วันอาทิตย์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

61. เจ้าหนี้ร่วมของมนุษยชาติ: พระแม่ธรณี


'Extinction Debt': Reaping What We've Bulldozed
 - Common Dreams staff
“หนี้แห่งการสูญพันธุ์”: ผลเก็บเกี่ยวจากการล้างผลาญของเรา
-          คณะ Common Dreams
-           
Humanity's debt collectors may be coming soon to collect on the 'extinction debt' owed due to massive deforestation in the Brazilian Amazon, with dozens of species slated for extinction mere decades from now.
เจ้าหนี้ของมนุษยชาติอาจมาถึงเร็วๆ นี้ เพื่อเก็บ “หนี้สูญพันธุ์” ที่เราติดค้าง เนื่องจากการทำลายป่ามหาศาลในอเมซอนของบราซิล ที่สายพันธุ์หลายโหล ถูกคาดหมายว่าจะสูญพันธุ์ในไม่กี่ทศวรรษจากนี้ไป

As a group of scientists explain in a new study in Science, 80% of extinctions extinctions due to historical habitat loss in the Brazilian Amazon are yet to come.
ตามที่กลุ่มนักวิทยาศาสตร์กลุ่มหนึ่งอธิบายในการศึกษาชิ้นใหม่ในวารสาร Science, การสูญพันธุ์ 80% มาจากการสูญเสียถิ่นเกิด-อาศัย ในป่าอเมซอนของบราซิล กำลังจะมาถึง

Describing this extinction IOU, the Guardian's Ian Sample writes that the destruction of the large swaths of land "has turned scores of rare species into the walking dead, doomed to disappear even if deforestation were halted in the region overnight."
เอียน แซมเปิล แห่ง นสพ Guardian เปรียบหนี้การสูญพันธุ์ (extinction IOU/I owe you) เขียนว่า การล้างผลาญผืนดินมหาศาล “ได้เปลี่ยนสัตว์พันธุ์หายากเป็นศพเดินได้ รอวันวินาศแห่งการสาปสูญ แม้ว่าจะหยุดการบุกรุกป่าในแถบนี้ได้ในชั่วคืนเดียว”

"Realistic deforestation scenarios suggest that local regions will lose an average of nine vertebrate species and have a further 16 committed to extinction by 2050," wrote the researchers. "There is a window of opportunity to dilute the legacy of historical deforestation by concentrating conservation efforts in areas with greatest debt."
“ภาพการทำลายป่าที่แท้จริง แนะว่า ภูมิภาคท้องถิ่นจะสูญสิ้นสัตว์กระดูกสันหลังถึง 9 สายพันธุ์ และอีก 16 ก็จะสูญพันธุ์แน่นอนในปี 2050” นักวิจัยเขียน     “ยังมีหน้าต่างแห่งความหวังในการลดความเข้มข้นในตำนานของประวัติการทำลายป่า ด้วยการมุ่งไปที่การอนุรักษ์ในพื้นที่ๆ ติดหนี้สูงสุด”
Alouatta seniculus photographed in the Amazon, Brazil, in November 2010. (credit: Cláudio Timm)

"Now that we know where the extinction debt is likely to be, we can go to the ground to restore habitat and take remedial actions to try to regenerate new habitats," said study lead author Robert Ewers, an ecologist at Imperial College London in the U.K.. "We can try to put off ever having to pay that debt."
“ตอนนี้ เรารู้ว่า หนี้การสูญพันธุ์จะอยู่ที่ไหนบ้าง เราสามารถจะไปที่นั้น เพื่อฟื้นคืนถิ่นอาศัย และเยียวยา ด้วยการพยายามสร้างถิ่นอาศัยขึ้นใหม่” หัวหน้าทีมศึกษา โรเบิร์ต เอเวอส์ นักนิเวศวิทยาที่วิทยาลัยอิมพีเรียล ลอนดอน  “เราสามารถจะพยายามผ่อนปรน ประวิงเวลาที่จะต้องจ่ายหนี้ดังกล่าว”

"This problem has been building, and it will soon roll over and crash like a wave," warns Ewers.
“ปัญหานี้กำลังก่อตัวขึ้น และไม่ช้าก็จะล้มครืน และกระแทกเหมือนคลื่น” เอเวอส์เตือน

Speaking to the Guardian, Ewers added, "For now, the problem is along the arc of deforestation in the south and east where there is a long history of forest loss. But that is going to move in the future. We expect most of the species there to go extinct, and we'll pick up more extinction debt along the big, paved highways which are now cutting into the heart of the Amazon."
เอเวอส์ เสริมว่า “สำหรับตอนนี้ ปัญหาอยู่ที่ขอบการทำลายป่าในด้านใต้และด้านตะวันออก ที่มีประวัติอันยาวนานของการสูญเสียป่า  แต่นั่นจะเริ่มขยับในอนาคต  เราคาดว่าสายพันธุ์ส่วนใหญ่ที่นั่นจะสาบสูญไป และเราจะพอกพูนหนี้การสูญพันธุ์มากขึ้น ตามไฮเวย์ใหญ่ๆ ที่กำลังวตัดเข้าสู่ใจกลางอเมซอน”

Thiago Rangel, an ecologist at the Federal University of Goiás in Brazil, writing in an accompanying article in Science, says, "Extinction debts in the Brazilian Amazon are one debt that should be defaulted on."
ธิอาโก แรนเกล นักนิเวศวิทยาที่มหาวิทยาลัย เฟเดอรัล แห่ง Goiás ในบราซิล เขียนในอีกบท ใน Science กล่าวว่า “หนี้การสูญพันธุ์ในป่าอเมซอน-บราซิล เป็นหนี้ก้อนหนึ่งที่ (มนุษยชาติ) ไม่ควรยินยอมชำระ”
Published on Friday, July 13, 2012 by Common Dreams
ดรุณีแปล

การทำลายป่าแม่วงก์ ถิ่นที่อาศัยของสัตว์และพืชอันหลากหลาย เพื่อให้เป็นเขื่อนแม่วงก์ หวังให้กักกันน้ำฝน น้ำป่า ฯลฯ ไม่ให้ท่วมปลายน้ำ จะเป็นการแก้ปัญหาถูกจุดไหม?  หรือจะทำให้ “ก้อนหนี้แห่งการสูญพันธุ์” พอกพูนใหญ่ขึ้น?

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น