244. Closing Gender Gap: Key to End Poverty and Food
Security
Women’s Time Has Come
เวลาของผู้หญิงได้มาถึงแล้ว
-คลอเดีย
ซิโอบานู
ดรุณี ตันติวิรมานนท์ แปล
Ambassador
and Permanent Representative of France to FAO H.E. Bérengére Quincy. Credit:
©FAO/Alessandra Benedetti
ROME, Jun 17 2013 (IPS) - Closing
the gender gap between women and men on agriculture and food security could
free over one hundred million people from hunger.
การปิดช่องว่างเพศสภาพระหว่างหญิงชาย
ในด้านเกษตรและความมั่นคงทางอาหาร จะทำให้ประชาชนหนึ่งร้อยล้านคน
เป็นอิสระจากความหิวโหยได้.
Women represent 43 percent of the
global agricultural workforce yet they have access to disproportionately less
land and productive resources, according to FAO’s report The State of Food and Agriculture 2010-2011.
ในแรงงานเกษตรโลก
มีผู้หญิงอยู่ถึง 43% แต่ สัดส่วนของการเข้าถึงที่ดินและทรัพยากรการผลิตของพวกเธอ
น้อยกว่าที่พึงจะมีมาก, ตามรายงานของ FAO สถานภาพของอาหารและเกษตร 2010-2011.
Not only are they discriminated
against in terms of access to credit and land, but they also are burdened with
more house and family care chores and are more likely to be in precarious and
low-paid employment.
ไม่เพียงแต่พวกเธอถูกเลือกปฏิบัติ
ในแง่ของการเข้าถึงเครดิตและที่ดิน,
แต่พวกเธอยังต้องแบกภาระมากกว่าในบ้านและงานประจำดูแลครอบครัว และ
มีโอกาสมากกว่าที่จะทำงานว่าจ้างที่ลำเค็ญและค่าแรงต่ำ.
During this week’s biannual
conference in Rome, FAO announced the mainstreaming of gender across all its
policies and put its gender policy for discussion in front of the national
delegations.
ในระหว่างการประชุมประจำรอบสองปี
ในกรุงโรม, FAO
ได้ประกาศว่าจะบูณาการมิติเพศสภาพ/เจนเดอร์ ในนโยบายของตนทั้งหมด และ
จะนำนโยบายเจนเดอร์ของตน ให้อภิปรายกันต่อหน้าผู้แทนแห่งชาติทั้งปวง.
“In
order to close the gender gap, it is not enough to adopt the gender lens."
- ActionAid International’s Alberta Guerra
Observers of FAO’s work on gender
argue that the organisation has made very good progress over the past years,
and that the basic necessary documents and normative frameworks needed for
closing the gender gap are now in place.
ผู้สังเกตการณ์งานของ
FAO ด้านเจนเดอร์
แย้งว่า องค์การได้ก้าวหน้ามากในช่วงหลายปีที่ผ่านมา, และตอนนี้ ก็มีเอกสารจำเป็นพื้นฐาน
และ กรอบกฎเกณฑ์ที่จำเป็นเพื่อปิดช่องว่างเชิงเจนเดอร์ พร้อมให้นำไปปฏิบัติ.
But care must now be paid to
implementation.
แต่
ตอนนี้ จะต้องใส่ใจในรายละเอียดกับการดำเนินการ.
“Gender mainstreaming is necessary
but not a guarantee,” Berengere Quincy, France’s representative to FAO, tells
TerraViva. “The mainstreaming needs to be backed up by better knowledge and
expertise and followed up with clear objectives and indicators of progress.”
“การบูรณาการมิติเจนเดอร์
เป็นสิ่งจำเป็น แต่ไม่ใช่หลักประกัน”, เบอเรนเกียร์ ควินซี, ผู้แทนของฝรั่งเศส ใน FAO, กล่าว.
“การบูรณาการจำเป็นต้องหนุนด้วยความรู้ ความชำนาญที่ดีกว่า และ
ติดตามด้วยวัตถุประสงค์และดัชนีความก้าวหน้าที่ชัดเจน”.
In many places around the world, as
Nobel Prize-winning economist Amartya Sen pointed out in his speech given in
Rome at the kickoff of the FAO biannual conference, women are also
discriminated against when it comes to nutrition, with men systematically
getting the best food. In turn, this weakens women’s chances of meeting their full
potential.
ในหลายแห่งทั่วโลก,
ดังที่ นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล อมาตยา เซ็น ได้ชี้ให้เห็นในสุนทรพจน์ ในกรุงโรม
ที่เปิดการประชุมประจำสองปีของ FAO, ผู้หญิงยังถูกเลือกปฏิบัติ เมื่อเราพูดถึงโภชนาการ,
ที่ผู้ชายจะได้รับอาหารที่ดีที่สุดอย่างเป็นระบบ.
ในทางกลับกัน, ก็เป็นการลิดรอน/กัดกร่อนโอกาสของผู้หญิงที่จะบรรลุศักยภาพเต็มที่ของพวกเธอ.
FAO’s report quoted above further
points out that granting women equal access to land and resources as men would
increase yields on their farms by 20 to 30 percent, which in turn would lead to
raising agricultural output in developing countries by 2.5 to four percent and
saving 100 to 150 million people from malnourishment.
รายงายของ
FAO ที่อ้างข้างบนนี้
ยังได้ชี้ให้เห็นว่า
การเอื้อให้ผู้หญิงเข้าถึงที่ดินและทรัพยากรได้อย่างเท่าเทียมเสมอผู้ชาย
จะช่วยเพิ่มผลผลิตในไร่นาของพวกเธอถึง 20 – 30%,
ซึ่งในทางกลับกัน จะช่วยเพิ่มผลผลิตทางเกษตรในประเทศกำลังพัฒนาถึง 2.5 – 4%
และ ช่วยให้ประชาชน 100
ถึง 150 ล้านคนปลอดภัยจากทุโภชนาการ.
In response to these realities – and
to pressures from civil society – FAO has over the past two years made
significant progress on turning itself into an organisation focused on closing
the gender gap when it comes to food security.
เพื่อเป็นการขานรับต่อความจริงเหล่านี้—และแรงกดดันจากภาคประชาสังคม—FAO ในช่วงกว่าสองปีที่ผ่านมา
ได้ก้าวหน้าอย่างมีนัยสำคัญ
ในการผันตัวเองให้เป็นองค์การที่เน้นเรื่องการปิดช่องว่างเชิงเจนเดอร์
เมื่อพูดถึงความมั่นคงทางอาหาร.
The 2010-2011 State of Food and
Agriculture report was for the first time focused on women’s role in the global
food system. Importantly, it brought quantitative data to support the idea that
empowering women contributes significantly to FAO’s mission of defeating
hunger, which in turn contributed to gender issues being embraced across FAO
departments.
รายงาน
สถานภาพของอาหารและเกษตร 2010-2011
เป็นครั้งแรกที่เน้นเรื่องบทบาทสตรีในระบบอาหารโลก. ที่สำคัญ, มันได้สนับสนุนความคิดเรื่องการเสริมสร้างอำนาจต่อรองของผู้หญิง
ด้วยข้อมูลเชิงปริมาณ ได้มีส่วนทำให้พันธกิจของ FAO ก้าวหน้าอย่างมีนัยสำคัญ ในการเอาชนะความหิวโหย, ซึ่งในทางกลับกัน
ทำให้ประเด็นเจนเดอร์เป็นที่ยอมรับและนำไปใช้ ในกรมกองต่างๆ ของ FAO.
In 2012, the organisation published
a Gender Policy which aims to both prioritise gender issues in the FAO’s
own structure and programmes and to increase capacities for promoting gender
equality in the countries where FAO operates.
ในปี
2012, องค์การได้ตีพิมพ์
นโยบายเจนเดอร์ ที่มุ่งทั้งให้ประเด็นเจนเดอร์อยู่ในลำดับต้นๆ
ในโครงสร้างและโปรแกมของ FAO เอง และ
เพื่อเพิ่มสมรรถนะเพื่อการส่งเสริมความเท่าเทียมเชิงเพศสภาพในประเทศที่ FAO ดำเนินการอยู่.
Several countries (Switzerland,
Norway and the United States) as well as the European Union warned that clear
targets and implementation mechanisms, alongside a sufficient budget, are
crucial to add to the current plans if FAO is serious about gender equality.
หลายประเทศ
(สวิตเซอร์แลนด์, นอร์เวย์ และ สหรัฐฯ) ตลอดจน อียู ได้เตือนว่า
จะต้องมีเป้าหมายและกลไกการดำเนินการที่ชัดเจน เคียงคู่กับงบประมาณที่มากพอ,
เติมลงไปในแผนปัจจุบัน หาก FAO เอาจริงเอาจังกับความเท่าเทียมเชิงเพศสภาพ.
This year’s conference is expected
to endorse a budget for 2014/2015 that would leave the amounts for gender
issues unchanged from the previous budget period 2013/2014, that is, 21.8
million dollars.
การประชุมของปีนี้
ถูกคาดหวังว่า จะมีการรับรองงบประมาณสำหรับ 2014/2015 ที่จะไม่เปลี่ยนแปลง ประเด็นเจนเดอร์ ดังในงบปีก่อน 2013/2014, นั่นคือ, 21.8 ล้านเหรียญ.
This amount represented a doubling
of the 9.8 million dollars corresponding to the 2010/2011 following pressures
of gender rights supporters within and outside FAO, and represents a 2.1
percent of the overall net appropriation. Over the next years, FAO is expected
to set a target for gender spending which could even exceed the 2.1 percent.
เงินจำนวนนี้
ได้เพิ่มขึ้นสองเท่าตัว จาก 9.8 ล้านเหรียญ ของ 2010/2011
หลังจากแรงกดดันของผู้สนับสนุนสิทธิเชิงเจนเดอร์ ทั้งในและนอก FAO, และ คิดเป็น 2.1%
ของการจัดสรรสุทธิทั้งหมด. ในปีต่อๆ ไป, FAO ถูกคาดหวังว่า
จะตั้งเป้าเพื่อการใช้จ่ายด้านเจนเดอร์ ที่อาจเกิน 2.1%.
ActionAid International’s Alberta
Guerra, whose group has been advocating for a gender policy and gender
mainstreaming at FAO for years, says that it is important that the organisation
keeps up the momentum of promoting gender equality.
อัลเบอร์ตา
เกอร์รา แห่ง ActionAid International, ที่รณรงค์ให้มีนโยบายเจนเดอร์ และ การบูรณาการมิติหญิงชาย ที่ FAO เป็นเวลาหลายปี, กล่าวว่า เป็นสิ่งสำคัญที่
องค์การจะรักษาแรงโน้มถ่วงของการส่งเสริมความเท่าเทียมเชิงเจนเดอร์.
That would mean paying attention to
implementation of the current commitments and making sure that a solid budget
comes together with the objectives stated out in the policy documents.
นั่นย่อมหมายถึงการใส่ใจกับการดำเนินการพันธสัญญาที่ให้ไว้ในปัจจุบัน
และ ทำให้มั่นใจว่า มีการระดมงบประมาณที่หนักแน่น
ด้วยวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้แล้วในเอกสารนโยบาย.
“In order to close the gender gap,
it is not enough to adopt the gender lens. It is essential that, in addition to
that, interventions that target, specifically, women’s needs are put into
place,” Guerra says.
“เพื่อปิดช่องว่างเจนเดอร์,
มันไม่เพียงพอแค่ยอมรับแว่นเจนเดอร์.
มากกว่านั้น, จำเป็นต้องมีการแทรกแซงให้ถึงเป้า, โดยเฉพาะอย่างยิ่ง,
ความจำเป็น/ต้องการของผู้หญิง จะต้องนำมาพิจารณาด้วย”, เกอร์รา กล่าว.
“The policy is very forward looking.
It’s not just a policy for FAO, but a policy for its members, a policy which tries
to set objectives and goals that everyone concerned about food and agriculture
is trying to achieve,” says Eve Crowley, FAO deputy director for gender, equity
and rural development.
“นโยบายนี้
มองไปข้างหน้ามาก. มันไม่ใช่แค่เป็นนโยบายสำหรับ
FAO,
แต่เป็นนโยบายสำหรับรัฐสมาชิกด้วย,
เป็นนโยบายที่พยายามกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ที่ทุกๆ คนที่ห่วงใยเรื่องอาหารและเกษตร
จะต้องพยายามผลักดันให้สัมฤทธิ์ผลด้วย”, อีฟ โคร์วลีย์, รอง ผอ ของ FAO ด้าน เจนเดอร์, ความเสมอภาค และ การพัฒนาชนบท.
“It’s important to build a momentum
around these objectives and goals among all stakeholders.”
“มันสำคัญที่บรรดาผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด
จะต่อยอดแรงโน้มถ่วงรอบๆ วัตถุประสงค์และเป้าหมายเหล่านี้”.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น