วันอาทิตย์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555

118. จาก Farming Matters (FM) – เพื่อยกระดับเกษตรกร



Theme overview - We are up to the job
 by Marciano T. (Jun) Virola
เปิดเล่ม-เราพร้อมทันงาน

Farmer organisations are not a new idea, and their advantages are widely recognised. Yet most are facing new challenges. There is growing competition for land, while international trade agreements are having a very negative effect on rural communities. Food prices are rising and climate change puts additional pressure on farming, but only a few national governments are providing an adequate response. How can farmers work together, and how can their organisations support them? These questions are now more relevant than ever.
องค์กรเกษตรกร ไม่ใช่ความคิดใหม่, และข้อได้เปรียบของมันก็เป็นที่ยอมรับกันกว้างขวาง.  แต่ส่วนใหญ่กำลังเผชิญสิ่งท้าทายใหม่.   การแก่งแย่งที่ดินมากขึ้น, ในขณะที่การตกลงการค้าระหว่างประเทศกำลังส่งผลกระทบเชิงลบในชุมชนชนบท.   ราคาอาหารเพิ่มขึ้น และภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงได้เพิ่มแรงกดดันต่อการทำไร่ไถนา, แต่มีไม่กี่รัฐบาลชาติ ที่ตอบสนองมากพอ.   เกษตรกรจะทำงานร่วมกันได้อย่างไร, และองค์กรของพวกเขาจะสนับสนุนพวกเขาได้อย่างไร?   คำถามเหล่านี้ตรงประเด็นมากกว่าก่อน.

Farming Matters | 28.3 | September 2012

Whether they are co-operatives, unions, committees or associations, farmer organisations play an important role in all rural areas. The vast majority of these organisations are the result of farmers’ own initiatives and willingness to work together, and have been formed with the objective of improving farmers’ incomes and livelihoods. They help farmers acquire inputs or gain access to specific resources, and are part of many commercialisation and value-addition processes.
ไม่ว่าจะเป็นสหกรณ์, สหภาพ, คณะกรรมการ หรือ สมาคม, องค์กรเกษตรกรมีบทบาทสำคัญในพื้นที่ชนบททั้งหมด.  องค์กรเหล่านี้ ส่วนใหญ่เป็นผลจากการริเริ่มของเกษตรกรเอง และความยินดีที่จะทำงานร่วมกัน, และได้รวมตัวกันดัวยวัตถุประสงค์ของการปรับปรุงรายได้และวิถีชีวิตของเกษตรกร.   ได้ช่วยให้เกษตรกรจัดหาวัตถุดิบ หรือ เข้าถึงแหล่งทรัพยากรเฉพาะ, และเป็นส่วนหนึ่งของการพาณิชย์ และกระบวนการเพิ่มมูลค่าต่างๆ.
Farmer organisations, large and small, are a key stakeholder in many capacity building projects and programmes, and in the exchange of knowledge and information at a local level.
                องค์กรเกษตรกร, ใหญ่และเล็ก, เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลักในโครงการและโปรแกมเสริมสร้างสมรรถนะมากมาย, และในการแลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลข่าวสารในระดับท้องถิ่น.
The recognition of common aspirations, struggles and experiences is often the stimulus that drives individuals and groups join hands. Yet this is also a response to the need to make ourselves heard at international, regional and also at a national level – especially in the face of the serious challenges the world is facing today.
                การยอมรับรู้ความทะเยอทะยาน, การดิ้นรน และประสบการณ์ร่วม มักจะเป็นแรงกระตุ้นที่ขับเคลื่อนปัจเจกและกลุ่มให้จับมือกัน.  แต่นี่ก็เป็นการตอบสนองความต้องการทำตัวให้ได้ยินในระดับนานาชาติ, ระดับภาคพื้น และในระดับชาติด้วย—โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเผชิญกับสิ่งท้าทายในโลกทุกวันนี้.
As a result, a growing number of farmer organisations are advocating farmers’ rights, presenting farmers’ opinions and representing their interests at the national, regional or international level. One of these groups is the Asian Farmers’ Association for Sustainable Rural Development (AFA), a regional federation of farmer organisations in Asia, with members in 10 Asian countries.
                ผลคือ, องค์กรเกษตรกรมากขึ้น กำลังสนับสนุนสิทธิของเกษตรกร, นำเสนอความเห็นของเกษตรกร และทำหน้าที่เป็นตัวแทนของพวกเขาในระดับชาติ, ภาคพื้น หรือ นานาชาติ.  ในบรรดากลุ่มเหล่านี้ กลุ่มหนึ่งคือ สมาคมเกษตรกรเอเชียเพื่อการพัฒนาชนบทที่ยั่งยืน (เอเอฟเอ, AFA), อันเป็นสหพันธ์ภาคพื้นขององค์กรเกษตรกรในเอเชีย, มีสมาชิกใน 10 ประเทศในเอเชีย.
The farmers and representatives who came together as AFA in 2002 found out that we shared similar problems and objectives, and that we could achieve these objectives by working together. Ten years later, we are proud to say that we’ve come a long way.
                เกษตรกรและผู้แทนที่มารวมตัวกันในฐานะ เอเอฟเอ ในปี 2002 ได้พบว่า พวกเราแบ่งปันปัญหาและวัตถุประสงค์คล้ายคลึงกัน, และพวกเราสามารถบรรลุวัตถุประสงค์เหล่านี้ได้ด้วยการทำงานร่วมกัน.   สิบปีให้หลัง, พวกเราภูมิในที่จะบอกว่า เราได้มาไกลทีเดียว.

Common challenges
            ความท้าทายร่วม

The benefits of working together are easy to see. Our work in AFA, however, has also shown some of the challenges we all face when trying to be heard by researchers and project officers, or when trying to influence policy makers. How can farmer organisations become strong and effective?
                ผลประโยชน์ของการทำงานร่วมกันเป็นเรื่องง่ายที่จะมองเห็น.   แต่ งานของเราใน เอเอฟเอ ก็ได้แสดงสิ่งท้าทายบางอย่างที่เราทั้งหมดกำลังเผชิญ เมื่อพยายามทำให้นักวิจัยและเจ้าหน้าที่โครงการได้ยินเสียงของพวกเรา, หรือ เมื่อพยายามกดดันผู้กำหนดนโยบาย.   องค์กรเกษตรกรจะเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพได้อย่างไร?
The experiences of the various organisations, federations and networks that make up AFA have shown the need to build strong and effective organisations: ensuring that we are relevant, participatory and inclusive, and sustainable. These challenges are dealt with by continuously focusing on each organisation’s governance structures, and also by partnering with supportive individuals and institutions. Just as important, however, is for each organisation to look at the possibilities to draw lessons from their own experience when making future plans.
                ประสบการณ์ขององค์กรต่างๆ, สหพันธ์ และ เครือข่าย ที่รวมกันเป็น เอเอฟเอ ได้แสดงให้เห็นความจำเป็นที่จะต้องสร้างองค์กรให้แข็งแรงและมีประสิทธิภาพ: ทำให้มั่นใจว่า เรายังมีส่วนเกี่ยวพันและอยู่ในประเด็น, มีส่วนร่วมและเป็นส่วนหนึ่ง, และยั่งยืน.   สิ่งท้าทายเหล่านี้ กำลังถูกจัดการ โดยเพ่งไปที่โครงสร้างการปกครองของแต่ละองค์กรอย่างต่อเนื่อง, แล้วก็โดยการเป็นหุ้นส่วนกับปัจเจกและสถาบันที่ให้การสนับสนุน.   แต่ที่สำคัญพอๆ กัน คือ แต่ละองค์กร ต้องให้ความสนใจที่การถอดบทเรียนจากประสบการณ์ของตนเอง เมื่อกำหนดแผนสำหรับอนาคต.
In a changing context, farmer organisations need to remain relevant and directly related to their members’ needs and aspirations. This is easier when they focus on needs that are felt strongly by farmers, such as securing land rights, ensuring access to seeds, or on improving productivity and incomes. These are issues that are likely to capture the motivation and interest of all members.
                ในบริบทที่เปลี่ยนแปลง, องค์กรเกษตรกรจำเป็นต้องทำตัวให้สอดคล้องและสัมพันธ์โดยตรงกับความต้องการและความปรารถนาของสมาชิกของตน.   นี่จะง่ายขึ้นเมื่อเล็งอยู่ที่ความจำเป็น/ต้องการ ที่เกษตรกรรู้สึกถึงอย่างแรง, เช่น การถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน, ความมั่นใจว่าเข้าถึงเมล็ดพันธุ์, หรือเพิ่มผลิตภาพและรายได้.   ประเด็นเหล่านี้ อาจตรงกับแรงจูงใจและความสนใจของสมาชิกทั้งหมด.
The local conditions and contexts in which they operate deserve special attention, as does the need to strike a clear balance between the provision of short-term benefits to individual members, and the long term benefits of the group as a whole. This “balance” defines the objectives of some of AFA’s members. Pambansang Kilusan ng mga Samahang Magsasaka (PAKISAMA), for example, is a national confederation of peasants in the Philippines that has successfully waged campaigns to help farmers gain access to the land they work.
                เงื่อนไขและบริบทในท้องถิ่นที่พวกเขาทำงานอยู่ สมควรได้รับความสนใจพิเศษ, พอๆ กับความจำเป็นที่จะสร้างความสมดุลที่ชัดเจนระหว่างการให้ประโยชน์ระยะสั้นแก่ปัจเจกสมาชิก, และประโยชน์ระยะยาวแก่ทั้งกลุ่มโดยรวม.   “ความสมดุล” นี้ นิยามวัตถุประสงค์ของสมาชิกบางองค์กรของ เอเอฟเอ.  เช่น Pambansang Kilusan ng mga Samahang Magsasaka (PAKISAMA), พันธมิตรชาวนาแห่งชาติในฟิลิปปินส์ ที่ประสบความสำเร็จในการรณรงค์ช่วยให้ชาวนาได้เข้าถึง (กรรมสิทธิ์) ที่ดินที่พวกเขาทำงานอยู่.
In a similar way, Aliansi Petani Indonesia (API), a peasant federation in Indonesia, has run an effective land reform campaign. Both organisations group many landless farmers and farm workers.
                ในทำนองเดียวกัน, Aliansi Petani Indonesia (API), สหพันธ์ชาวนาในอินโดนีเซีย, ได้ขับเคลื่อนการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ.   ทั้งสององค์กร จัดกลุ่มเกษตรกรไร้ที่ทำกิน และ แรงงานเกษตรเป็นจำนวนมาก.
At the same time, farmer organisations need to be strong in order to make the voices of their members heard. In many cases, strength comes in numbers, as seen with the Korean Advanced Farmers’ Federation (KAFF) and their capacity to mobilise thousands of farmers to march on the streets of Seoul, and deliver their demands to government. Strong organisations are also the result of the work of committed and dedicated leaders, and of committed and involved members. This is very clearly seen in organisations like Cameroon’s National Dialogue, or in the Pan-African Farmers’ Organisation (PAFO) – and in leaders such as Elisabeth Atangana.
                ในขณะเดียวกัน, องค์กรเกษตกรจำเป็นต้องเข้มแข็ง เพื่อส่งเสียงของสมาชิกให้ได้ยิน.   ในหลายๆ กรณี, ความเข้มแข็งมาจากจำนวน, ดังที่เห็นจาก สหพันธ์ชาวนาเกาหลีหัวก้าวหน้า Korean Advanced Farmers’ Federation (KAFF) และสมรรถภาพของพวกเขาในการขับเคลื่อนเกษตรกรนับพันให้ออกมาเดินขบวนบนท้องถนนในกรุงโซล, และยื่นคำเรียกร้องต่อรัฐบาล.   องค์กรเข้มแข็ง เป็นผลจากการทำงานของผู้นำที่มุ่งมั่นผูกพันและอุทิศตัว, และสมาชิกที่มุ่งมั่นผูกพัน และมีส่วนร่วม.   อันนี้เห็นได้ชัดจากองค์กร เช่น สานเสวนาชาติแห่งแคเมอรูน, หรือ ใน องค์กรชาวนาทั่วอาฟริกา – และในผู้นำเช่น อลิซาเบธ อทังกานา.
Farmer organisations are most effective when they develop proposals and activities that are evidence-based and subjected to genuine consultation processes, right down to the village level. This can only be reached if these organisations follow inclusive and participatory approaches. Whether in a district or at an international level, this is achieved through a commitment to democratic governance, and by setting up systems, structures, and policies that encourage the participation of all members, especially women and youth, and that encourage all farmers to join.
                องค์กรเกษตรกรจะมีประสิทธิภาพมากที่สุดเมื่อพวกเขาพัฒนาโครงการนำเสนอ และ กิจกรรมที่มีหลักฐานรองรับ และ ได้ผ่านกระบวนการปรึกษาหารืออย่างจริงจัง, ลงไปถึงระดับหมู่บ้าน.   อันนี้จะบรรลุได้ หากองค์กรเหล่านี้ ทำตามแนวทางรวมทุกคนเข้ามาให้มีส่วนร่วมเท่านั้น.   ไม่ว่าจะเป็นระดับอำเภอ หรือระดับนานาชาติ, นี่จะบรรลุได้ด้วยความมุ่งมั่นผูกพันกับการปกครองในวิถีประชาธิปไตย, และด้วยการจัดตั้งระบบ, โครงสร้าง, และนโยบายที่ชักจูงให้สมาชิกทั้งหมดมีส่วนร่วม, โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้หญิงและเยาวชน, และที่ชักจูงให้เกษตรกรทั้งหมดเข้าร่วม.
This approach partly explains, without a doubt, our success. With activities in different countries, AFA regularly consults its members, from the village to the national level, following participatory research processes where the voices of all groups are heard. As part of these efforts, we encourage the participation of women, both as women farmers’ groups (such South Korea’s Women Advanced Farmers Federation), and also as individuals. In the Philippines, for example, PAKISAMA has adopted bylaws assuring leadership positions for women.
                แนวทางนี้อธิบายบางส่วน, อย่างไม่ต้องสงสัย, ความสำเร็จของเรา.   ด้วยกิจกรรมในประเทศต่างๆ, เอเอฟเอ ได้ปรึกษาหารือกับสมาชิกเป็นกิจวัตร, ตั้งแต่ระดับหมู่บ้านจนถึงระดับชาติ, ใช้กระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วม ที่เสียงของทุกกลุ่ม ได้ถูกรับฟัง.   ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของความพยายามเหล่านี้, เราชักจูงให้ผู้หญิงมีส่วนร่วม, ทั้งในฐานะกลุ่มของเกษตรกรหญิง (เช่น สหพันธ์เกษตรกรหญิงหัวก้าวหน้าแห่งเกาหลีใต้), และในฐานะปัจเจกด้วย.   ในฟิลิปปินส์, PAKISAMA ได้บรรจุในธรรมนูญของกลุ่ม สร้างความเชื่อมั่นว่าจะมีผู้หญิงในตำแหน่งผู้นำ.
Most important, perhaps, is the need to pay attention to the long term sustainability of farmer organisations. This means developing a long-term vision and approach, and ensuring the continuous presence, support and representation of farmers. It also means securing the necessary funds, and setting up democratic and transparent structures for the use of these funds. This is one of the biggest challenges faced by AFA and its members, and is tackled in different ways.
                ที่สำคัญที่สุด คงเป็นความจำเป็นที่จะต้องให้ความสนใจกับความยั่งยืนในระยะยาวขององค์กรเกษตรกร.  นี่หมายถึงการพัฒนาวิสัยทัศน์และแนวทางระยะยาว, และทำให้มั่นใจว่า จะมีการปรากฏอยู่, การสนับสนุน และการเป็นตัวแทนของเกษตรกรอยู่อย่างต่อเนื่อง.   มันหมายถึงการระดมทุนที่จำเป็น, และจัดตั้งโครงสร้างที่เป็นประชาธิปไตยและโปร่งใส เพื่อการใช้กองทุนเหล่านี้ด้วย.   นี่เป็นหนึ่งในข้อท้าทายใหญ่ที่สุด ที่ เอเอฟเอ และสมาชิกของมันได้เผชิญ, และได้แก้ปัญหานี้ในวิธีต่างๆ กัน.
The Farmer and Nature Net in Cambodia, for example, forms savings groups at the village level, helping farmers develop skills to manage their resources and take on bigger projects and sustain them. Others have membership fees, or are developing their skills to provide specific services.
We are ready.
                เช่น เครือข่ายเกษตรกรและธรรมชาติในกัมพูชา ได้ตั้งกลุ่มออมทรัพย์ในระดับหมู่บ้าน, ช่วยเกษตรกรพัฒนาทักษะจัดการทรัพยากรของพวกเขา และ ทำโครงการที่ใหญ่กว่า และธำรงพวกมัน.   กลุ่มอื่นๆ เก็บค่าสมาชิก, หรือพัฒนาทักษะให้ เพื่อการบริการเฉพาะอย่าง.   พวกเราพร้อมแล้ว.
Like many other networks and federations, we in AFA have been struggling to “take root” and make ourselves known and heard at the international, regional, and national levels as a regional alliance of small-scale farmer organisations that represent both women and men. Slowly but surely, these efforts are paying off.
                ดังเช่นเครือข่ายและสหพันธ์อื่นๆ, พวกเราใน เอเอฟเอ ได้ดิ้นรนที่จะ “หยั่งราก” และทำให้พวกเราเป็นที่รู้จัก และได้รับฟังในระดับนานาชาติ, ภูมิภาค, และชาติ ในฐานะที่เป็นพันธมิตรระดับภาคพื้นขององค์กรเกษตรกรรายย่อย ที่เป็นตัวแทนของทั้งหญิงและชาย.   ช้าๆ แต่มั่นใจ, ความพยายามเหล่านี้ เริ่มคืนทุน.
Farmers’ voices have been heard in Rome and in Rio, and farmers themselves are already busy preparing for the 2014 International Year of Family Farming. This demonstrates, as mentioned by the farmers and representatives in Mozambique, that together, we go further.
                เสียงของเกษตรกรได้ยินถึงในโรม และ ในริโอ, และเกษตรกรเองก็สาละวนอยู่กับการเตรียมตัวสำหรับ  2014-ปีสากลของครอบครัวเกษตร.  นี่เป็นเครื่องแสดง, ดังที่เกษตรกรและผู้แทนในโมซามบิก เอ่ย, ว่า รวมกัน, เราจะไปไกลกว่านี้.
Marciano T. (Jun) Virola

Marciano T. (Jun) Virola works as knowledge and learning officer at AFA, the Asian Farmers’ Association for Sustainable Rural Development.
E-mail: junvirola@yahoo.com ; afa@asianfarmers.org.
For more information about AFA, please visit their website: http://asianfarmers.org

 Filed under: asia, cooperatives, farmers organisations, indonesia, rural environment

ดรุณี ตันติวิรมานนท์ แปล

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น