วันพุธที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2556

254. การวัดพัฒนาชนบทที่มีคนเป็นศูนย์กลาง


254. Measuring Human-centered Rural Development

Impact Assessment Key in Rural Development Projects
การประเมินผลกระทบ เป็นกุญแจในโครงการพัฒนาชนบท
ดรุณี แปล
SANTIAGO, Jun 13 2013 (IPS) - The Latin American Centre for Rural Development (RIMISP) is promoting a method for assessing strategies, results, reach and impact of IFAD-funded agricultural projects targeting vulnerable groups in the region.
ศูนย์ลาตินอเมริกันเพื่อการพัฒนาชนบท (RIMISP) กำลังส่งเสริมวิธีการเพื่อการประเมินยุทธศาสตร์, ผลลัพธ์, กลุ่มที่เข้าถึง และ ผลกระทบจากโครงการเกษตรที่ได้รับทุนจาก IFAD ที่พุ่งเป้าไปที่กลุ่มเปราะบางในภูมิภาค.
RIMISP’s project on assessing poverty and inequality in rural Latin America is studying the situation in the countryside as well as the evaluation methods used by programmes in the region supported by IFAD (International Fund for Agricultural Development).
โครงการของ RIMISP ในการประเมินความยากจนและความไม่เท่าเทียมกันในชนบทลาตินอเมริกา กำลัง
ศึกษาถึงสถานการณ์ในชนบทตลอดจนวิธีการประเมิน ที่ใช้โดยโปรแกมในภูมิภาค ที่สนับสนุนโดย IFAD (กองทุนเพื่อการพัฒนาเกษตรระหว่างประเทศ).
This last component, led by senior RIMISP researcher Eduardo Ramírez, is aimed at adjusting and expanding IFAD’s Results and Impact Management System (RIMS).
ในองค์ประกอบท้ายสุด, นำโดยนักวิจัยอาวุโส ของ RIMISP, ราเมเรซ, มุ่งไปที่ปรับและขยายผลงาน และ ระบบการจัดการผลกระทบ (RIMS) ของ IFAD.

Description: C:\Users\Administrator\Documents\my doc 6-15-13\common dream\IFAD-small.jpgRIMISP researcher Eduardo Ramírez during the interview with IPS. Credit: RIMISP
The objective is to assess the roughly two dozen IFAD-supported projects in the region and shed light on rural development policy strategies in Latin America.
จุดประสงค์ เพื่อประเมินยี่สิบกว่าโครงการที่สนับสนุนในภูมิภาค และ ให้มุมมองที่สว่างไสวขึ้นด้านยุทธศาสตร์เชิงนโยบายในการพัฒนาชนบทในลาตินอเมริกา.
In an interview with IPS in the Chilean capital, where RIMISP is based, Ramírez explained that one of IFAD’s aims is to be help produce intervention models, “because the point is for countries to use these methodologies to generate projects and have a greater reach.”
ในการสัมภาษณ์ในนครหลวงของชิลี, ที่ตั้งของ RIMISP, ราเมเรซ อธิบายว่า  เป้าประสงค์หนึ่งของ IFAD คือ ช่วยผลิตโมเดลการแทรกแซง, “เพราะจุดประสงค์คือ เพื่อให้ประเทศต่างๆ ใช้วิธีการเหล่านี้ เพื่อสร้างโครงการและยื่นออกไปให้ได้ไกลที่สุด”.

Q: What countries has the RIMISP project covered?
ถาม. โครงการ RIMISP ครอบคลุมประเทศอะไรบ้าง?
A: We carried out a review of the systems in Brazil, Chile, Colombia, Mexico and Peru. Later we held the Project Monitoring and Evaluation Method workshop May 14-15 in Lima, where we brought together international and regional IFAD people and government delegates.
We discussed this proposal and realised that there is room for bringing RIMS together with the projects, which is what we are doing now.
ตอบ. เราได้ทำการทบทวนระบบต่างๆ ในบราซิล, ชิลี, โคลัมโบ, เม็กซิโก และ เปรู.  จากนั้น เราได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การติดตามและประเมินโครงการ ในวันที่ 14-15 พค. ในกรุงลิมา, ที่ซึ่งเรานำเจ้าหน้าที่ IFAD และตัวแทนรัฐบาลในภาคพื้นและระหว่างประเทศให้มาร่วมประชุมกัน.
Q: Is it also possible to work together with national evaluation systems?
ถาม. เป็นไปได้ไหมที่จะทำงานร่วมกับระบบการประเมินแห่งชาติ?
A: There is room for that, but not much, because the countries’ evaluation systems are linked to a cycle of public administration that goes beyond, or has little to do with, the projects.
ตอบ. มีที่ว่างให้ทำได้, แต่ไม่มากนัก, เพราะระบบการประเมินของประเทศต่างๆ เชื่อมกับวัฏจักรของการบริหารสาธารณะที่ไปไกลว่า, หรือ ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ, โครงการ.
And the results were uneven. In Colombia there is a good chance to do things; in Brazil, because of the size of the country and of the projects, there are possibilities although not at the level of the central government but of the states.
และผลลัพธ์ก็ไม่ค่อยสม่ำเสมอ.  ในโคลัมเบีย โอกาสที่จะทำอะไรได้มาก.  ในบราซิล, เพราะขนาดของประเทศและตัวโครงการ, ก็มีความเป็นไปได้ แม้จะไม่อยู่ในระดับรัฐบาลกลางแต่ที่ระดับรัฐ.
In Mexico, a greater effort is needed, because of a strategy that sets priorities with biannual plans that depend on the government, which means it is more complicated to make headway there. Peru is a possibility, but a system to evaluate social projects is just being installed. In Chile, IFAD does not have any projects, and in the end the country didn’t participate in the workshop.
ในเม็กซิโก, ต้องใช้ความพยายามมากหน่อย, เพราะมียุทธศาสตร์ที่จัดลำดับความสำคัญด้วยแผนสองปี ที่ขึ้นอยู่กับรัฐบาล, ซึ่งหมายความว่า มันซับซ้อนมากขึ้นที่จะขยับเขยื้อนไปข้างหน้า.  เปรู เป็นไปได้, แต่ระบบเพื่อประเมินโครงการด้านสังคม เพิ่งตั้งขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้เอง.  ในชิลี, IFAD ไม่ได้ทำโครงการใดๆ, และ ประเทศนี้ก็ไม่ได้เข้าร่วมในการประชุมเชิงปฏิบัติการด้วย.
Q: What stood out in the assessment of the countries?
ถาม.  อะไรเป็นจุดเด่นในการประเมินประเทศเหล่านี้?
A: It’s important to highlight that all of the countries in the region are moving towards institutionalised impact assessment systems, which are being uncoupled from more political or electoral aspects in order to turn them into systems with a strong technical base, which in some countries are more independent than in others.
ตอบ. สำคัญมากที่ต้องบอกก่อนว่า ประเทศทั้งหมดในภูมิภาคนี้ กำลังเคลื่อนไปสู่ระบบการประเมินผลกระทบอุตสาหกรรม, ซึ่งกำลังถูกถอดออกจากด้านการเมืองหรือการเลือกตั้ง เพื่อเปลี่ยนให้พวกมันเป็นระบบที่มีฐานเข้มแข็งเชิงเทคนิค, ซึ่งในบางประเทศก็จะเป็นอิสระมากกว่าในประเทศอื่นๆ.
They are also starting to generate quite interesting information about the results and the effects of the projects that are being carried out in the different countries.
พวกเขากำลังเริ่มปั่นข้อมูลที่น่าสนใจยิ่ง เกี่ยวกับผลลัพธ์และผลกระทบของโครงการที่กำลังดำเนินการในประเทศต่างๆ.
Q: Why is project impact evaluation so important?
ถาม. เหตุใด การประเมินผลกระทบจึงมีความสำคัญขนาดนั้น?
A: If you want to have an impact on policy-making and you want to demonstrate that your way of working is consistent with the restrictions or the context of rural poverty in Latin America, impact assessment is essential, in order for you to have credibility.
ตอบ. หากคุณต้องการทำให้เกิดผลกระทบต่อการกำหนดนโยบาย และ คุณต้องการสาธิตว่า วิธีทำงานของคุณ สอดคล้องกับข้อจำกัด หรือ บริบทของความยากจนในชนบทในลาตินอเมริกา, การประเมินผลกระทบเป็นสิ่งจำเป็น, เพื่อทำให้คุณน่าเชื่อถือขึ้น.
But not just any impact evaluation. That is why it was important to research the impact assessment protocols and systems of the different countries, what the countries find reasonable, who they believe, what is the standard for impact evaluation.
แต่ไม่ใช่แค่การประเมินไหนๆ ก็ได้.  นั่นเป็นสาเหตุที่ต้องทำการวิจัยให้ได้ต้นแบบและระบบของการประเมินผลกระทบ ในประเทศต่างๆ, อะไรที่ประเทศนั้นๆ ถือว่าสมเหตุสมผล, พวกเขาเชื่อใคร, อะไรเป็นมาตรฐานสำหรับการประเมินผลกระทบ.
Q: What did that research find?
ถาม. แล้วการวิจัยนั้น พบอะไร?
A: We found that the tendency is to produce much more standardised systems that require a lot of information, not only on impact evaluation but on how that evaluation is done, what credibility the process has.
ตอบ. เราพบแนวโน้มที่ต้องสร้างระบบที่มีมาตรฐานยิ่งขึ้น ซึ่งต้องใช้ข้อมูลมาก, ไม่เพียงแต่การประเมินผลกระทบ แต่ตรงที่กระทำการประเมินนั้นๆ อย่างไร, กระบวนการนั้น มีความน่าเชื่อถือแค่ไหน.
So there is a set of factors that have to be controlled or anticipated in the impact evaluation process, in order for that result to be in line with the idea of having an influence on public policies in the region.
ดังนั้น มีชุดปัจจัยหนึ่งที่ต้องถูกควบคุม หรือ คาดไว้ก่อนในกระบวนการประเมินผลกระทบ, เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ในแนวเดียวกับความคิดของการสร้างอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะในภูมิภาค.
Q: How are results measured?
ถาม.  ผลลัพธ์ถูกวัดอย่างไร?
A: That is one of the discussions that we are holding. We have said the results have to be measured on the basis of two concepts: first, the assessment must be carried out where the hoped-for impact is to occur – that is, among families and households; and second, we have to measure what we have plausibly modified.
ตอบ. นั่นเป็นเรื่องหนึ่งที่เรากำลังอภิปรายกันอยู่.  เราได้บอกว่า ผลลัพธ์จะต้องถูกวัดบนพื้นฐานของสองกรอบคิด: หนึ่ง, การประเมิน จะต้องกระทำในที่ๆ หวังว่าจะเกิดผลกระทบขึ้น—นั่นคือ, ในระหว่างครอบครัวและครัวเรือน; สอง, เราต้องวัดสิ่งที่เราสามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ง่าย.
So we’re talking about coherence between the theory of change, or the aims of the project, and what we are going to measure as an impact.
ดังนั้น เรากำลังพูดถึงความเกี่ยวเนื่องกัน ระหว่างทฤษฎีของการเปลี่ยนแปลง, หรือ เป้าหมายของโครงการ, และ อะไรที่เราต้องการวัดในฐานะเป็นผลกระทบ.
Q: How important are transparency and accountability?
ถาม. ความโปร่งใส และ ความน่าเชื่อถือ สำคัญอย่างไร?
A: Not a lot of emphasis has been put on developing these elements, but impact assessment contributes to accountability.
ยังไม่มีการเน้นพัฒนาองค์ประกอบเหล่านี้, แต่การประเมินผลกระทบทำให้เกิดความน่าเชื่อถือ.
Q: Have the rural development projects achieved concrete results in terms of reducing poverty?
ถาม. โครงการพัฒนาชนบทได้บรรลุเป้าหมายอย่างเป็นรูปธรรมในด้านการลดความยากจนอย่างไร?
A: Brazil is a good example of that. Colombia and Mexico are also making a significant effort to integrate small farmers and marginalised rural areas in markets that are a bit more dynamic, in order to change rural living conditions.
ตอบ.  บราซิลเป็นตัวอย่างที่ดี.  โคลัมเบียและเม็กซิโก กำลังพยายามอย่างมีนัยสำคัญในการผนวกรวมชาวนารายย่อยและพื้นที่ชนบทชายขอบในตลาด ที่มีพลวัตมากกว่าหน่อย, เพื่อเปลี่ยนสภาพความเป็นอยู่ในชนบท.
Peru is carrying out an interesting experiment, combining cash transfer policies with more productive strategies in order to make the most vulnerable local economies more sustainable.
เปรูกำลังทำการทดลองที่น่าสนใจ, โดยการรวมนโยบายการทำธุรกรรมด้วยเงินสำหรับยุทธศาสตร์การผลิต เพื่อทำให้เศรษฐกิจท้องถิ่นที่เปราะบาง มีความยั่งยืนมากขึ้น.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น