”
Suman Sahai, who leads ‘Gene
Campaign’, an organisation dedicated to the conservation of genetic resources
and indigenous knowledge, told IPS that “this draconian bill has been
introduced in parliament without taking into account evidence constantly
streaming in from around the world about
the safety risks posed
by GM food crops.”
สุมาน สหาย, ผู้นำ “การรณรงค์ยีน”,
องค์กรหนึ่งที่อุทิศตัวให้กับการอนุรักษ์ทรัพยากรทางพันธุกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น,
กล่าวว่า “ร่างกฎหมายที่แสนทารุณนี้
ถูกนำเสนอสู่รัฐสภาโดยไม่ยอมรับรู้หลักฐานที่ไหลเทออกมาทั่วโลก
เกี่ยวกับความเสี่ยงที่พืชจีเอ็มมีต่อความปลอดภัย (ของอาหารและสุขภาพ)”.
She said that Indian
activists are now studying a new report published
in the peer-reviewed Organic Systems Journal by Judy Carmen at Flinders
University in Adelaide, Australia, showing evidence that pigs fed on GM corn
and soy are likely to develop severe stomach inflammation.
เธอกล่าวว่า
นักกิจกรรมอินเดียนตอนนี้กำลังศึกษารายงานชิ้นใหม่ ที่ตีพิมพ์ใน
วารสารระบบอินทรีย์ ที่ผ่านการทบทวนในแวดวง โดย จูดี้ คาร์เมน ที่ Flinders University in
Adelaide, Australia, ที่แสดงหลักฐานว่า หมูที่เลี้ยงด้วยข้าวโพด
และ ถั่วเหลือง จีเอ็ม มีแนวโน้มที่จะเกิดอาการกระเพาะอักเสบอย่างแรงได้.
“The new bill is not about
regulation, but the promotion of the interests of food giants trying to introduce
risky technologies into India, ignoring the rights of farmers and consumers,”
Sahai said. “It is alarming because it gives administrators the power to quell
opposition to GM technology and criminalise those who speak up against it.”
“ร่างกฎหมายใหม่ไม่ใช่เรื่องเกี่ยวกับการควบคุม,
แต่เป็นการส่งเสริมผลประโยชน์/ความสนใจของยักษ์ใหญ่อาหาร
ที่พยายามนำเข้าเทคโนโลยีที่เสี่ยงสูงเข้าในอินเดีย,
ละเลยสิทธิของเกษตรกรและผู้บริโภค”, สหายกล่าว.
“เป็นเรื่องน่าตกตื่น เพราะมันยอมให้รัฐบาลมีอำนาจปราบปรามผู้ต่อต้านเทคโนโลยีจีเอ็ม
และ ทำให้พวกที่พูดคัดค้านกลายเป็นอาชญากร”.
The past month has seen stiff
opposition to plans to introduce GM bananas into India by a group of leading
NGOs that includes the Initiative for Health
& Equity in Society, Guild of Services, Azadi Bachao Andolan, Save
Honey Bees Campaign, Navdanya and
Gene Ethics in Australia.
เดือนก่อน มีการต่อต้านอย่างหนัก
ต่อแผนการนำกล้วยจีเอ็มเข้าอินเดีย โดยกลุ่มเอ็นจีโอนำ เช่น
การริเริ่มเพื่อสุขภาพและความเสมอภาคในสังคม, สมาคมการบริการ, Azadi Bachao Andolan, การรณรงค์เพื่อปกป้องผึ้งน้ำหวาน, นวธัญญะ และ จรรยาบรรณยีนในออสเตรเลีย.
These groups are seeking
cancellation of a deal between the Queensland University of Technology (QUT)
and India’s biotechnology department to grow GM bananas here.
กลุ่มเหล่านี้ กำลังแสวงหาทางยกเลิกข้อตกลงระหว่าง
มหาวิทยาลัยควียนสแลนด์แห่งเทคโนโลยี (QUT) และ
กรมเทคโนโลยีชีวภาพของอินเดีย ในการปลูกกล้วยจีเอ็มที่นี่.
Vandana Shiva, who leads the
biodiversity conservation organisation Navdanya, and is among India’s top
campaigners against GM crops, told IPS that such food crop experiments pose a
“direct threat to India’s biodiversity, seed sovereignty, indigenous knowledge
and public health by gradually replacing diverse crop varieties with a few
patented monocultures.”
วันทนา ศิวะ, ผู้นำองค์กรอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
นวธัญญะ, เป็นหนึ่งในบรรดานักรณรงค์ชั้นนำของอินเดียที่ต่อต้านพืชจีเอ็ม, กล่าวว่า
การทดลองพืชอาหารเช่นนี้ เป็น “ภัยคุกคามโดยตรงต่อความหลากหลายทางชีวภาพ,
อธิปไตยเมล็ดพันธุ์, ภูมิปัญญาท้องถิ่น, และ สุขภาพสาธารณชน ของอินเดีย โดยค่อยๆ
แทนที่สายพันธุ์อันหลากหลายของพืช ด้วย
พืชเชิงเดี่ยวที่ถูกจดลิขสิทธิ์เพียงไม่กี่ตัว”.
She fears that an attempt is
being made to control the cultivation of bananas in India through patents by
“powerful men in distant places, who are totally ignorant of the biodiversity
in our fields.”
เธอกลัวว่า เป็นความพยายามหนึ่งที่ได้เกิดขึ้น
เพื่อควบคุมการเพาะปลูกกล้วยในอินเดีย ด้วยลิขสิทธิ์ โดย “คนที่มีอำนาจมากในที่ๆ
ห่างไกล, ผู้ไม่มีความรู้อะไรเลยอย่างสิ้นเชิง
เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพในไร่นาของเรา”.
India produces and consumes
30 million tonnes of bananas annually, followed by Uganda which produces 12
million tonnes and consumes the fruit as a staple.
อินเดียผลิตและบริโภคกล้วย 30 ล้านตันทุกปี, มีอูกันดาตามหลัง ที่ผลิต 12
ล้านตัน และบริโภคผลไม้นี้เป็นอาหารหลัก.
India’s National Research Centre
for Banana (NRCB), which has preserved more than 200 varieties
of the fruit, is a partner in the GM banana project. Others include the Indian
Institute of Horticulture Research, the Bhabha Atomic Research Centre (BARC)
and Tamil Nadu Agricultural University.
ศูนย์การวิจัยกล้วยแห่งชาติ (NRCB) ของอินเดีย
ที่รักษากล้วยกว่า 200 สายพันธุ์
เป็นหุ้นส่วนในโครงการกล้วยจีเอ็ม.
หน่วยงานอื่น เช่น สถาบันการวิจัยพืชสวนอินเดีย, ศูนย์การวิจัยอะตอม Bhabha และ มหาวิทยาลัยเกษตร Tamil Nadu.
With so much official involvement there are
fears that GM bananas may eventually find their way into nutrition programmes
run by the government. “There is a danger that GM bananas will be introduced
into such programmes as the integrated child development scheme and the midday
meals for children,” Shiva said.
ด้วยการมีส่วนร่วมมากมายของทางการ
มีความกลัวว่า กล้วยจีเอ็ม
อาจหาทางเข้าสู่โปรแกมโภชนาการที่รัฐบาลเป็นผู้ดำเนินการ. "มีอันตรายที่
กลัวยจีเอ็มจะถูกนำเข้าสู่โปรแกมดังกล่าว
ในลักษณะเป็นโครงการผสมผสานเพื่อพัฒนาเด็ก และ อาหารกลางวันสำหรับเด็ก”,
ศิวะกล่าว.
India’s Integrated Child
Development Services (ICDS), the world’s largest integrated early childhood
programme, began in 1975 and now covers 4.8 million expectant and nursing
mothers and over 23 million children under the age of six. Bananas are included
as part of the meals served in many of the 40,000 feeding centres.
บริการผสมผสานเพื่อการพัฒนาเด็กของอินเดีย (ICDS), เป็นโปรแกมผสมผสานสำหรับเด็กเล็กที่ใหญ่ที่สุดในโลก,
เริ่มต้นในปี 1975 และตอนนี้ ครอบคลุม
หญิงมีครรภ์และแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนม 4.8 ล้านคน และ
เด็กอายุต่ำกว่าหกขวบ 23 ล้านคน.
กล้วยเป็นส่วนหนึ่งของมื้ออาหารที่ให้บริการในศูนย์เลี้ยงดูมากถึง 40,000
แห่ง.
QUT’s Prof. James Dale, who
leads the project, has, in interviews given to Australian media, justified the
GM experiment by saying that it will “save Indian women from childbirth death
due to iron deficiency.”
ศ.เจมส์ เดล แห่ง QUT, ที่เป็นผู้นำโครงการ,
ได้ให้สัมภาษณ์ในสื่อออสเตรเลีย ได้สร้างความชอบธรรมกับการทดลอง จีเอ็ม
ด้วยการบอกว่า มันจะช่วย “ปกป้องให้ผู้หญิงอินเดียรอดจากการตายระหว่างคลอดเพราะขาดแร่เหล็ก”.
According to studies
conducted by the International Institute for Population Sciences in Mumbai,
more than 50 percent of Indian women and more than 55 percent of pregnant
women in India are anaemic. It is estimated that 25 percent of maternal deaths
are due to complications arising out of anemia.
ตามการศึกษาที่กระทำโดยสถาบันประชากรศาสตร์ระหว่างประเทศ
ในมุมไบ, กว่า 50% ของหญิงอินเดียและกว่า 55% ของหญิงมีครรภ์ในอินเดีย มีโลหิตจาง.
ประเมินว่า 25% ของการตายของมารดาระหว่างคลอด
มาจากอาการแซกซ้อนเพราะโรคโลหิตจาง.
In a Mar. 9, 2012 interview
with the Australian Broadcasting Corporation, Dale said, “One of the major
reasons around iron is that a large proportion of the Indian population are
vegetarians and it’s very difficult in a vegetarian diet to have intake of
sufficient iron, particularly for subsistence farming populations.
ในการสัมภาษณ์เมื่อวันที่ ๙ มี.ค. ๒๕๕๕
ในออสเตรเลีย, เดล กล่าวว่า, “เหตุผลหลักหนึ่ง
เพราะประชากรอินเดียส่วนใหญ่เป็นมัวสวิรัติ และ ยากที่อาหารผักๆ
จะให้ธาตุเหล็กเพียงพอ, โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประชากรเกษตรยังชีพ.
“India is the largest
producer of bananas in the world but they don’t export any; all of them are
consumed locally. So it’s a very good target to be able to increase the amount
of iron in bananas that can then be distributed to…the poor and subsistence
farmers.”
“อินเดียเป็นผู้ผลิตกล้วยรายใหญ่ที่สุดในโลก
แต่พวกเขาไม่ส่งออก, บริโภคในท้องที่หมด.
ดังนั้น มันจึงเป็นเป้าที่ดี ที่จะเพิ่มปริมาณธาตุเหล็กในกล้วย
ที่สามารถจะกระจายไปให้...เกษตรกรที่ยากจนและยังชีพ”.
Dale denied in the interview
that there were risks to existing Indian banana strains and said because
bananas were sterile there is no danger that the genes being introduced will
enter and destroy other varieties.
เดล ปฏิเสธในการสัมภาษณ์ว่า
มีความเสี่ยงต่อสายพันธุ์กล้วยอินเดีย และ บอกว่า เพราะกล้วยเป็นหมัน
จึงไม่มีอันตรายใดๆ ที่ยีนจะเข้าไปทำลายสายพันธุ์อื่นๆ.
But experts like Shiva have
challenged Dale’s claim. She said Australian scientists are using a virus that
infects the banana as a promoter and that this could spread through horizontal
gene transfer.
แต่ผู้เชียวชาญ เช่น ศิวะ
ได้ท้าทายข้ออ้างของเดล. เธอบอกว่า
นักวิทยาศาสตร์ออสเตรเลีย ใช้ไวรัสเพื่อทำให้กล้วยติดเชื้อ ในฐานะที่เป็นพาหะ และ
อันนั้น ก็จะเป็นตัวพาหะในการแพร่ขยายยีนในแนวระนาบ.
“All genetic modification uses
genes from bacteria and viruses and various studies have shown that there are
serious health risks associated with GM foods,” she stressed, adding that there
are safer, cheaper and more natural ways to add iron to diets.
“การตัดแต่งทางพันธุกรรมทั้งหมด ที่ใช้ยีนจากแบคทีเรียและไวรัส
และ การศึกษาต่างๆ ได้แสดงให้เห็นว่า อาหาร จีเอ็ม ทำให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพ”,
เธอเน้น, เสริมว่า มีทางอื่นๆ ที่ปลอดภัยกว่า, ราคาถูกกว่า และ เป็นธรรมชาติกว่า
ในการเติมธาตุเหล็กในโภชนาการ.
India is the world’s biggest
grower of fruits and vegetables with many varieties naturally rich in iron.
“Good sources of dietary iron in India included turmeric, lotus stem, coconut,
mango (and) amaranth…there is no need to genetically modify banana, a sacred
plant in India,” she said.
อินเดียเป็นผู้ปลูกผลไม้และผักรายใหญ่ที่สุดในโลก
มีหลายสายพันธุ์ที่อุดมด้วยธาตุเหล็กตามธรรมชาติ.
“แหล่งธาตุเหล็กในโภชนาการที่ดี เช่น ขมิ้น, สายบัว, มะพร้าว, มะม่วง และ amaranth...ไม่มีความจำเป็นต้องไปตัดแต่งพันธุกรรมของกล้วย,
อันเป็นพืชสำหรับการบูชาในอินเดีย”, เธอกล่าว.
Attempts by IPS to contact
Dale directly and separately through QUT’s press relations department on the
risks from horizontal gene transfer and the possible danger to public health
failed to elicit any response.
IPS ได้พยายามติดต่อกับเดลโดยตรง
และผ่านทางหย่วยประชาสัมพันธ์ของ QUT เพื่อสอบถามความเสี่ยงในการแพร่ถ่ายยีนในแนวระนาบ
และ อันตรายที่เป็นไปได้ต่อสุขภาพสาธารณะ แต่ไม่ประสบความสำเร็จ.
According to Shiva there is a
concerted move by food corporations to control important food crops and staples
in their centres of origin. “We have seen GM corn introduced into Mexico and
there was a determined attempt to introduce GM brinjal in India.”
ตามความเห็นของ ศิวะ, มีการขับเคลื่อนสุมหัวกันโดยบรรษัทอาหาร
เพื่อควบคุมพืชอาหารสำคัญๆ และ อาหารหลักในศูนย์ที่เป็นบ่อเกิดของพวกมัน. “เราได้เห็นข้าวโพด จีเอ็ม ถูกนำเข้าเม็กซิโก
และ ก็มีความพยายามอย่างมุ่งมั่น ที่จะนำมะเขือม่วงจีเอ็มเข้าอินเดีย”.
In February 2010, the then
minister for environment, Jairam Ramesh, ordered a moratorium on the brinjal
project and his action was seen as a major blow to the introduction of GM food
crops in India.
ในเดือน กพ. ๒๕๕๓, รมต สิ่งแวดล้อม ขณะนั้น,
ชัยราม ราเมศ, ได้สั่งให้ยุติโครงการมะเขือม่วงนั้น และ ปฏิบัติการของเขา
ถูกมองว่าเป็นการขัดขวางการนำเข้าพืชอาหารจีเอ็มในอินเดีย.
“If the new bill is passed,
we could have a reversed situation and projects like GM bananas will be quickly
cleared with the backing of the government – and it will only be a matter of
time before India becomes a GM banana republic,” Sharma said.
“หากร่างกฎหมายใหม่นี้ออกมาได้,
เราอาจมีสถานการณ์ที่พลิกกลับ และ โครงการเช่น กล้วยจีเอ็ม
จะผ่านฉิวด้วยแรงหนุนจากรัฐบาล—และมันก็จะเป็นเพียงปัจจัยของเวลา
ก่อนที่อินเดียจะกลายเป็น สาธารณรัฐกล้วย (แสลง--บ้าๆ บอๆ) จีเอ็ม”, ชาร์มา กล่าว.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น