วันเสาร์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

70. ภัยมืดที่ยั่งยืน...การขุดเจาะล่าน้ำมัน




Cracks in the Foundation: New Fracking Information Shows More Underground Contamination, Toxic Fluids Than Previously Thought
 by Kate Sinding
รอยแตกร้าวที่รากฐาน:  ข้อมูลใหม่ของการรั่วซึมจากการขุดเจาะแสดงให้เห็นว่า มีของเหลวพิษ ปนเปื้อนในชั้นใต้ดิน มากกว่าที่คิดไว้แต่เดิม
โดย เคท ซินดิง

It looks like every day more and more cracks are appearing in the stock oil and gas industry argument about fracking-related water contamination.  For those who haven’t heard it before, the standard line goes something like this: fracking couldn’t possibly contaminate underground drinking water because, between the productive shale layer and groundwater, there are thousands of feet of solid, impermeable rock.  Even where contamination does occur, the claim continues, this is not due to fracking, but poor casing and cementing jobs, which are rare in practice and not worth worrying too much about.
ดูเหมือนแต่ละวันจะมีรอยแตกร้าวเพิ่มขึ้นในคลังน้ำมัน และมีข้อโต้แย้งของอุตสาหกรรมก๊าซเกี่ยวกับการปนเปื้อนน้ำที่สัมพันธ์กับการรั่วซึมจากการขุดเจาะ    สำหรับผู้ที่ไม่เคยได้ยินเรื่องนี้มาก่อน  ข้ออ้างมาตรฐานเป็นอย่างนี้:  “การรั่วซึมจากการขุดเจาะไม่สามารถปนเปื้อนน้ำดื่มใต้ดิน เพราะ ระหว่างแผ่นหินที่ถูกขุดเจาะ กับน้ำใต้บาดาล มีหินแข็งที่ของเหลวซึมผ่านไม่ได้หนาหลายพันฟุต    แม้แต่ที่ๆ การปนเปื้อนเกิดขึ้นแล้ว ก็ไม่ได้มาจากการรั่วซึม แต่เป็นเพราะปลอกสวมหัวเจาะและซีเมนต์เชื่อมไม่มีคุณภาพดี   ซึ่งเกิดขึ้นน้อยมาก และไม่มีค่าพอที่จะกังวลจนเกินไป”
A shale-gas drilling and fracking site in Dimock, Pennsylvania (Photo: Jacques del Conte)

The argument may sound nice, but there is an increasing body of evidence (and please forgive the pun here) that it’s anything but rock solid.  I’ll highlight three recent findings:
ข้อโต้แย้งนี้อาจฟังเข้าท่า แต่มีหลักฐานมากขึ้นทุกทีที่ “แข็งโป๊ะเหมือนหิน”  ฉันขอยกการค้นพบสามประการเมื่อเร็วๆ นี้

New Findings on Casing and Cementing Failures – Industry-sponsored reports compiled by the Gasland folks (and explained in Josh Fox’s new short video, “The Sky is Pink”) demonstrate that not only are casing and cementing problems possible, they are an expected part of the drilling process.  In certain areas, anywhere from 18% to 45% of wells experience such so-called “well integrity issues.”  (For review, casings are the giant metal pipes that drillers place in the drilled wells to prevent gas and toxic frack fluid from bleeding out into underground sources of drinking water.  Because there is usually space between the outside of the casing and the drilled hole or between the outside of one casing and the next, that space is filled with cement to seal potential pathways for leaks).
การค้นพบใหม่ถึงความล้มเหลวของปลอกสวมหัวเจาะและซีเมนต์เชื่อม—รายงานที่อุตสาหกรรมให้สปอนเซอร์  รวบรวมโดยชาวแก๊สแลนด์ แสดงให้เห็นว่า ไม่เพียงแต่ปัญหาของปลอกและซีเมนต์เชื่อมเกิดขึ้นได้ มันยังเป็นส่วนหนึ่งที่คาดหมายว่าจะเกิดขึ้นในกระบวนการขุดเจาะ   ในบางพื้นที่ 18% ถึง 45% ของบ่อน้ำมันจะประสบกับสิ่งที่เรียกว่า “ประเด็นพิเศษของบ่อ” (เพื่อการทบทวน  ปลอก คือ ท่อโลหะขนาดยักษ์ ที่สวมครอบหัวเจาะในบ่อที่ถูกเจาะ เพื่อป้องกันก๊าซหรือของเหลวรั่วซึมที่เป็นพิษไม่ให้รั่วไหลเข้าสู่น้ำบาดาล ซึ่งเป็นแหล่งน้ำดื่ม   เนื่องจากปกติก็มีช่องว่างระหว่างข้างนอกของปลอก กับรูที่ขุดเจาะ หรือระหว่างภายนอกของปลอกหนึ่งกับปลอกถัดไป ช่องว่างนี้จะถูกอุดด้วยซีเมนต์เชื่อมเพื่อปิดช่องทางไม่ให้รั่วไหลได้)

According to the reports, water can become contaminated when the casing itself corrodes or otherwise leaks (for example, see here), or when gaps in the cement outside the casing allow methane and other contaminants to travel up the well from shallow pockets of trapped gas, which may explain the results of a Duke University study last year linking methane contamination to gas drilling.  Not all contamination is expected to happen immediately. Because drillers simply leave frack chemicals in the ground indefinitely after operations cease, casing and cementing problems may contaminate ground water anytime between now and the end of time.
ตามรายงานเหล่านี้ น้ำสามารถถูกปนเปื้อนได้เมื่อตัวปลอกเป็นสนิมหรือรั่ว หรือเมื่อก๊าซในซีเมนต์เชื่อมด้านนอกของปลอก ยอมให้มีเทน และสารปนเปื้อนอื่นๆ เดินทางขึ้นมาจากบ่อ โดยมากับฟองอากาศที่ติดค้างอยู่ตื้นๆ   อันนี้อาจอธิบายผลการศึกษาของมหาวิทยาลัยดุ๊ก ปีกลาย ที่เชื่อมโยงสารปนเปื้อนมีเทนกับการขุดเจาะ   การปนเปื้อนทั้งหมด ไม่ได้ถูกคาดให้เกิดขึ้นพร้อมกันทันที   เพราะผู้ขุดเจาะ จะทิ้งให้สารเคมีที่รั่วซึมออกมาติดค้างอยู่ในดินอย่างไม่มีวันสิ้นสุดหลังจากยุติการขุดเจาะ  ส่วนปัญหาปลอกและซีเมนต์เชื่อม อาจก่อให้เกิดการปนเปื้อนน้ำดื่มใต้ดินในเวลาใดก็ได้ระหว่างตอนนี้และตอนจบ

New Computer Modeling Predicts Groundwater Contamination from Marcellus Drilling Within Years – Even where cementing and casing work perfectly, fracking fluids could still migrate up from the shale formations themselves into groundwater.  A recent peer reviewed study by hydrogeologist Tom Myers, published in last April’s edition of the journal Ground Water, predicted, using computer modeling, that natural faults and fractures in the Marcellus, exacerbated by fracking, may lead to water contamination within ten years or less.  Although natural migration without fracking would occur at a much slower rate, migration of waste fluid would be likely sped up by the pressures exerted from fracking.
การทำโมเดลด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อพยากรณ์การปนเปื้อนน้ำบาดาล จากการขุดเจาะมาร์เซลลัส ภายในหลายปี—แม้แต่ในที่ๆ งานปลอกและงานซีเมนต์เชื่อมที่ทำได้ดีเยี่ยมอย่างไม่มีที่ติ ของเหลวรั่วซึม ก็ยังสามารถเดินทางขึ้นมาจากชั้นหินแหล่งเกิดของมัน ลงไปในน้ำบาดาลได้    ผลการศึกษาโดยนักอุทกธรณีวิทยา ทอม มายเยอร์ส ที่ผ่านการตรวจสอบ/วิจารณ์โดยนักวิชาการในวงการ และลงพิมพ์ใน วารสารน้ำบาดาล ฉบับเดือนเมษายนที่ผ่านมา  ได้พยากรณ์จากการทำโมเดลด้วยคอมพิวเตอร์ว่า  รอยแตก/เลื่อนธรรมชาติ ในมาร์เซลลัส ถูกทำให้อาการหนักยิ่งขึ้นด้วยการรั่วซึมจากเครื่องขุดเจาะ  อาจนำไปสู่การปนเปื้อนน้ำภายในสิบปี หรือเร็วกว่านั้น    แม้ว่าการเคลื่อนย้ายตามธรรมชาติที่ปราศจากการรั่วซึมเพราะเครื่องขุดเจาะจะเกิดขึ้นในอัตราที่ช้ากว่ามาก  การเคลื่อนตัวของๆ เหลวขยะ จะเพิ่มความเร็วมากขึ้นด้วยความดันที่มาจากการรั่วซึมดังกล่าว

(For other evidence of fluid migration from underground waste disposal wells, read Abraham Lustgarten’s recent article on the problems with underground injection control (UIC) wells.  Frack wells are structurally very similar to UIC wells, except that they are exempted from federal standards under the Safe Drinking Water Act).

New Evidence Confirming Possible Contaminant Pathways in Pennsylvania – A new study from Duke University has found brine (i.e. salt water), with the same composition of deep underground brines associated with the Marcellus formation, in shallow underground drinking water in northeastern PA.  Although the presence of brines was not correlated with gas drilling, the fact that they are in drinking water at all shows that there are more pathways between the Marcellus and shallow underground water than previously thought.  The pathways, whether from natural fractures or old abandoned wells (like the 40,000 wells drilled in NY for which no records exist), would likely also carry toxic frack water pumped into the Marcellus at high pressure by fracking activities, meaning that areas with these pathways “could be at greater risk of contamination from shale gas development.”
หลักฐานใหม่ๆ ได้ยืนยันเส้นทางที่เป็นไปได้ของสารปนเปื้อนในเพนซิลเวเนีย – การศึกษาใหม่จากมหาวิทยาลัยดุ๊ก ได้พบน้ำเกลือ ที่มีองค์ประกอบเดียวกับน้ำเกลือในใต้บาดาลลึก ที่เกี่ยวโยงกับการก่อตัวของมาร์เซลลัส ในน้ำดื่มใต้ดินที่ตื้นๆ ในตอนเหนือของรัฐเดียวกัน  แม้ว่าการปรากฏตัวของน้ำเกลือนี้ จะไม่มีความสัมพันธ์กับการขุดเจาะก๊าซ  ข้อเท็จจริงที่ว่า มันปรากฏอยู่ในน้ำดื่ม  แสดงให้เห็นว่า มีหลายเส้นทางระหว่างมาร์เซลลัส และน้ำดื่มใต้บาดาลตื้นๆ มากกว่าที่คิดก่อนหน้านี้  เส้นทางเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นรอยเลื่อน/แตกร้าวตามธรรมชาติ หรือบ่อเก่าที่ถูกทอดทิ้ง (เช่นเดียวกับ 40,000 บ่อที่เจาะในนิวยอร์ก ที่ไม่มีการบันทึก)  ก็น่าจะนำพาน้ำปนเปื้อนสารพิษ เข้าไป ที่มาร์เซลลัส ด้วยความดันสูงจากการกิจกรรมการรั่วซึมเพราะขุดเจาะ  หมายความว่า บริเวณที่มีเส้นทางเหล่านี้ “อาจมีความเสี่ยงสูงกว่าต่อการปนเปื้อนจากการก่อเกิดก๊าซในชั้นหินแหล่งน้ำมัน”

All of these new findings emphasize two important points: (1) that the standard industry contamination argument likely holds about as much water as a defective casing, and (2) that groundwater contamination from fracking doesn’t necessarily happen overnight – we may continue to see contamination problems from fracking in the years, decades, and centuries to come.
ผลจากการค้นพบใหม่ๆ เหล่านี้ เน้นให้เห็นสองประเด็นสำคัญ
๑.      ข้อโต้แย้งมาตรฐานการปนเปื้อนของอุตสาหกรรม คงจะพอๆ กับการมีปลอกหัวเจาะที่บกพร่อง
๒.      การปนเปื้อนน้ำบาดาลจากการรั่วซึมเพราะการขุดเจาะ ไม่จำเป็นจะต้องเกิดขึ้นในชั่วข้ามคืน— เราอาจจะได้เห็นปัญหาการปนเปื้อนจากการรั่วซึมของการขุดเจาะต่อไปในปี ทศวรรษ และศตวรรษที่จะมาถึง

© 2012 NRDC

Kate Sinding is a senior attorney in NRDC’s New York Urban Program.
เคท ซินดิง เป็นอัยการอาวุโสในโปรแกมเมืองนิวงยอร์ก ของ NRDC

Published on Friday, July 20, 2012 by Switchboard/NRDC
ดรุณีแปล

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น