วันอาทิตย์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2555

101. ความเสแสร้งในวิธีคิดของการค้าคาร์บอน และของผู้นำโลก




Global Carbon Trading System Has 'Essentially Collapsed'
ระบบการค้าคาร์บอนได้ “ล้มครืน” ลงแล้ว
by Fiona Harvey
โดย ฟิโอนา ฮาร์วีย์

The world's only global system of carbon trading, designed to give poor countries access to new green technologies, has "essentially collapsed", jeopardising future flows of finance to the developing world.
ระบบเดียวของการค้าคาร์บอนโลก, ที่ถูกออกแบบเพื่อให้ประเทศยากจนเข้าถึงเทคโนโลยีสีเขียว, ได้ “ล้มครืน”, เป็นผลร้ายต่อสายเงินที่จะไหลสู่ประเทศกำลังพัฒนา.

 Financiers and project developers have abandoned the carbon market in droves, and now the UN and national governments are being asked to step in and save the scheme. Critics have long argued that 'carbon trading' does little to save the environment or lift poor people out of poverty, and are just another insidious attempt by private interests to profit from industrial pollution. (Photograph: Corbis)
ผู้สนับสนุนการเงินและนักพัฒนาโครงการ ได้พากันละทิ้งตลาดคาร์บอน, และตอนนี้ ยูเอ็นกับรัฐบาลชาติ ก็ถูกขอร้องให้ก้าวเข้ามาเพื่อรักษาโครงการนี้.   นักวิพากษ์ได้แย้งมาตลอดว่า “การค้าคาร์บอน” ทำได้เพียงนิดเดียวเพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อม หรือ ยกคนจนให้ออกจากหล่มความยากจน, และก็เป็นเพียงความพยายามที่มีเงื่อนงำของกลุ่มผลประโยชน์เอกชน ที่ต้องการหากำไรจากอุตสาหกรรมมลภาวะ.

Billions of dollars have been raised in the past seven years through the United Nations' system to set up greenhouse gas-cutting projects, such as windfarms and solar panels, in poor nations. But the failure of governments to provide firm guarantees to continue with the system beyond this year has raised serious concerns over whether it can survive.
เงินนับพันล้านเหรียญสหรัฐฯ ได้ถูกระดมในช่วงเจ็ดปีที่ผ่านมา โดยผ่านระบบสหประชาชาติ เพื่อจัดตั้งโครงการลดก๊าซเรือนกระจก, เช่น กังหันลมและแผงพลังแสงอาทิตย์/โซล่า, ในประเทศยากจน.   แต่ความล้มเหลวของรัฐบาลที่จะให้หลักประกันว่าจะดำเนินระบบดังกล่าวต่อไปได้หลังจากปีนี้ ได้ทำให้เกิดความห่วงใยว่า มันจะอยู่รอดไหม.

A panel convened by the UN reported on Monday at a meeting in Bangkok that the system, known as the clean development mechanism (CDM), was in dire need of rescue. The panel warned that allowing the CDM to collapse would make it harder in future to raise finance to help developing countries cut carbon.
คณะกรรมการชุดหนึ่งของยูเอ็น ได้รายงานเมื่อวันจันทร์นี้ ในที่ประชุมที่กรุงเทพฯ ว่า ระบบ, ที่รู้จักกันในนาม CDM หรือ กลไกพัฒนาสะอาด, กำลังต้องการเครื่องกู้ชีพอย่างยิ่ง.   คณะกรรมการเตือนว่า หากยอมให้ CDM พังทลาย จะทำให้ยากยิ่งขึ้นในอนาคตที่จะระดมเงินเพื่อช่วยประเทศกำลังพัฒนาลดคาร์บอน.

Joan MacNaughton, a former top UK civil servant and vice chair of the high level panel, told the Guardian: "The carbon market is profoundly weak, and the CDM has essentially collapsed. It's extremely worrying that governments are not taking this seriously."
โจแอน แมคนอฮ์ตัน, อดีตข้าราชการระดับสูงของสหราชอาณาจักร และรองประธานของคณะกรรมการระดับสูงนี้, ได้กล่าวต่อ การ์เดียนว่า “ตลาดคาร์บอนอ่อนแอมาก, และ CDM ก็ได้พังทลายไปแล้ว.  มันน่ากังวลอย่างยิ่งที่รัฐบาลไม่ได้เอาจริงเอาจังกับเรื่องนี้”.

The panel said that governments needed to reassure investors, who have poured tens of billions into the market, by pledging a continuation of the system, and propping up the market by toughening their targets on cutting emissions, and perhaps buying carbon credits themselves.
คณะกรรมการได้บอกว่า รัฐบาลจำเป็นต้องสร้างความมั่นใจแก่นักลงทุน,ผู้ได้ทุ่มเงินหมื่นล้านเหรียญลงในตลาด, ด้วยการสัญญาว่าจะทำให้ระบบดำเนินต่อไป, และสนองตอบตลาดด้วยการทำเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซให้เข้มงวดขึ้น, และบางที อาจซื้อคาร์บอนเครดิตด้วย.

Governments have a last chance to restore confidence in the system when they meet in Qatar this December to discuss climate change. But few participants hold out any hope that they will agree to toughen their 2020 emissions targets, which are scarcely even on the agenda. Instead, governments are focusing on drawing up a new climate change treaty by the end of 2015, which would stipulate emissions cuts for the period after 2020.
รัฐบาลมีโอกาสสุดท้ายในการกู้คืนความเชื่อมั่นในระบบ เมื่อพวกเขาพบกันใน การ์ตาร์ในเดือนธันวาคมนี้ เพื่อถกเรื่องภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง.  แต่ผู้เข้าร่วมไม่กี่คนให้ความหวังว่า พวกเขาจะตกลงรักษาเป้าการปล่อยก๊าซในปี 2020 ได้อย่างเข้มงวด, ซึ่งก็ไม่ได้แม้แต่จะอยู่ในวาระ.   แทนที่จะเป็นเช่นนั้น, รัฐบาลต่างๆ กำลังเพ่งไปที่การยกร่างอนุสัญญาภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงฉบับใหม่ ให้เสร็จก่อนสิ้นปี 2015, ซึ่งจะกำหนดเงื่อนไขการลดการปล่อยก๊าซสำหรับช่วงเวลาหลังจากปี 2020.

Under the CDM, developers of projects to cut carbon emissions in developing countries receive a UN-issued carbon credit for every tonne of carbon dioxide the project avoids. This applies to a wide range of activities, from building new windfarms and solar panels, and distributing more efficient cook stoves and lights, to the installation of technology on factories to prevent the release of certain industrial gases.
ภายใต้ CDM, ผู้พัฒนาโครงการเพื่อลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนในประเทศกำลังพัฒนา จะได้รับคาร์บอนเครดิตที่ ยูเอ็นเป็นผู้ออก สำหรับทุกๆ หนึ่งตันที่โครงการหลีกเลี่ยงปล่อยได้.   อันนี้ใช้ได้กับหลากกิจกรรม, ตั้งแต่การสร้างไร่กังหันลม และแผงโซลาใหม่, และการจัดกระจายเตาหุงต้มและหลอดไฟที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า, จนถึงการติดตั้งเทคโนโลยีในโรงงาน เพื่อดักจับก๊าซอุตสาหกรรมบางชนิด.

The system was set up under the 1997 Kyoto protocol, after years of debate, but no credits could be issued until that treaty finally came into force in 2005. Since then, just over 1bn CDM credits have been issued.
ระบบดังกล่าวถูกจัดตั้งขึ้นภายใต้ พิธีสารเกียวโต 1997, หลังจากอภิปรายกันมาหลายปี, แต่ยังไม่สามารถให้เครดิตได้ จนกระทั่งอนุสัญญานั้น ได้ออกมาเป็นรูปเป็นร่างในปี 2005.  ตั้งแต่นั้นมา, ได้ออกเพียงกว่า 1 พันล้าน เครดิตของ CDM.

These carbon credits can in theory be bought by the governments which are obliged by the Kyoto protocol to cut their emissions, to count against their targets. In practice, however, with the US refusing to ratify Kyoto and big emerging economies such as China, India and Mexico carrying no emissions-cutting obligations under the treaty, Europe is the only market of any size. The EU has its own cap-and-trade emissions scheme, under which heavy industries are awarded a quota of carbon they can emit, which they can top up by buying the UN credits.
คาร์บอนเครดิตเหล่านี้ ในทางทฤษฎี สามารถซื้อได้โดยรัฐบาลที่ถูกพิธีสารเกียวโตบังคับให้ลดการปล่อยก๊าซ, เพื่อปรับเป้า.   แต่ในทางปฏิบัติ, ด้วยการที่สหรัฐฯ ปฏิเสธที่จะให้สัตยาบันต่อพิธีสารเกียวโต และเศรษฐกิจยักษ์อุบัติใหม่เช่น จีน, อินเดีย และเม็กซิโก ไม่มีข้อผูกพันว่าต้องลดการปล่อยก๊าซภายใต้อนุสัญญา, ยุโรปจึงเป็นตลาดเดียว.  อียู มีโครงการ เพดาน-และ-การค้าการปล่อยก๊าซ, ที่กำหนดโควต้าการปล่อยคาร์บอนให้แก่อุตสาหกรรมหนัก, ซึ่งพวกเขาสามารถซื้อจากเครดิตยูเอ็น.

But the recession and Eurozone crisis have whipped the rug from under this market. As industrial activity has declined, and the after effects of too-generous carbon quotas early on work themselves through, few EU companies now need to top up their carbon quotas. To make matters worse, the current phase of the Kyoto protocol ends this year, and of the world's major economies only the EU has pledged to continue it.
แต่ภาวะเศรษฐกิจถดถอย และวิกฤตยูโรโซน ได้สะบัดพรมที่อยู่ใต้ตลาด.  ในขณะที่กิจกรรมอุตสาหกรรมลดลง, และหลังจากอานิสงค์ของโควต้าคาร์บอนแสนใจดีตั้งแต่แรกเริ่ม, มีเพียงไม่กี่บริษัทของอียู ที่จำเป็นต้องซื้อคาร์บอนโควตาเพิ่ม.   เพื่อทำให้เรื่องแย่ลง, ช่วงอายุของพิธีสารเกียวโตปัจจุบัน จะยุติลงในปีนี้, และในบรรดาระบบเศรษฐกิจหลักของโลก มีเพียงอียูที่สัญญาว่าจะดำเนินต่อไป.

All of this has combined to bring about a collapse in the price of UN credits, from highs topping $20 (£12.50) before the financial crisis to less than $3 each today. At such rates, many potential projects are not commercially viable. Financiers and project developers have abandoned the market in droves.
ทั้งหมดนี้รวมกัน ฉุดให้ระบบราคาของเครดิตยูเอ็นพังทลาย, จากราคาสูง $20 (£12.50) ก่อนวิกฤตทางการเงิน สู่ ต่ำกว่า $3 ต่อหน่วยทุกวันนี้.   ด้วยอัตรานี้, โครงการที่มีศักยภาพอื่นๆ กลายเป็นหมันเชิงพาณิชย์.  นักการเงินและนักพัฒนาโครงการ พากันต้อนออกเป็นฝูงละทิ้งตลาดไป.

MacNaughton warned that critics of the market, who argue it does not do enough to cut emissions, could end up regretting its demise, because the years of work it took to set up the market could not easily be replicated. "This is a stable framework, with functioning mechanisms and standards and legal [procedures], and all the things you need for a market. People are assuming this will all still be there in a few years when they want it again, but I don't think it will [unless they act]," she said. Even if countries decided on reform, no new system could start functioning before 2020, so the CDM could "play a bridging role".
แมคนอฮ์ตัน เตือนว่า นักวิพากษ์ของตลาด, ผู้แย้งว่า มันทำไม่เพียงพอในการลดการปล่อยก๊าซ, อาจต้องเสียใจที่มันล้มหายตายจากไป, เพราะจำนวนปีที่ใช้ไปในการจัดตั้งตลาด ไม่สามารถทำให้เกิดขึ้นซ้ำได้ง่ายๆ. “นี่เป็นกรอบคิดที่เสถียร, มีกลไกที่ทำงานได้ และมีมาตรฐานและกฎหมายรองรับ, และทุกอย่างที่ต้องมีสำหรับตลาด.  ผู้คนจะสมมติกันเองว่า มันยังอยู่ที่นั่นในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า เมื่อพวกเขาต้องการใช้มัน, แต่ดิฉันไม่คิดว่ามันจะยังคงอยู่ (หากพวกเขาไม่ทำอะไรตอนนี้)”, เธอกล่าว.   แม้ว่าประเทศต่างๆ จะตัดสินใจปฏิรูป, ไม่มีระบบใหม่ใดๆ จะสามารถเริ่มทำงานได้ก่อน ปี 2020, ดังนั้น CDM สามารถจะเล่นบทสะพานเชื่อม”.

Mitchell Feierstein, chief executive of Glacier Environmental Funds, said the CDM had long been overshadowed by bigger opportunities for green investors. "Carbon markets will exist [in future] but certainly not as they exist today," he said. "Investment capital will continue flowing into the innovative technologies which increase energy efficiency while reducing global dependence on fossil fuels. Private capital is now more easily deployed in other investment opportunities without the bureaucratic hassles of the current CDM."
มิทเชล ฟายอ์สไตน์, หัวหน้าผู้บริหารของกองทุนสิ่งแวดล้อมธารน้ำแข็ง, กล่าวว่า CDM ถูกบดบังด้วยเงาของโอกาสที่ยิ่งใหญ่กว่าสำหรับนักลงทุนสีเขียว.  “ตลาดคาร์บอนจะคงอยู่ได้ (ในอนาคต) แต่แน่นอน ไม่ใช่ดังที่มันเป็นอยู่ทุกวันนี้”,  เขากล่าว.  “เงินทุนจะไหลอย่างต่อเนื่องสู่เทคโนโลยีนวัตกรรม ที่เพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน ในขณะลดการพึ่งพิงเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์.   ตอนนี้ ทุนเอกชนเคลื่อนตัวได้ง่ายในการลงทุนอื่นๆ โดยไม่ต้องผ่านอุปสรรคขั้นตอนระบบราชการของ CDM ปัจจุบัน”.

But the CDM still has its optimists. Flora Yu, of the carbon specialist IdeaCarbon, said the market was likely to continue, as some countries – including Australia, China and South Korea – have been developing their own cap-and-trade carbon markets, which they will want to link to a global system. "There is still a potential opportunity for the CDM, to further develop the amount of money and resources that have already been invested in it. We think it is not going to go away."
แต่ใน CDM ยังมีคนที่มองโลกในแง่ดี.  ฟลอรา หยู, ผู้เชี่ยวชาญคาร์บอน แห่ง ไอเดียคาร์บอน, บอกว่า ตลาดคงจะดำเนินต่อไป, เพราะบางประเทศ—รวมทั้งออสเตรเลีย, จีน และเกาหลีใต้—ได้พัฒนาตลาดเพดาน-และ-ค้าคาร์บอน, ที่พวกเขาต้องการเชื่อมต่อกับระบบโลก.  CDM ยังมีโอกาส/สำหรับ ที่จะพัฒนาให้ได้จำนวนเงินและทรัพยากร ที่ได้ลงทุนไปแล้ว.  เราคิดว่า มันคงจะไม่หายไปไหน”.

© 2012 Guardian News and Media Limited
Published on Monday, September 10, 2012 by The Guardian

Interesting that the only substantial criticism of carbon trading in this piece is found in the photo caption.
The Guardian is often a cut above the US corpress, but the body could have been from an AP article, wouldn't you say?
5 / 
jimbojamesiv • an hour ago
Carbon trading should be dead. It's a dumb idea, given that it's intended to create a new, speculative commodity, which is not the answer by any means.
0 / 
optura • 5 hours ago
carbon will be privatized long before air and water, no worry
0 / 
Chris Herz • 9 hours ago
No subsidies for energy providers other than oil can be provided by these corrupt governments.
0 / 
Anton van der Baan • 13 hours ago
perhaps Bain Investments could help...
0 / 
galen066 • 14 hours ago −
UN: Global Carbon Trading System Has 'Essentially Collapsed'.
Corporate Oligarchs who opposed the system, and fund AGW deniers: "Excellent!" *steeples fingers a la Mr. Burns*
0 /

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น