Activists in
Argentina Expect Landmark Ruling against Agrochemicals
นักรณรงค์ในอาร์เจนตินา
คาดหวังคำวินิจฉัยที่ต่อต้านเคมีภัณฑ์ทางเกษตร
Sofía Gatica, with a
loudspeaker, at a protest against agrochemicals. Credit: Mothers of Ituzaingó
BUENOS AIRES, Aug 17 2012
(IPS) -
After more than a decade of campaigning against toxic agrochemicals, a group of
women from a poor neighbourhood in the northern Argentine city of Córdoba have
brought large-scale soybean growers to trial for the health damages caused by
spraying.
บัวโนสไอเรส-
หลังจากรณรงค์กว่าทศวรรษเพื่อต่อต้านเคมีภัณฑ์ทางเกษตรที่เป็นพิษ,
หญิงกลุ่มหนึ่งจากย่านคนยากจนในตอนเหนือของเมืองอาร์เจนไตน์ ของ คอร์โดบา
ได้นำผู้ปลูกถั่วเหลืองขนาดใหญ่หลายคนขึ้นศาล ในข้อหาทำให้สุขภาพเสื่อมโทรม
เพราะสาเหตุจากการฉีดพ่นสารเคมี.
The trial began in June, and
the sentence is to be handed down on Aug. 21. In the dock are two soybean
producers, Francisco Parra and Jorge Gabrielli, and the pilot of a spray plane,
Edgardo Pancello.
การไต่สวนเริ่มต้นในเดือนมิถุนายน,
และคำพิพากษาจะออกมาในวันที่ 21
สิงหาคม. ในคอกไต่สวน คือ ผู้ผลิตถั่วเหลืองสองราย,
ฟรานซิสโก ปาร์รา และ ยอร์จ เกเบรียลลิ, และนักบินของเครื่องพ่นสารเคมี, เอดการ์โด
ปันเซลโล.
The prosecutors are seeking
four years of prison for Parra and three years for Pancillo. But the
prosecutor’s office has not filed charges against Gabrielli, due to the lack of
clear evidence of his responsibility, and he is expected to be acquitted.
อัยการต้องการให้จำคุกสี่ปีสำหรับ
ปาร์รา และสามปีสำหรับ ปันเซลโล.
แต่สำนักงานอัยการไม่ได้ตั้งข้อหาต่อ เกเบรียลลิ, เพราะขาดหลักฐานชัดเจนแสดงถึงความรับผิดชอบของเขา,
และคาดว่า เขาจะถูกปล่อย.
The court must decide whether
there is enough evidence to link the spraying of agrochemicals with harmful
health effects, and sentence accordingly.
ศาลจะต้องตัดสินใจว่ามีหลักฐานมากพอที่จะเชื่อมโยงการพ่นสารเคมีเกษตร
ที่มีผลกระทบอันตรายต่อสุขภาพ, และพิพากษาตามนั้น.
“We are not satisfied with
the sentences sought by the prosecutor. They have done so much damage to us,
and we were hoping for more. But at least it will set a precedent in the
country,” one of the plaintiffs, Sofía Gatica, told IPS.
“พวกเราไม่พอใจกับคำพิพากษาที่อัยการต้องการให้เป็น. พวกเขาได้สร้างเสียหายแก่พวกเรามากนัก,
และพวกเราหวังมากกว่านั้น.
แต่อย่างน้อยมันก็จะเป็นตัวอย่างในประเทศ”, โซเฟีย กาติคา
ผู้เสียหายคนหนึ่งกล่าว.
Gatica won the prestigious
Goldman Environmental Prize this year for her activity in defence of the
environment and the lives of people in her working-class neighbourhood,
Ituzaingó Anexo, on the outskirts of Córdoba.
กาติคา ได้รับรางวัลทรงเกียรติ
สิ่งแวดล้อมโกลแมน ในปีนี้
สำหรับกิจกรรมของเธอในการปกป้องสิ่งแวดล้อมและชีวิตของประชาชนในย่านชนชั้นแรงงานของเธอ,
อิตูซาอิงโก แอนเน็กโซ, ในชานเมืองของคอร์โดบา.
For years, the 5,000 people
of Ituzaingó Anexo suffered the impacts of spraying on the commercial soybean
fields surrounding the neighbourhood. Many homes are just metres away from the
crops.
เป็นเวลาหลายปีแล้ว, ประชาชน 5,000 คน ของอิตูซาอิงโก แอนเน็กโซ
ล้มป่วยจากผลกระทบของการฉีดพ่นบนไร่ถั่วเหลืองพาณิชย์ รอบๆ ละแวกนั้น. หลายๆ บ้านอยู่ห่างออกไปเพียงไม่กี่เมตรจากแปลงพืช.
In 1999, Gatica’s daughter died
of kidney failure three days after her birth. The mother’s grief turned into
anger, and she started to keep track of the cases of cancer, birth defects and
other health problems in the neighbourhood.
ในปี 1999, ลูกสาวของกาติคา ตายด้วยอาการไตวายเพียงสามวันหลังคลอด. ความโทมนัสของแม่ได้กลายเป็นความโกรธ,
และเธอได้เริ่มตามรอยผู้ป่วยเป็นโรคมะเร็ง, พิการแต่กำเนิด และปัญหาสุขภาพอื่นๆ
ในละแวกนั้น.
She suspected that the
numerous health problems were caused by glyphosate, the herbicide used on
fields of genetically modified soybeans, sprayed by hand or from planes.
เธอสงสัยว่า ปัญหาสุขภาพมากมาย
ล้วนเกิดจาก กลัยฟอเสต, ยาฆ่าวัชพืชที่ใช้ในแปลงถั่วเหลืองที่ได้รับการตัดแต่งทางพันธุกรรม,
ที่ฉีดพ่นด้วยมือ หรือจากเครื่องบิน.
Gatica’s list included cases
of newborns with six fingers or without a thumb, with deformed jaw bones, or
without intestines. “We had malformations, cancer, lupus, purpura, haemolytic
anaemia,” she said.
รายการของกาติคา
รวมถึงกรณีของเด็กเกิดใหม่ที่มีหกนิ้ว หรือไม่มีนิ้วหัวแม่มือ, มีกระดูกขากรรไกรที่ผิดปกติ,
หรือไม่มีลำไส้. “พวกเรามีรูปลักษณ์ผิดปกติ,
มะเร็ง, โรคผิวหนังลูปัส, จ้ำเขียวบนผิวหนัง, โลหิตจาง”, เธอกล่าว.
The Mothers of Ituzaingó, the name of the group of women
who began to draw attention to the suspected link between the herbicide and the
health problems in their community, had blood samples from local children
tested, and carried out tests of the water, air and soil.
“มารดาแห่งอิตูซาอิงโก”
เป็นชื่อของกลุ่มผู้หญิง ผู้เริ่มดึงดูดความสนใจให้หันไปที่ความเชื่อมโยงที่น่าสงสัยระหว่างยากำจัดวัชพืช
และ ปัญหาสุขภาพในชุมชนของพวกเขา, ได้หาทางให้ตรวจเลือดของเด็กๆ ในท้องถิ่น,
และทำการกรวดน้ำ, อากาศ และดิน.
The results of the testing
pointed to a link between exposure to glyphosate and health problems.
ผลการตรวจชี้ไปที่จุดเชื่อมระหว่างการสัมผัส
กลัยฟอเสต กับ ปัญหาสุขภาพ.
The women discovered that the
cancer rate in the community was 41 times the national average. Rates of
respiratory diseases, neurological problems, and infant mortality were also far
higher than average.
กลุ่มผู้หญิงได้ค้นพบว่า อัตราการเกิดมะเร็งในชุมชน
สูงกว่าอัตราเฉลี่ยของชาติถึง 41 เท่า.
อัตราการเป็นโรคทางเดินหายใจ,
ปัญหาประสาท, และการตายของทารก ล้วนสูงกว่าอัตราเฉลี่ยของชาติมาก.
As a result of their
activism, they won a municipal ordinance banning spraying by hand within 500
metres of the neighbourhood, and aerial spraying within 2,500 metres, which
created a buffer zone around the community.
ผลจากกิจกรรมของพวกเธอ, พวกเธอได้รับชัยชนะในการผลักดัน
พรบ เทศบาล ที่ห้ามการพ่นสเปรย์ด้วยมือ ภายใน 500 เมตรของย่านชุมชน, และการพ่นสเปรย์ทางอากาศภายใน 2,500 เมตร, ซึ่งเป็นการสร้างเขตกันชนรอบๆ ชุมชน.
But aerial spraying
continued, and in 2008, the Mothers of Ituzaingó brought legal action against
the commercial soybean growers, providing as evidence videos showing spray
planes flying close to the community.
แต่การฉีดพ่นทางอากาศยังคงดำเนินต่อไป, และในปี 2008, มารดาแห่งอิตูซาอิงโก ก็ได้ตั้งข้อหาฟ้องร้องผู้ปลูกถั่วเหลืองเชิงพาณิชย์,
ด้วยหลักฐานถ่ายวีดีโอแสดงถึงเครื่องบินที่ฉีดพ่น บินใกล้ชุมชน”.
The lawsuit was backed by the
under-secretariat of health in the city of Córdoba, which also filed its own
case. The prosecutor’s office ordered an investigation, which found that not
only glyphosate, but endosulfan – a controversial insecticide that is being
phased out globally – were sprayed in the area.
คดีนี้ ได้รับการหนุนหลังจากปลัดสาธารณสุข
ในที่เมืองคอร์โดบา, ซึ่งก็ได้ยื่นฟ้องเองเหมือนกัน. สำนักงานอัยการได้มีคำสั่งให้สืบสวน,
ที่พบว่าไม่เพียงแต่มีกลัยฟอเสต, ยังมี เอนโดซัลฟาน—ยาฆ่าแมลง ที่กำลังถูกบังคับให้เลิกใช้ทั่วโลก—ได้ถูกฉีดพ่นในบริเวณนั้น.
After the lawsuits were
brought and “stop the spraying” protests were held by rural organisations,
environmental groups and community associations campaigning against the use of
agrochemicals in virtually every province, the national government decided to
intervene.
หลังจากได้ยื่นคดีความดังกล่าว ก็มีการประท้วง
“หยุดพ่น” ขึ้นโดยองค์กรชนบท, กลุ่มสิ่งแวดล้อม และสมาคมชุมชน ที่รณรงค์ต่อต้านการใช้เคมีภัณฑ์ทางเกษตรในเกือบทุกๆ
จังหวัด, รัฐบาลชาติได้ตัดสินใจเข้าแทรกแซง.
In 2009, President Cristina
Fernández decreed the creation of a national commission to investigate
agrochemicals, under the Health Ministry.
ในปี 2009, ประธานิบดี คริสตินา เฟอร์นานเดซ บัญชาให้แต่งตั้งคณะกรรมาธิการเพื่อสอบสวนเคมีภัณฑ์ทางเกษตร,
ภายใต้กระทรวงสาธารณสุข.
Shortly after the commission
was set up, the experts issued a report, the “Evaluación de la Información
Científica vinculada al Glifosato en su Incidencia sobre la Salud y el
Ambiente” (evaluation of scientific information on glyphosate’s impact on
health and the environment), which assessed the studies carried out on the
issue, but did not provide conclusive results of its own.
ไม่นานหลังจากคณะกรรมาธิการได้ถูกจัดตั้งขึ้นแล้ว,
ผู้เชี่ยวชาญได้เผยแพร่รายงาน. “การประเมินข้อมูลวิทยาศาสตร์เรื่องผลกระทบของกลัยฟอเสตต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม”,
ที่ประเมินการศึกษาต่างๆ ในเรื่องนี้, แต่ไม่ได้ให้ข้อสรุปของมันเอง.
“Because there is not enough
data in Argentina on the effects of glyphosate on human health, it is important
to promote further research,” was the report’s final recommendation.
“เพราะไม่มีข้อมูลมากพอในอาร์เจนตินา
เกี่ยวกับผลกระทบของกลัยฟอเสตต่อสุขภาพมนุษย์,
จึงสำคัญมากที่จะส่งเสริมให้มีการวิจัยต่อไป”, เป็นข้อแนะนำสุดท้ายจากรายงาน.
That year, Dr. Andrés
Carrasco, a professor at the Molecular Embryology Laboratory of the University
of Buenos Aires School of Medicine, also demonstrated damage caused by
glyphosate in amphibian embryos.
ปีนั้น, ดร.อังเดรส์ คาร์ราสโค,
ศาสตราจารย์ที่ห้องปฏิบัติการการพัฒนาการของตัวอ่อนระดับโมเลกุล แห่งมหาวิทยาลัย
บัวโนสไอเรส คณะแพทย์ศาสตร์, ก็ได้แสดงถึงความเสียหายที่เกิดจากกลัยฟอเสตในตัวอ่อนของสัตว์สะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบก.
According to his study,
published in the magazine Chemical Research in Toxicology in 2010, the
herbicide was extremely toxic for amphibian embryos, even in doses much lower
than those used in agricultural spraying.
ตามการศึกษาของเขา, ตีพิมพ์ในแมกกาซีน การวิจัยเคมีด้านพิษวิทยา
ในปี 2010, ยาฆ่าวัชพืช
เป็นพิษสุดโต่งสำหรับตัวอ่อนของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ, แม้จะได้รับในปริมาณที่น้อยกว่าที่ฉีดพ่นในการเกษตร.
“The results found in
laboratories are compatible with birth defects observed in human beings exposed
to glyphosate during pregnancy,” added Carrasco, one of the expert witnesses
summoned by the plaintiffs in the trial.
“ผลที่พบในห้องปฏิบัติการ
เข้ากันได้กับความพิการแต่กำเนิดที่สังเกตเห็นได้ในมนุษย์
ที่สัมผัสกับกลัยฟอเสตในระหว่างตั้งครรภ์”, คาร์รัสโค เสริม, หนึ่งในผู้เชี่ยวชาญ
ที่ฝ่ายโจทก์ได้เชิญให้มาเป็นพยานในการให้การ.
Agronomist Javier Souza,
another witness for the plaintiffs, told IPS that the trial “is a very
interesting case because it will set a precedent in a province where one-third
of the soy grown in the country is produced.”
นักพืชไร่ ยาเวียร์ เซาซ่า, พยานอีกคนหนึ่งของฝ่ายโจทก์,
กล่าวว่า คดีนี้ “น่าสนใจมาก เพราะมันจะเป็นตัวอย่างในจังหวัดที่ผลิตถั่วเหลืองถึงหนึ่งในสาม
ของประเทศ”.
Argentina is the world’s
third-largest soybean exporter. In the last growing season, nearly 19 million
hectares of soybean were planted, and some 50 million tonnes were harvested.
อาร์เจนตินาเป็นผู้ส่งออกถั่วเหลืองรายใหญ่สุดลำดับสามของโลก.
ในฤดูการปลูกที่แล้ว, ที่ดินเกือบ 19 ล้านเฮคเตอร์ถูกใช้ปลูกถั่วเหลือง,
และเก็บเกี่ยวได้ประมาณ 50 ล้านตัน.
According to Souza,
coordinator of Pesticide Action Network – Latin America, the judges as well as
the prosecutor have shown an interest in “gaining an in-depth understanding” of
the health effects of agrochemicals.
ตามความเห็นของเซาซ่า, ผู้ประสานงาน
เครือข่ายปฏิบัติการยากำจัดศัตรูพืช-ลาตินอเมริกา, ผู้พิพากษา ตลอดจน อัยการ
ได้แสดงความสนใจในการ “ที่จะเข้าใจได้อย่างลึกซึ้ง”
ถึงผลกระทบต่อสุขภาพของเคมีภัณฑ์ทางเกษตร.
“The problem is that not all
live organisms react the same; there can also be long-term effects. For that
reason, in my testimony I insisted that a cause-effect relationship should not
be sought, because it is not going to be found.”
“ปัญหาคือ
ใช่ว่าสิ่งมีชีวิตทั้งหมดจะแสดงปฏิกิริยาเหมือนกันหมด; บ้างอาจเป็นผลกระทบระยะยาว. ด้วยเหตุนั้น, ในคำให้การของผม, ผมยืนยันว่า ไม่ควรจะพยายามค้นหาความสัมพันธ์ที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยต่อกัน
, เพราะมันจะไม่พบ”.
Souza advocates the
precautionary principle, which states that, even if a cause-effect relationship
has not been fully established scientifically, precautionary measures should be
taken if the product or activity poses a threat to health or the environment.
เซาซาสนับสนุนให้ใช้หลักการระวังไว้ก่อน,
ที่ระบุว่า,
แม้ว่าจะยังไม่สามารถฟันธงถึงความสัมพันธ์ที่เป็นเหตุปัจจัย-ผลกระทบต่อกัน
ได้เต็มที่ตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์, มาตรการระวังไว้ก่อน ควรนำมาใช้ หากผลิตภัณฑ์หรือกิจกรรมใด
ตั้งเค้าเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพหรือสิ่งแวดล้อม.
In the trial, the expert was
also asked to describe organic alternatives to monoculture production that is
increasingly dependent on chemicals.
ในการไต่สวน, ผู้เชี่ยวชาญได้ถูกขอให้บรรยายถึงทางเลือกทางอินทรีย์
แทนการผลิตพืชเชิงเดี่ยว ที่ต้องพึ่งสารเคมีมากขึ้นเรื่อยๆ.
http://www.ipsnews.net/2012/08/activists-in-argentina-expect-landmark-ruling-against-agrochemicals/,
9-28-12
ดรุณี แปล
·
Argentina is the bigest Monsanto´s
laboratory. The argentinean goverment is accomplice of that. And the
argentinean population ignores the damage that Monsanto causes in the
ecosystems and in the social tissues.
§ •
Thank you Mothers of Ituzaingo. You
are doing good for the whole world where all water covers the earth. These
toxic chemicals end up not just in Argentina, but in global rain, drinking
water and ocean water. You go girls!!!!!
§
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น