A New Era for Worker
Ownership?
by Gar Alperovitz
ยุคใหม่สำหรับความที่คนงานเป็นเจ้าของ?
-การ์ อัลเปอโรวิตซ์
... cooperatives
empower workers and communities while offering an alternative to the ownership
of the 1%...
The workers of the just-formed New Era Windows cooperative
in Chicago—the same workers who sat in and forced Serious Energy to back down
on a hasty shutdown of their Goose Island plant a few months ago, and famously
occupied the same factory for six days in December 2008—not only are putting
together a bold plan for worker ownership, they are likely to move the entire
subject into national attention, thereby spurring others to follow on. Though
they have a powerful start, if the past is any guide, they will need all the
help they can get—financial as well as political.
คนงานของสหกรณ์ New Era Windows (หน้าต่างยุคใหม่) ที่เพิ่งก่อตั้งขึ้นในชิคาโก—คนงานชุดเดียวกันที่นั่งประท้วง
และบังคับให้ Serious Energy (พลังงานจริงจัง) ให้ถอยไป ในการปิดโรงงานที่ Goose Island (เกาะกู๊ส) ไม่กี่เดือนที่แล้ว
และที่ได้ยึดโรงงานแห่งเดียวกันเป็นเวลาหกวันในเดือนธันวาคม 2008—ไม่เพียงแต่วางแผนอันอุกอาจเพื่อให้คนงานเป็นเจ้าของร่วม พวกเขายังเตรียมผลักดันให้เรื่องราวทั้งหมด ให้เป็นที่สนใจระดับชาติ เพื่อกระตุ้นให้คนอื่นๆ ทำตาม แม้ว่าพวกเขาจะมีการเริ่มต้นที่ทรงพลัง
หากอดีตเป็นครูได้
พวกเขาจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือทั้งหมด—ทางการเงิน พอๆ กับ
ทางการเมือง
I was one of the architects of an attempt to establish a
worker-owned steel mill in Youngstown, Ohio in the late 1970s—a plan that began
with powerful intentions, the financial support of the Carter administration,
and the backing of religious and political leaders in the state of Ohio and nationally.
The plan was on-track, including a promised $100 million in loan guarantees
from the Carter Administration—until, somehow, those opposed to the plan
sidetracked the effort, with the promised money disappearing conveniently just
after the fall 1978 elections had passed.
ผมเป็น “สถาปนิก” (ผู้วางแผนออกแบบการเคลื่อนไหว)
คนหนึ่งที่พยายามก่อตั้งโรงงานเหล็กกล้าที่คนงานเป็นเจ้าของร่วม ในยังส์ทาวน์
โอไฮโอ ในปลายทศวรรษ 1970—แผนที่เริ่มต้นด้วยความปณิธานที่ทรงอำนาจ
การสนับสนุนทางการเงินจากรัฐบาลคาร์เตอร์
และการหนุนหลังของผู้นำทางการศาสนาและการเมืองในรัฐโอไฮโอ และประเทศ แผนได้เริ่มดำเนินไป รวมทั้งสัญญาจะให้เงินกู้
$100
ล้านจากรัฐบาลคาร์เตอร์—แต่ จนถึงบัดนี้
พวกเขากลับต่อต้านแผน และเบียดความพยายามดังกล่าวลงข้างทาง เงินที่สัญญาไว้
หายวับไปอย่างง่ายดาย หลังจากการเลือกตั้งในฤดูใบไม้ผลิ 1978
The Chicago workers have a much, much greater chance of
success. They have the skills they need to run a manufacturing business. They
have a good market—an energy efficient window is a good friend in a Chicago
winter, after all—and heavy, fragile, made-to-order windows are much less
vulnerable to global competition than other products. And, thanks to their
inspiring struggle to keep their jobs, they can count on a significant amount
of public support.
คนงานชิคาโก มีโอกาสที่จะสำเร็จมากกว่า มากๆ
พวกเขามีทักษะที่จำเป็นในการบริหารธุรกิจโรงงาน พวกเขามีตลาดที่ดี—อย่างไรก็ตาม หน้าต่างแห่งการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
เป็นมิตรที่ดีในฤดูหนาวของชิคาโก—และหน้าต่างที่หนัก บอบบาง
ทำตามคำสั่งของลูกค้า
มีความเปราะบางต่อการแข่งขันในโลกน้อยกว่าผลิตภัณฑ์อื่นๆ
และต้องขอบคุณการดิ้นรนต่อสู้เพื่อรักษางานที่พวกเขาทำอยู่
ที่สร้างแรงบันดาลใจอย่างกว้างขวาง
พวกเขาสามารถจะหันหน้าไปพึ่งสาธารณชนที่พร้อมสนับสนุนพวกเขาอย่างมีนัยสำคัญ
They also have the backing of the United Electrical workers
(UE): an independent and fiercely democratic union; and the support of the
Working World, a non-profit that has helped make hundreds of loans to
Argentina’s thriving network of “recuperated” worker-owned businesses.
พวกเขายังได้รับแรงหนุนจาก คนงาน United
Electrical (UE): สหภาพที่มีความเป็นอิสระ
และเป็นประชาธิปไตยอย่างดุเดือด
และการสนับสนุนของ Working World องค์กรไม่ค้ากำไร
ที่ได้ช่วยให้เงินกู้นับร้อยแก่ เครือข่าย ธุรกิจคนงานเป็นเจ้าของที่ “ฟื้นไข้”
ที่กำลังงอกงามดีในอาร์เจนตินา
Above all, their own track record of bold and brave action
to defend their jobs is promising in itself, and stirring in terms of public
response: many more people are rooting for this company than your average small
manufacturing startup.
เหนือกว่าทั้งหมด ประวัติการต่อสู้ที่โดดเด่นและหาญกล้าของพวกเขาเองในการปกป้องงานที่ทำอยู่
เป็นสิ่งสำคัญ และได้ทำให้สาธารณชนตอบสนอง
ผู้คนมากขึ้น กำลังหยั่งรากลงในบริษัทของพวกเขา มากกว่า
เริ่มต้นโรงงานใหม่เล็กๆ
The workers are taking this very seriously; after all, it’s
their livelihoods on the line. For the past few months, they have been engaged
in intensive trainings in cooperative management, building the skills they’ll
need to not just make windows, but market their product and secure and fulfill
contracts. They’ve been scraping together a thousand dollars apiece to buy into
the newly formed cooperative. And they’ve been exploring city programs—like a
Midway airport noise insulation project and a city-wide energy retrofit effort
that could generate significant contracts.
เหล่าคนงานเอาจริงเอาจัง มันเป็นวิถีชีวิตของพวกเขา ในสองสามเดือนที่ผ่านมา
พวกเขามีการฝึกอบรมอย่างเข้มข้นในด้านการจัดการสหกรณ์ สร้างทักษะที่พวกเขาต้องมี
ไม่เพียงแต่ทำหน้าต่าง
แต่รวมถึงการตลาดขายผลิตภัณฑ์ของพวกเขา และปฏิบัติให้บรรลุสัญญา พวกเขาได้ลงขันคนละ 1,000 เหรียญ เพื่อซื้อสหกรณ์ที่ก่อตั้งขึ้นใหม่ และพวกเขาก็ได้สำรวจโปรแกมของเมือง—เช่น โครงการสร้างฉนวนเสียงของ
สนามบินมิดเวย์ และ โครงการประหยัดพลังงานที่ครอบคลุมทั้งเมือง
จะเป็นสัญญาทำงานที่สำคัญ
Still, this is a tough business. If there is one lesson from
the early days of worker ownership attempts it is that building a powerful
local and national support group of public figures, nonprofit organizations,
national labor and religious leaders and others can be of great and unexpected
importance. It can help keep the story alive at critical times, and also help
create and sustain a market. (Churches, for instance, buy a lot of windows, as
do many other nonprofit organizations.) As the workers in Chicago deal with the
myriad of tasks involved in raising money, negotiating with their former
employer, Serious Energy, to purchase the factory’s equipment, and restarting
production (not to mention learning how to democratically manage their own
workplace!), building local and national alliances to support their work is a
critical task that can be taken on by allies.
ถึงกระนั้น มันเป็นธุรกิจที่ยาก
หากมีบทเรียนจากการต่อสู้ในอดีตเพื่อให้คนงานเป็นเจ้าของ มันก็คือ
การสร้างกลุ่มสนับสนุนที่ทรงอำนาจในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ
ที่ประกอบด้วยบุคคลสาธารณะ องค์กรไม่ค้ากำไร
ผู้นำแรงงานแห่งชาติ และศาสนา และอื่นๆ ล้วนมีความสำคัญใหญ่หลวง
และอาจคาดไม่ถึง
มันสามารถช่วยรื้อฟื้นเรื่องราวให้มีชีวิตชีวาอีกครั้งในยามวิกฤต
และช่วยสร้างและธำรงให้ตลาดยั่งยืน (เช่น
โบสถ์ซื้อหน้าต่างจำนวนมาก รวมทั้งองค์กรไม่ค้ากำไรอื่นๆ) ในขณะที่คนงานในชิคาโกต้องดิ้นรนกับภารกิจมากมายก่ายกอง
ในการระดมทุน เจรจาต่อรองกับนายจ้างเก่า
คือ Serious Energy เพื่อซื้ออุปกรณ์ของโรงงาน
และเริ่มผลิตอีกครั้ง (นี่ยังไม่รวมถึงการเรียนรู้ว่า
จะจัดการแบบประชาธิปไตยในที่ทำงานได้อย่างไร)
การสร้างพันธมิตรท้องถิ่นและชาติ เพื่อสนับสนุนงานของพวกเขา
เป็นภารกิจสำคัญยิ่ง
What’s happening in Chicago is part of a very important
national trend; many parts of the country are looking towards worker ownership
as a way to root jobs in the communities that need them. In Cleveland, for
instance a community foundation, with the support of local universities and
hospitals, is helping create a network of interlinked green worker cooperatives
as part of an economic development strategy designed to help lift devastated
neighborhoods out of poverty. With an industrial scale laundry and a solar
installation and weatherization firm already operational, and a 3.5 acre urban
greenhouse scheduled to launch in a few months, the Cleveland model is one that
many other cities—including Pittsburgh, Atlanta, and Washington D.C.—are
actively exploring today. Crucially, the model developed in Cleveland looks
beyond the individual worker-owned company to understand how a community can
support the businesses and workers that in turn support it: in this case, the
purchasing power of the city’s largest so-called “anchor institutions” is
mobilized to develop worker-owned jobs in the very neighborhoods these
institutions call home.
สิ่งที่เกิดขึ้นในชิคาโก
เป็นส่วนหนึ่งของแนวโน้มระดับชาติที่สำคัญมาก
หลายๆ ภาคของประเทศ กำลังคาดหวังกับความเป็นเจ้าของโดยคนงาน
ว่าเป็นวิธีหนึ่งที่จะทำให้งานหยั่งรากอยู่ในชุมชนที่ต้องการงานเหล่านั้น ในคลีฟแลนด์ เช่น มูลนิธิชุมชนหนึ่ง
ด้วยแรงสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยและโรงพยาบาลท้องถิ่น
กำลังช่วยสร้างเครือข่ายที่เชื่อมโยง สหกรณ์คนงานเขียว
ให้เป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจ
ที่ถูกออกแบบให้ช่วยฉุดละแวก/ย่านที่ถูกทำให้สิ้นหวัง ให้พ้นจากหล่มความยากจน โมเดลคลีฟแลนด์ ที่ประกอบด้วย
โรงซักรีดขนาดอุตสาหกรรม และโรงงานติดตั้งพลังงานแสงอาทิตย์ และฉนวน
ที่ได้ดำเนินการแล้ว และโครงการเรือนกระจกเมือง 3.5 เอเคอร์ ที่กำหนดเริ่มงานในอีกไม่กี่เดือน เป็นโมเดลหนึ่งที่เมืองอื่นๆ—รวมทั้ง
พิตสเบิร์ก แอตแลนตา และวอชิงตัน ดีซี—กำลังศึกษาอย่างกระตือรือร้นทุกวันนี้ ที่สำคัญยิ่ง โมเดลคลีฟแลนด์
ได้มองเลยปัจเจกบริษัทที่คนงานเป็นเจ้าของ สู่ความเข้าใจว่า ทำอย่างไร ชุมชนจึงจะสามารถสนับสนุนธุรกิจ
และคนงานก็สนับสนุนอีกที ในกรณีนี้
ที่เรียกกันว่า “สถาบันสมอ” ที่มีกำลังการซื้อมากที่สุดของเมือง
ไดด้ถูกขับเคลื่อนให้พัฒนางานที่คนงานเป็นเจ้าของ ในย่านที่สถาบันเหล่านี้
เรียกว่า “บ้าน/ภูมิลำเนา”
Moreover there is now a quiet trend in the union
movement—away from disinterest in new forms of ownership and towards positive
assistance. The United Steelworkers, working jointly with Mondragon (the
80-thousand member strong complex of cooperatives in the Basque country), have
taken the lead in proposing and developing “union coops” which will combine
worker ownership and the collective bargaining process. The Service Employees
union (SEIU) has taken some interesting steps here as well, with a worker-owned
and unionized laundry slated to launch in Pittsburgh this year, and a
groundbreaking partnership with New York City’s Cooperative Home Care
Associates, the largest worker cooperative in the United States. Also notable
is a growing sophistication among unions regarding a far more common form of
U.S. worker ownership, the ESOP or Employee Stock Ownership Plan (which involve
10 million workers): unions like the United Food and Commercial Workers (UFCW)
are taking a strong role in making sure workers’ interests are protected as
companies convert to worker ownership.
ยิ่งกว่านั้น แนวโน้มตอนนี้
ของขบวนการสหภาพเงียบลง—ไม่เหมือนเดิมที่ไม่สนใจความเป็นเจ้าของรูปแบบใหม่นี้
และได้ให้การช่วยเหลือเชิงบวก คนงาน United
Steel
กำลังทำงานร่วมกับ มอนดรากอน
(สหกรณ์เชิงซ้อนที่มีสมาชิกถึงแปดหมื่นคนใน Basque)
ได้เป็นผู้เสนอและพัฒนา “สหภาพสหกรณ์” ที่จะรวมคนงานเจ้าของ
และกระบวนการต่อรองร่วมเป็นกลุ่ม
สหภาพลูกจ้างภาคบริการ ได้แสดงความสนใจและขยับตัวพร้อมกับ
โรงงานซักรีดที่คนงานเป็นเจ้าของและเป็นสหภาพ มีกำหนดจะเปิดตัวในพิตสเบิร์ก
ในปีนี้ และ การเป็นหุ้นส่วนกัน ระหว่าง
สหกรณ์การดูแลสุขภาพถึงบ้านของเมืองนิวยอร์ก
ซึ่งเป็นสหกรณ์คนงานที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐฯ
ที่น่าจับตาคือ ความจัดเจนมากขึ้นหมู่สหภาพ เกี่ยวกับรูปแบบร่วมในสหรัฐฯ
ที่รู้จักกันมาก่อนมากกว่า คนงานเป็นเจ้าของ คือ ESOP หรือ แผนการที่ลูกจ้างเป็นเจ้าของหุ้น
(ซึ่งหมายถึงคนงาน 10
ล้านคน) สหภาพเช่น
แนวร่วมคนงานอาหารและพาณิชย์ (UFCW) กำลังมีบทบาทสำคัญในการตรวจสอบให้แน่ใจว่า
ผลประโยชน์ของคนงานจะได้รับการพิทักษ์
ในขณะที่บริษัทแปรสถานภาพสู่คนงานเป็นเจ้าของ
The Chicago workers’ effort is important, not only on its
own terms, but as a beacon of hope and an opportunity for many others to learn
about a building an economy that perhaps will one day take us past ownership by
the 1% to a very different democratic model. It’s time for others—individuals,
groups, activists, churches, non-profit organizations—to do what we can to help
make sure they succeed.
ความพยายามของคนยงานชิคาโก เป็นเรื่องสำคัญ
ไม่เพียงแต่ในตัวเอง แต่เป็นประทีปให้ความหวัง และโอกาสสำหรับคนอื่นๆ ที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับการสร้างเศรษฐกิจ
ที่วันหนึ่ง อาจจะนำพาพวกเราให้ข้ามพ้นความเป็นเจ้าของๆ คน 1%
เข้าสู่ต้นแบบประชาธิปไตยในรูปแบบที่ไม่เหมือนปัจจุบัน ถึงเวลาแล้วที่คนอื่นๆ—ปัจเจก กลุ่ม
นักกิจกรรม สถาบันศาสนา องค์กรไม่ค้ากำไร—ที่จะทำสิ่งที่เราช่วยได้ เพื่อให้แน่ใจว่า
พวกเขาจะประสบความสำเร็จ
Gar Alperovitz is the Lionel R.
Bauman Professor of Political Economy at the University of Maryland and
co-founder of the Democracy Collaborative. Among his most recent books are
America Beyond Capitalism and (with Lew Daly) Unjust Deserts: How the Rich Are
Taking Our Common Inheritance and Why We Should Take It Back.
การ์ อัลเปอโรวิตซ์ เป็นศาสตราจารย์ เกียรติคุณ Lionel
R. Bauman สาขาเศรษฐกิจการเมือง
ที่มหาวิทยาลัยแมรีแลนด์ และผู้ร่วมก่อตั้ง ความร่วมมือประชาธิปไตย หนังสือล่าสุดของเขา เช่น
“อเมริกาหลังระบบทุนนิยม” และ “ทะเลทรายแห่งความอยุติธรรม: คนรวยเอามรดกร่วมของพวกเราไปได้อย่างไร และ
ทำไมเราต้องเอามันคืนมา”
Published on Monday, July 2, 2012 by Common Dreams
ดรุณีแปล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น