Obama's Trade Policy Ensures Big Pharma Profit at Expense of
World's Poor: Report
- Common Dreams staff
นโยบายการค้าของโอบามา ทำให้แน่ใจได้ว่า ได้กำไรเภสัชกรรมก้อนโต
มีคนยากจนของโลกเป็นคนจ่าย
-คอมมอนดรีมส์
In a bid that will bolster profits for western
pharmaceutical corporations at the expense of the world's most vulnerable, the
Obama administration is pushing international drug pricing policies that would
ensure elevated prices for essential medicines across the developing world,
according to a report by the Huffington Post.
ในการช่วงชิงที่จะดันให้บริษัทเภสัชของซีกโลกตะวันตกได้กำไรสูง
โดยผู้จ่ายเป็นมวลชนที่เปราะบางที่สุดของโลก รัฐบาลโอบามา
กำลังผลักดันนโยบายกำหนดราคายาระหว่างประเทศ ที่ทำให้แน่ใจได้ว่า ราคายาจำเป็นจะสูงขึ้น
ทั่วซีกโลกกำลังพัฒนา ตามรายงานข่าวฮัฟฟิงตันโพสต์
Obama speaks at the White House after the
Supreme Court ruled on Affordable Care Act. (Photo: AP/Luke Sharrett)
The report explores how the Obama administration's U.S.
Patent and Trademark Office (USPTO) has increasingly sought to intensify
western pharmaceutical patent and data exclusivity rules through international
trade negotiations such as the Trans-Pacific Partnership (TPP), which allow for
steep increases in drug prices around the world. United Nations groups, the
World Health Organization, and many human rights lawyers and patient advocates
argue these corporation-friendly rules greatly oppress sick patients in
developing countries.
รายงานได้บรรยายถึง สำนักงานสิทธิทางปัญญาและเครื่องหมายการค้า (USPTO) ของรัฐบาลโอบามา ที่ได้เร่งหาทางจดสิทธิทางปัญญาให้บริษัทยาตะวันตก
และเร่งกำหนดกฎเกณฑ์กีดกันข้อมูลให้เข้มข้นยิ่งขึ้น โดยผ่านการต่อรองการค้าระหว่างประเทศ
เช่น การเป็นหุ้นส่วนข้ามแปซิฟิก Trans-Pacific
Partnership (TPP), ที่อนุญาตให้เพิ่มราคายาอย่างสูง (ชัน) ทั่วโลก กลุ่มองค์การสหประชาชาติ องค์การอนามัยโลก (WHO) และนักกฎหมยสิทิมนุษยชน และนักรณรงค์สิทธิทางปัญญามากมาย
แย้งว่า กฎเกณฑ์ที่เป็นมิตรกับบรรษัทเหล่านี้
จะเป็นเครื่องกดขี่ขูดรีดผู้ป่วยในประเทศกำลังพัฒนาอย่างใหญ่หลวง
"We're taking the worst parts of U.S. law, the parts
that make these medications unavailable to patients, and putting them into a
trade policy as a guiding principle for developing countries. That's
ridiculous," Reshma Ramachandran, a fellow with the American Medical
Student Association, told the Huffington Post.
“เรากำลังสู้กับส่วนที่เลวร้ายมากที่สุดของกฎหมายสหรัฐฯ ส่วนที่จะทำให้ยาเหล่านี้ไปไม่ถึงผู้ป่วย
และจะเอาพวกมันเข้าไปในนโยบายการค้า ในฐานะหลักการชี้นำ สำหรับประเทศกำลังพัฒนา มันเป็นเรื่องตลกสิ้นดี” เรศมา รามาจันทรน์ สมาชิกของ
สมาคมนักศึกษาแพทย์อเมริกัน กล่าว
USPTO Deputy Director Teresa Stanek Rea has recently embarked
on a campaign to put an end to what is known as an international 'compulsory
licensing' law -- a rule that allows local pharmaceutical companies in
countries such as India to produce 'generic' drugs in competition with western
corporations. The generic versions are far more affordable than imported 'brand
name' drugs from the west.
รองผู้อำนวยการ USPTO เทเรซา สตาเนค เรีย ได้เริ่มรณรงค์เร็วๆ
นี้ให้ยุติ สิ่งที่เรียกว่า กฎหมาย “การออกใบอนุญาตภาคบังคับ” ระหว่างประเทศ—กฎที่ยอมให้บริษัทเภสัชกรรมในท้องถิ่น
ในประเทศเช่นอินเดีย ที่ผลิตยา “ต้นแบบ” แข่งขันกับบรรษัทยาตะวันตก ยาต้นแบบราคาถูกกว่ายา “ยี่ห้อ”
สั่งเข้าจากตะวันตกมาก
Revoking protections for 'generic drugs' would allow the
continued domination of developing markets by western pharmaceutical companies.
"It's disappointing and outrageous. Compulsory licensing is a sovereign
right to protect public health and other public interests," stated Peter
Maybarduk, director of Public Citizen's Access to Medicines Program.
การยกเลิกการปกป้อง “ยาต้นแบบ”
จะเป็นการยอมให้บริษัทยาตะวันตกครอบงำตลาดในประเทศกำลังพัฒนาต่อไป “มันน่าผิดหวังและน่าโมโหมาก การบังคับออกใบอนุญาต เป็นสิทธิอธิปไตย
ในการปกป้องสาธาณสุขและผลประโยชน์สาธารณะอื่นๆ”
ปีเตอร์ เมย์บาร์ดัก ผู้อำนวยการ
โปรแกมการเข้าถึงยาของพลเมืองสาธารณะ กล่าว
"That the Obama administration cannot see the gross
inequity of charging $5000 per person per month for a cancer medicine in a
developing country says a lot about this government," says Shiba
Phurailpatam of the Asia Pacific Network of people living with HIV/AIDS.
"Affordable care, it seems, is only for U.S. citizens, not for the
developing world."
“การที่รัฐบาลโอบามาไม่สามารถเห็นความไม่เท่าเทียมมหึมา
ในการเก็บเงิน $5000 (ประมาณ 150,000 บาท) ต่อเดือน
สำหรับยารักษามะเร็งในประเทศกำลังพัฒนาหนึ่งๆ บอกอะไรหลายอย่างเกี่ยวกับรัฐบาลนี้”
ชิบา ฟูราอิลปัททัม แห่ง เครือข่ายเอเชีย-แปซิฟิก ผู้ดำรงชีวิตกับ HIV/AIDS “การดูแลรักษาที่จ่ายไหว
ดูเหมือน เป็นไปได้สำหรับพลเมืองสหรัฐฯ เท่านั้น ไม่ใช่สำหรับโลกกำลังพัฒนา”
The Trans-Pacific Partnership negotiations, which are slated
to give unprecedented political authority to multinational corporations and are
being used to push through such policies, have gone on for two years between
the Obama administration and several Pacific nations under conditions of
'extreme secrecy'.
การเจรจาต่อรอง TPP ที่มุ่งหมายที่จะให้อำนาจทางการเมืองที่ไม่เคยมีมาก่อนแก่บรรษัทนานาชาติ
และกำลังถูกผลักดันผ่านนโยบายดังกล่าว
ได้ดำเนินมาเป็นเวลา สองปีแล้ว ระหว่างรัฐบาลโอบามา และหลายประเทศในแปซิฟิก
ภายใต้เงื่อนไข “ความลับสุดยอด”
Published on Tuesday, July 10, 2012 by Common Dreams
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น