วันอังคารที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2556

239. มิติเพศสภาพในนโยบายความมั่นคงทางอาหาร


239. Gender in Food Security Policy

In Swaziland, Seeds Beat Drought
By Mantoe Phakathi
ในสวาซิแลนด์, เมล็ดชนะแล้ง
-มานโท ฟากาธิ
ดรุณี ตันติวิรมานนท์ แปล
Happy Shongwe, a smallholder farmer from rural Maphungwane in eastern Swaziland, shows off her seeds. Credit: Mantoe Phakathi/IPS

MAPHUNGWANE, Swaziland, Jun 15 2013 (IPS) - The overcast sky is a sign that it might rain, and Happy Shongwe, a smallholder farmer from rural Maphungwane in eastern Swaziland, is not exactly happy.
ฟ้าครึ้มแสดงว่าฝนกำลังจะมา, และ ชองเกวผู้มีความสุข, เกษตรกรรายย่อยจากชนบท Maphungwane ในภาคตะวันออกของสวาซิแลนด์, ไม่ค่อยจะเป็นสุขเท่าไร.
Inside a roofless structure made of cement blocks sit different types of legumes – peanuts, jugo beans, mung beans, cow peas and ground nuts – which she has placed in separate containers.
ภายในโครงสร้างที่ไร้หลังคา ทำจากบล็อกซีเมนต์ มีถั่วชนิดต่างๆ นั่งอยู่—ถั่วลิสง, ถั่วจูโก, ถั่วเขียว, ถั่ววัว และ ถั่วดิน—ซึ่งเธอได้แบ่งแยกในภาชนะต่างๆ.  
“If I don’t cover the seeds, the rain will spoil them and they will fail the test at the laboratory,” Shongwe tells IPS. “I have to cover the seeds with a sail to ensure that the rain doesn’t get to them.”
“หากฉันไม่คลุมเมล็ด, ฝนจะทำให้มันเสียหาย และ มันก็จะไม่ผ่านการตรวจสอบในห้องปฏิบัติการ”,  ชองเกว กล่าว.  “ฉันต้องคลุมเมล็ดด้วยผ้าใบเพื่อให้แน่ใจว่าฝนจะไม่ทำให้มันเปียก”.
The unfinished structure is where she keeps her harvest for drying, before taking the legumes to the storage containers. An award-winning smallholder farmer who cultivates nothing but legume seeds for planting, Shongwe says the crop is drought tolerant and grows well in the dry parts of the country.
“โครงสร้างที่ยังไม่เสร็จ เป็นที่ๆ เธอเก็บพืชผลจากการเก็บเกี่ยวเพื่อตากให้แห้ง, ก่อนที่จะบรรจุถั่วในภาชนะเก็บรักษา.  ชองเกว เป็นเกษตรกรรายย่อยที่ได้รับรางวัล, เธอไม่ได้ปลูกอื่นใดนอกจากเก็บเมล็ดถั่วเพื่อการเพาะปลูก, กล่าวว่า พืชของเธอทนทานแล้ง และ ปลูกได้ดีในพื้นที่แห้งแล้งของประเทศ.
“I always monitor the weather because the little rainfall we get from this part of the country is enough to germinate the seeds,” she says. “You just have to know your weather so that you plant at the right time.”
“ฉันติดตามสภาวะอากาศเสมอ เพราะ ฝนตกนิดเดียว ที่เราได้รับในภาคนี้ของประเทศ ก็เพียงพอที่จะทำให้เมล็ดงอกได้”, เธอกล่าว.   “คุณเพียงแต่ต้องรู้สภาวะอากาศของคุณ เพื่อว่าคุณจะได้เพาะปลูกในเวลาที่ถูกต้อง”.
She is preparing to take samples of her harvest to the Ministry of Agriculture’s Seed Quality Control laboratory for testing. If her seeds are of good quality, then she’ll package and label her stock before it is ready for sale.
เธอกำลังเตรียมตัวเก็บตัวอย่างจากผลการเก็บเกี่ยว ให้ห้องปฏิบัติการควบคุมคุณภาพเมล็ดของกระทรวงเกษตร เพื่อทำการทดสอบ.  หากเมล็ดของเธอมีคุณภาพดี, เธอก็จะบรรจุในห่อและติดฉลาก ก่อนพร้อมขาย.
“I get a certificate that shows that my seeds germinate at the required standard, therefore good for planting,” explains Shongwe.
“ฉันได้รับใบรับรองที่แสดงว่า เมล็ดของฉันงอกในระดับมาตรฐาน, จึงดีต่อการเพาะปลูก”, ชองเกว อธิบาย.
One of her major clients is the Food and Agriculture Organisation (FAO) of the United Nations. FAO buys the seed for the organisation’s demonstration plots to promote conservation agriculture.
ลูกค้าหลักของเธอ คือ FAO ของยูเอ็น.  FAO ซื้อเมล็ดเพื่อใช้ในแปลงสาธิต เพื่อส่งเสริมเกษตรเชิงอนุรักษ์.
“FAO has placed an order of one tonne of ground nuts from this harvest which we are supposed to supply by September,” says Shongwe.
FAO ได้สั่งซื้อถั่วดินหนึ่งตัน จากการเก็บเกี่ยวครั้งนี้ ซึ่งเราต้องส่งในเดือน กันยายน”, ชองเกว กล่าว.
On her own she cannot supply such a big order from her four-hectare farm, so she works with a group of 10 women calling themselves the Lutsango Palata Cooperative. In fact, she chairs the association of women she has mobilised herself to go into seed production.
เธอไม่สามารถผลิตได้มากพอด้วยตัวเอง เพื่อสนองใบสั่งขนาดใหญ่เช่นนี้ ในไร่นาสี่เฮกเตอร์ของเธอ, ดังนั้น เธอทำงานร่วมกับกลุ่มของผู้หญิง ๑๐ คน และเรียกตัวเองว่า สหกรณ์ ลุตซานโก พาลาตา.   อันที่จริง, เธอเป็นประธานของสมาคมสตรี ที่เธอได้ขับเคลื่อนด้วยตัวเธอเองให้เข้าสู่การผลิตเมล็ด.
“We make a lot of money from selling the seed inputs compared to farmers who sell for food,” says Shongwe.
“พวกเราทำเงินได้มากจากการขายเมล็ด เมื่อเทียบกับเกษตรกรที่ขายอาหาร”, ชองเกว กล่าว.
The National Maize Corporation buys a 50kg bag of maize at 13 dollars while a 5kg bag of nuts sells for 14 dollars.
บริษัทข้าวโพดแห่งชาติ ซื้อถุงเมล็ดหนัก ๕๐ กก ในราคา ๑๓ เหรียญ ในขณะที่ขายถุงถั่ว ๕ กก ในราคา ๑๔ เหรียญ.
There are about 10 associations of women doing similar work, bringing the number of farmers in this project to over 100, all from the drought-stricken Lubombo Region. These farmers produce indigenous seeds which they sell within their communities before offering them countrywide.
มีประมาณ ๑๐ สมาคมสตรี ที่ทำงานทำนองเดียวกัน, ทำให้จำนวนเกษตรกรในโครงการนี้มีกว่า ๑๐๐, ทั้งหมดมาจากภูมิภาค ลูบอมโบ ที่แห้งแล้ง.  เกษตรกรเหล่านี้ ผลิตเมล็ดถิ่นดั้งเดิม ที่พวกเธอขายภายในชุมชนของตน ก่อนที่จะขายทั่วประเทศ.
“It used to be very difficult for farmers to come across seed inputs for legumes because these are marginalised crops,” according to FAO assistant representative Khanyisile Mabuza.
“มันเคยยากเย็นมากสำหรับเกษตรกรที่จะมาเจอวัสดุเมล็ดเพื่อปลูกถั่ว เพราะ มันเป็นพืชชายขอบ”, ตามคำบอกเล่าของ Khanyisile Mabuza ผู้ช่วยผู้แทน FAO.
Mabuza said FAO asked the Ministry of Agriculture to train women farmers in seed production and entrepreneurship back in the 1990s when the drought started. In 2008, FAO introduced Input Trade Fairs (ITF) where poor farmers received 72 dollars in vouchers from FAO to buy farming inputs.
มาบูซา กล่าวว่า FAO ได้ขอให้ กระทรวงเกษตรให้การฝึกอบรมแก่เกษตรกรหญิง ในการผลิตเมล็ด และ เป็นผู้ประกอบการ ในช่วงทศวรรษ 1990s เมื่อความแห้งแล้งเริ่มต้น.   ในปี ๒๕๕๑, FAO ได้เสนอแนะ มหกรรมการค้าวัสดุ (ITF) ที่เกษตรกรยากจน ได้รับเงิน ๗๒ เหรียญเป็นคูปองจาก FAO เพื่อซื้อวัสดุการเกษตร.
“The community-based seed producers were also invited as vendors at the ITFs and that is where more women started joining in,” Mabuza tells IPS.
“ผู้ผลิตเมล็ดที่มีฐานในชุมชน ได้รับเชิญให้เข้าไปขายที่ ITFs และนั่นเป็นที่ๆ ผู้หญิงเข้าร่วมมากขึ้น”, มาบูซา กล่าว.
In the Kingdom, she says, legumes are considered “women’s crops” and men ignore them. As a result, there was a deliberate effort by FAO to target women to grow seed for themselves for these marginalised crops, which are very important in balancing the diet.
ในราชอาณาจักร, เธอกล่าว, ถั่วถูกมองว่าเป็น “พืชของผู้หญิง” และ ผู้ชายเมิน.  ผลคือ, เป็นความพยายามที่มีการคิดอย่างรอบคอบแล้วของ FAO ในการพุ่งเป้าไปที่ผู้หญิง ให้ปลูกเมล็ดเพื่อพวกเธอเอง เพื่อพืชชายขอบเหล่านี้, ซึ่งมีความสำคัญยิ่งในการปรับสมดุลของโภชนาการ.
“Women also form the majority of farmers and it makes sense to ensure that women have enough inputs to do their farming,” says Mabuza.
“ผู้หญิงยังเป็นเกษตรกรส่วนใหญ่ด้วย และ มันเข้าท่าที่จะประกันว่า ผู้หญิงมีวัสดุมากพอที่จะทำการเกษตรของพวกเธอ”, มาบูซากล่าว.
She adds that there was a deliberate effort by FAO to target the dry areas, because legumes tend to withstand drought. For many years, farmers have been persistent in their cultivation of maize, which is the country’s staple food, although they received no yield because of the drought.
เธอเสริมว่า FAO ได้คิดรอบคอบที่จะพุ่งเป้าไปที่ๆ แห้งแล้ง, เพราะถั่วมักจะทนแล้งได้ดี.  เป็นเวลาหลายปีแล้ว, เกษตรกรได้ดึงดันปลูกข้าวโพด, ซึ่งเป็นอาหารหลักของประเทศ, แม้ว่าพวกเราจะไม่ได้ผลผลิต เพราะความแห้งแล้ง.
“We want our farmers to understand that because of climate change, drought is going to be a part of their lives and they must now learn to adapt,” according to Mabuza.
“เราต้องการให้เกษตรกรของเราเข้าใจว่า เพราะอากาศเปลี่ยนแปลง, ภาวะแห้งแล้งจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต และ พวกเขาจะต้องเรียนรู้การปรับตัว”, มาบูซากล่าว.
Farmers from the drought-stricken areas can sell their legumes so that they can afford to buy maize from their counterparts based in wetter areas.
เกษตรกรจากภาคที่แห้งแล้ง สามารถขายพืชตระกูลถั่ว เพื่อว่าพวกเราจะได้มีเงินซื้อข้าวโพดจากเกษตรกรอื่นในพื้นที่ชุ่มชื้นกว่า.
“We’re very happy with the progress these women farmers are making,” says Mabuza.
“พวกเรามีความสุขกับความก้าวหน้าที่เกษตรกรหญิงเหล่านี้ทำได้”, มาบูซากล่าว.
The community-based seed producers are providing an alternative to the escalating costs of hybrid seed products sold by two multinational companies in the country, Seed Co. and Pannar. According to Seed Quality Control operations manager, Chris Mthethwa, many subsistence farmers do not have enough resources to buy the expensive hybrids.
ผู้ผลิตเมล็ดในชุมชน กำลังสร้างทางเลือกแทน ผลิตภัณฑ์เมล็ดลูกผสมที่ขายโดยสองบรรษัทข้ามชาติ-- Seed Co. และ Pannar—ที่ราคาสูงขึ้นเรื่อยๆ.  ตามความเห็นของ ผู้จัดการของ การควบคุมคุณภาพเมล็ด, คริส Mthethwa, เกษตรกรยังชีพหลายราย ไม่มีทรัพยากรมากพอที่จะซื้อพันธุ์ผสมแสนแพง.
“The advantage with indigenous seeds is that you can replant their offspring, yet that is not possible with hybrids,” according to Mthethwa.
“ข้อได้เปรียบของเมล็ดถิ่นดั้งเดิม คือ คุณสามารถใช้ลูกของมันเพาะปลูกอีกได้, แต่ทำไม่ได้กับเมล็ดพันธุ์ผสม”, Mthethwa กล่าว.
He said the big companies are also reluctant to sell indigenous seeds because they are not as profitable as their hybrid counterparts. That is why the government, with support from FAO, decided to mobilise smallholder farmers to produce the indigenous seeds, whose taste many Swazis prefer.
เขากล่าวว่า บริษัทใหญ่ๆ ก็ลังเลที่จะขายเมล็ดถิ่น เพราะมันทำกำไรได้ไม่งามเท่าพวกพันธุ์ผสม.  นี่คือเหตุผลที่รัฐบาล, ด้วยความสนับสนุนจาก FAO, ได้ตัดสินใจขับเคลื่อนเกษตรกรรายย่อย ให้ผลิตเมล็ดถิ่น, ซึ่งมีรสชาดที่ชาวสวาซีชอบ.
There is a possibility that seeds from the smallholder farmers will be exported under the Food Agriculture and Natural Resources Policy Analysis Network (FANRPAN) Harmonised Seed Security Programme (HASSP).
มีความเป็นไปได้ที่เมล็ดจากเกษตรกรรายย่อย จะถูกส่งออก ภายใต้โปรแกม HASSP (โปรแกมความมั่นคงของเมล็ดที่กลมกลืน) ของ FANRPAN (เครือข่ายวิเคราะห์นโยบายเกษตรอาหารและทรัพยากรธรรมชาติ).
Swaziland is among four countries in this programme – Zambia, Malawi and Zimbabwe – working on aligning their seed legislation with the Southern African Development Community (SADC) Seed Regulatory System. According to HASSP programme manager Dr. Bellah Mpofu, this pilot project will ensure easy movement within the SADC region of seeds produced from the participating countries.
สวาซิแลนด์ เป็นหนึ่งในสี่ประเทศในโปรแกมนี้—แซมเบีย, มาลาวี และ ซิมบาบวย—ที่ทำการแก้ไขกฎหมายเมล็ดให้สอดคล้องกับ ระบบการควบคุมเมล็ดของ SADC (ประชาคมการพัฒนาภูมิภาคอัฟริกันใต้)
“This will improve the access to and availability of quality seed to smallholder farmers,” he tells IPS.
“นี่จะปรับปรุงการเข้าถึง และ การมีพร้อมเมล็ดคุณภาพแก่เกษตรกรรายย่อย”, เขากล่าว.
This means by the end of the project this year, Shongwe, who won the 2011 FANRPAN Civil Society Policy Movers and Shakers Award, can expand her customer base.
นี่หมายความว่า เมื่อจบโครงการปีนี้, ชองเกว, ผู้ได้รับรางวัล ผู้ขับเคลื่อนนโยบายประชาสังคม  FANRPAN 2011 และรางวัล Shakers, จะสามารถขยายฐานลูกค้าของเธอได้.
“I can’t wait to start exporting,” she says proudly.
“ฉันรอไม่ไหวที่จะเริ่มทำการส่งออก”, เธอกล่าวด้วยความภาคภูมิ.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น