258. Reclaiming Local
Market from Transnational Market Regime
Building markets: A challenge for family farming--Theme
overview
by Paulo Petersen
การสร้างตลาด:
ข้อท้าทายของครอบครัวเกษตร—ภาพรวม
-เปาโล ปีเตอร์สัน
ดรุณี
ตันติวิรมานนท์ แปล
In a situation where transnational corporations are playing
an increasingly dominant role in the world’s agri-food systems, two of the
greatest challenges that family farmers face are developing strategies to
improve market access, and adding value to their agricultural production. There
are many successful experiences that set examples that may be amenable to
replication. In general, these successful cases involve developing closer
relationships between producers and consumers through revitalising and
reorganising local or regional markets, in ways that create space for
economically beneficial exchanges and also promote the biologically diverse and
culturally-contextualised production typical of peasant agriculture.
ในสถานการณ์ที่บรรษัทข้ามชาติกำลังเล่นบทครอบงำมากขึ้นในระบบเกษตร-อาหารของโลก,
สองสิ่งท้าทายที่สุดที่ครอบครัวเกษตรกำลังเผชิญ คือ
การพัฒนายุทธวิธีเพื่อปรับปรุงการเข้าถึงตลาด, และ
การเพิ่มมูลค่าแก่การผลิตเกษตรของพวกเขา.
มีประสบการณ์ที่สำเร็จมากมายที่อาจเป็นตัวอย่างให้เลียนแบบได้. โดยทั่วไป, กรณีสำเร็จเหล่านี้
รวมถึงการพัฒนาความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกันขึ้น ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค
ผ่านการฟื้นฟูขึ้นใหม่ และ การรวมตัวจัดกระบวนขึ้นใหม่ของตลาดท้องถิ่นหรือภูมิภาค,
ในลักษณะที่สร้างพื้นที่สำหรับการแลกเปลี่ยนที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ และ ส่งเสริมการผลิตที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ
และ มีบริบททางวัฒนธรรม ของชาวไร่ชาวนาทางเกษตร.
Farming Matters | 29.2 | June 2013
Creative
systems are emerging all around the world, where both producers and consumers
play an important role. Photo: AS-PTA
By efficiently articulating new developments in information
technology, infrastructures and facilities for the long distance transportation
of goods, and by exploiting changes in the institutional frameworks that
regulate the domestic and international markets, transnational corporations
have come to exert an unprecedented level of control on the configuration of
agri-food systems – or on the flows that link the production, processing,
distribution and consumption of food.
ด้วยการสื่อได้อย่างชัดเจนถึงการพัฒนาในเทคโนโลยีสารสนเทศ,
โครงสร้างพื้นฐาน และ สาธารณูปโภคเพื่อการขนส่งสินค้าทางไกล,
และด้วยการอาศัยการเปลี่ยนแปลงในกรอบสถาบัน ที่ควบคุมตลาดในประเทศและระหว่างประเทศ,
บรรษัทข้ามชาติ ได้สร้างอิทธิพลในระดับที่ไม่เคยมีมาก่อน เหนือโครงสร้างของระบบเกษตร-อาหาร
– หรือ เหนือการลื่นไหลที่เชื่อมการผลิต, การแปรรูป, การกระจาย และ
การบริโภคอาหาร.
Philip McMichael refers to this as the corporate food
regime, and points out that this has further promoted and intensified the
scientific and technological paradigm of the Green Revolution, with the
introduction of genetically modified organisms (GMOs), the rapid and
uncontrolled expansion of monocultures and the subsequent standardisation of
agricultural landscapes.
ฟิลิป แมคไมเคิล
เรียกภาวะนี้ว่า ระบอบอาหารบรรษัท, และชี้ให้เห็นว่า
มันได้ส่งเสริมและสร้างความเข้มข้นแก่วิถีทัศน์ของปฏิวัติเขียว, ด้วยการนำ
จีเอ็มโอ เข้ามา, อันเป็นการขยายพืชเชิงเดี่ยวที่รวดเร็วและคุมไม่ได้ และ
ตามมาด้วยการกำหนดมาตรฐานในภูมิทัศน์ของภาคเกษตร.
An equally massive standardisation process has been
experienced on the consumer’s side. The political and economic power
accumulated by major players in food retailing has led to the imposition of
industrialised junk food, the homogenisation of diets and, by the same token,
the destruction of local markets through which family farmers have
traditionally sold their produce.
กระบวนการกำหนดมาตรฐานมหาศาลพอๆ
ได้เกิดขึ้นในฝ่ายของผู้บริโภค.
อำนาจทางการเมืองและเศรษฐกิจ ที่สะสมอยู่ในมือของตัวเล่นสำคัญๆ
ในการขายปลีกอาหาร ได้นำไปสู่การยัดเยียดอาหารขยะอุตสาหกรรม,
การกวนโภชนาการให้เป็นอย่างเดียวกัน และ, ด้วยวิธีเดียวกัน, ทำลายตลาดท้องถิ่น
อันเป็นช่องทางที่ ครอบครัวเกษตรกรได้ขายผลผลิตของตนแต่เดิมมา.
The growing homogenisation of production and consumption
practices is both a cause and a consequence of the emergence of what Jan Douwe
van der Ploeg calls the “food empires”, the governance mechanisms for food and
agriculture at a global scale. Truly international, their power increasingly
extends to the economic and political arenas, and they now capture an ever
larger share of the value added along the food chain.
Local alternatives for global challenges
การปฏิบัติในการผลิตและการบริโภคที่ได้กลายเป็นอย่างเดียวกันหมด
เป็นทั้งสาเหตุ และ ผลลัพธ์ของการอุบัติขึ้นของสิ่งที่ แจน Douwe van der Ploeg เรียกว่า
“จักรวรรดิอาหาร”, กลไกการปกครองสำหรับอาหารและเกษตรขนาดโลก. อำนาจของพวกเขา, เป็นนานาชาติอย่างแท้จริง,
ได้ยืดยาวออกมากขึ้นเข้าสู่พื้นที่ทางเศรษฐกิจและการเมือง, และตอนนี้
พวกเขาก็ได้ยึดครองพื้นที่ส่วนใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ
ในส่วนที่เป็นมูลค่าเพิ่มตลอดห่วงโซ่อาหาร.
The global dissemination of “nowhere food” (or food whose
origins can hardly be traced) is not the only visible trend. In parallel, and
developing as a form of resistance to this dominant trend and its negative
effects, creative strategies to relocalise and recontextualise agri-food
systems are emerging all around the world. In this sense, markets are the arena
where power struggles are taking place between the contrasting and coexisting
structures and mechanisms that shape the production and consumption of food.
การเผยแพร่ระดับโลกของ
“อาหารไม่มีที่มา” (หรือ อาหารที่ไม่สามารถสาวหาแหล่งกำเนิดได้)
ไม่ใช่เป็นเพียงแนวโน้มที่เห็นได้ชัด.
คู่ขนานกันไป, มีการพัฒนาอันเป็นรูปแบบหนึ่งของการต่อต้านแนวโน้มครอบงำนี้
และ ผลกระทบลบของมัน คือ ยุทธศาสตร์สร้างสรรค์เพื่อนำระบบเกษตร-อาหาร
คืนสู่ท้องถิ่น และ สร้างบริบทของมันใหม่ กำลังอุบัติขึ้นทั่วโลก. สรุป, ตลาดเป็นเวทีที่การต่อสู้แย่งชิงอำนาจ
กำลังเกิดขึ้น ระหว่างโครงสร้างและกลไกเน้นความขัดแย้ง/เอาชนะ และ โครงสร้างและกลไกเน้นการอยู่ร่วมกัน
ที่เป็นปัจจัยควบคุมการผลิตและบริโภคอาหาร.
On the one hand, there is the political and ideological
influence of agri-businesses on national states and multilateral organisations.
On the other hand, there are emerging social processes that seek to rebuild,
revitalise and diversify market circuits that promote a more equitable
distribution of the wealth generated through agriculture, and to simultaneously
alter the metabolism of agri-food systems so that the flows of matter and
energy are more sustainable. Whether in Brazil (p. 10) or the Netherlands (p.
18), these examples are becoming more widespread and visible, with producers,
consumers and their organisations playing an important role.
ในด้านหนึ่ง,
เป็นอิทธิพลทางการเมืองและอุดมการณ์ของธุรกิจเกษตรเหนือรัฐชาติ และ
องค์การพหุภาคี. ในอีกด้าน, เป็นกระบวนการทางสังคมที่กำลังอุบัติขึ้น
ที่แสวงหาทางสร้างขึ้นใหม่, ฟื้นฟูใหม่ วงจรตลาดให้มีความหลากหลาย
ที่ส่งเสริมการกระจายความมั่งคั่งที่ก่อเกิดจากภาคเกษตรให้เสมอภาคยิ่งขึ้น,
และเปลี่ยนกระบวนการสันดาปของระบบเกษตร-อาหารไปพร้อมกัน เพื่อว่า
การลื่นไหลของสสารและพลังงาน จะยั่งยืนยิ่งขึ้น.
ไม่ว่าจะเป็นในบราซิล หรือในเนเธอแลนด์, ตัวอย่างเหล่านี้
กำลังแพร่หลายและเห็นชัดยิ่งขึ้น, กับผู้ผลิต, ผู้บริโภค และ องค์กรของพวกเขา
ก็กำลังเล่นบทสำคัญ.
In this sense, the development of local markets (or short
chains) should be understood as an active social process that aims to increase
people’s autonomy and independence from the “very visible hands” of
multinational agri-food businesses on the global market. The political
dimension of this emerging process construct is increasingly expressed by the
concept of “food sovereignty”, a concept that is rooted in the understanding
that the access to food of one’s choice is a basic human right.
ในความหมายนี้,
การพัฒนาตลาดท้องถิ่น (หรือโซ่สั้น) ควรเข้าใจว่า เป็นกระบวนการทางสังคมเชิงรุก
ที่มุ่งไปที่เพิ่มความเป็นเอกราช และ อิสรภาพของประชาชนจาก “มือที่เห็นได้ชัดยิ่ง”
ของธุรกิจเกษตร-อาหารของบรรษัทข้ามชาติในตลาดโลก.
มิติการเมืองของโครงสร้างกระบวนการที่อุบัติขึ้นนี้
กำลังแสดงตัวมากขึ้นในกรอบคิดของ “อธิปไตยทางอาหาร”,
อันเป็นกรอบคิดที่หยั่งรากอยู่ในความเข้าใจว่า ทางเลือกของการเข้าถึงอาหารของแต่ละคน
เป็นสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานหนึ่ง.
Beyond monetary value / เกินโพ้นมูลค่าเม็ดเงิน
Achieving increasing levels of governance over markets is
one of the main tenets of the movements, organisations and individuals who
promote agro-ecology around the world. Without a doubt, the ability to scale up
agro-ecological experiences, both socially and geographically, directly depends
on the construction and defence of viable marketing channels that link
production and consumption together, and establish stable and transparent
relationships between these two economic spheres.
การบรรลุถึงระดับการปกครองเพิ่มขึ้นเหนือตลาด
เป็นความเชื่อประการหนึ่งของการเคลื่อนไหว, องค์กรและปัจเจกชน
ที่ส่งเสริมเกษตรนิเวศทั่วโลก.
ไม่สงสัยเลย, ความสามารถที่จะขยายประสบการณ์เชิงเกษตรนิเวศ,
ทั้งทางสังคมและทางภูมิศาสตร์, ขึ้นตรงต่อการสร้างและการปกป้องช่องทางตลาดที่เจริญงอกงามได้
ที่เชื่อมการผลิตและการบริโภคเข้าด้วยกัน, และ
จัดตั้งความสัมพันธ์ที่เสถียรและโปร่งใสระหว่างวงการเศรษฐกิจทั้งสอง.
The advancement of an agro-ecological perspective for rural
development does not follow conventional economic logic, defined in terms of
competitiveness and vertical social relationships, but crucially depends on
regulated markets that stimulate horizontal relations and co-operation among
social actors. In this sense, these markets are reproduced and (re)structured
around social values that go beyond the monetary dimension.
ความก้าวหน้าของมุมมองเกษตรนิเวศเพื่อการพัฒนาชนบท
ไม่ได้เดินตามตรรกะเศรษฐกิจกระแสหลัก, ที่นิยามในแง่ของความสามารถในการแข่งขัน และ
ความสัมพันธ์เชิงสังคมในแนวดิ่ง, แต่สำคัญยิ่งที่ต้องพึ่งตลาดที่มีการควบคุม
ที่กระตุ้นความสัมพันธ์ในแนวระนาบ และ ความร่วมมือในระหว่างตัวละครทางสังคม. ในความหมายนี้, ตลาดเหล่านี้จะถูกผลิตซ้ำ และ
สร้าง (ใหม่) โครงสร้าง รอบๆ คุณค่าทางสังคม ที่ไปโพ้นมิติเม็ดเงิน.
This edition of Farming Matters presents some of the
meaningful experiences that are taking place in different countries and in so
doing furthers the debate around markets and rural development. What strategies
are farmers and their organisations implementing as alternatives to the
dominance of large agribusiness corporations? How do farmers articulate
strategies that enable them to become more resilient in the face of the
uncertainties and threats arising from the volatility of agricultural prices,
food crises and global climate change? How do local markets and shortcuts to
commercialisation and marketing contribute to generating more sustainable
livelihoods for family farmers? How are family farmers’ innovations in organisational
models shaping new economies? How can farmers strengthen autonomy within
markets? And what is the role of states in interacting with these emerging
issues?
FM ฉบับนี้ เสนอบางประสบการณ์ที่มีความหมาย
ที่กำลังเกิดขึ้นในประเทศต่างๆ และในการทำเช่นนี้ เป็นการขยายการอภิปรายรอบๆ
ระบบตลาดและพัฒนาชนบท.
เกษตรกรและองค์กรของพวกเขาได้ใช้ยุทธศาสตร์อะไร ในการดำเนินการ
ในฐานะทางเลือกแทนการครอบงำของบรรษัทธุรกิจขนาดใหญ่? เกษตรกรได้สื่อแสดงยุทธศาสตร์อย่างไร
ที่ทำให้พวกเขามีความยืดหยุ่นมากขึ้นท่ามกลางความไม่แน่นอนและการคุกคามที่เกิดจากความแปรปรวนของราคาเกษตร,
วิกฤตอาหาร และ ภูมิอากาศโลก? ตลาดท้องถิ่นและทางลัดสู่การพาณิชย์และการตลาด
ได้มีส่วนทำให้วิถีชีวิตของครอบครัวเกษตรมีความยั่งยืนมากขึ้นอย่างไร? นวัตกรรมของครอบครัวเกษตรในรูปองค์กร
ได้ช่วยกำหนดทิศทางระบบเศรษฐกิจใหม่อย่างไร?
เกษตรกรจะทำให้การปกครอง/จัดการตัวเองเข้มแข็งขึ้นได้อย่างไรภายในระบบตลาด? และ
รัฐมีบทบาทอะไรในการปฏิสัมพันธ์กับประเด็นที่อุบัติขึ้นเหล่านี้?
Paulo Petersen
Based in Rio de Janeiro, Paulo Petersen works as Executive
Director of AS-PTA. He is vice-president of the Brazilian Agro-ecology
Association, and is also the editor of Agriculturas, our sister publication in
Brazil.
E-mail: paulo@aspta.org.br
References
McMichael, P., 2009. A food regime genealogy. Journal of
Peasant Studies, no 36(1).
Van der Ploeg, J.D., 2008. The new peasantries: Struggles
for autonomy and sustainability in an era of empire and globalization. London,
Earthscan.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น