วันอาทิตย์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

74. ความโลภมาจากไหน? ... ระบบการเงินโลกกระจุกตัวอิงเทคโนโลยี


Three Big Lies Perpetuated by the Rich
-          Paul Buchheit
โป้ปด ๓ ประการ สร้างภาพโดยคนรวย
-          พอล บุชเชต์

When it comes to the economy, too many Americans continue to be numbed by the soothing sounds of conservative spin in the media. Here are three of their more inventive claims:
พอพูดถึงเศรษฐกิจ  ชาวอเมริกันมากเกินยังคงต้องมนต์สะกดจากเสียงกล่อมของฝ่ายอนุรักษ์นิยมที่ปั่นผ่านสื่อ    นี่คือ สาระการโป้ปด ๓ ประการที่พวกเขาประดิษฐ์ขึ้น

1.       Higher taxes on the rich will hurt small businesses and discourage job creators
การเก็บภาษีมากขึ้นในหมู่คนรวย จะทำร้ายธุรกิจขนาดเล็ก และทำให้ผู้สร้างงานหมดกำลังใจ

 A recent Treasury analysis found that only 2.5% of small businesses would face higher taxes from the expiration of the Bush tax cuts.
การวิเคราะห์จากฝ่ายการคลังเมื่อเร็วๆ  นี้ พบว่า มีธุรกิจขนาดเล็กเพียง 2.5% ที่จะเผชิญกับปัญหาการเก็บภาษีสูงขึ้น หลังจากมาตรการลดภาษีของบุชหมดอายุลง

 As for job creation, it's not coming from the people with money. Over 90% of the assets owned by millionaires are held in a combination of low-risk investments (bonds and cash), the stock market, real estate, and personal business accounts. Angel investing (capital provided by affluent individuals for business start-ups) accounted for less than 1% of the investable assets of high net worth individuals in North America in 2011. The Mendelsohn Affluent Survey agreed that the very rich spend less than two percent of their money on new business startups.
ส่วนเรื่องการสร้างงาน  มันไม่ได้มาจากคนที่มีเงินมาก   กว่า 90% ของทรัพย์สินที่อยู่ในกรรมสิทธิ์ของเศรษฐีเงินล้าน  ถูกผูกติดกับการลงทุนที่มีความเสี่ยงต่ำ (พันธบัตร/หุ้นกู้ และเงินสด)  ตลาดหุ้น  อสังหาริมทรัพย์ และธุรกิจส่วนตัว   การลงทุนเทวดา (คนร่ำรวยให้ทุนส่วนตัวเพื่อการริเริ่มธุรกิจใหม่) มีน้อยกว่า 1% ในทรัพย์สินที่ลงทุนได้ของคนรวยในอเมริกาเหนือ ในปี 2011    ผลการสำรวจคนรวยแมนเดลสัน ยืนยันว่า คนรวยมากๆ ใช้จ่ายเงินของพวกเขาน้อยกว่า 2% เพื่อเริ่มกิจการใหม่ๆ

The Wall Street Journal noted, in way of confirmation, that the extra wealth created by the Bush tax cuts led to the "worst track record for jobs in recorded history."
วารสารวอลล์สตรีทระบุเชิงยืนยัน ว่า ความมั่งคั่งที่ก่อเกิดขึ้นจากมาตรการลดภาษีของบุช ได้นำไปสู่ “การสร้างงานที่แย่ที่สุดในประวัติศาสตร์”

2.       Individual initiative is all you need for success.
การริเริ่มระดับปัจเจก เป็นสิ่งเดียวที่จำเป็นที่จะนำพาสู่ความสำเร็จ

 President Obama was criticized for a speech which included these words: "If you've been successful, you didn't get there on your own...when we succeed, we succeed because of our individual initiative, but also because we do things together."
ประธานาธิบดีโอบามา ถูกวิจารณ์เมื่อเขาใช้คำพูดเหล่านี้ในสุนทรพจน์ “หากคุณเคยประสบความสำเร็จมาแล้ว คุณไม่ได้ไปถึงจุดนั้นด้วยตัวคุณเอง...เมื่อเราสำเร็จ  เราสำเร็จเพราะความริเริ่มระดับปัจเจกของเรา แต่ยังเพราะเราทำงานด้วยกันด้วย”

'Together' is the word that winner-take-all conservatives seem to forget. Even the richest and arguably most successful American, Bill Gates, owes most of his good fortune to the thousands of software and hardware designers who shaped the technological industry over a half-century or more. A careful analysis of his rise shows that he had luck, networking skills, and a timely sense of opportunism, even to the point of taking the work of competitors and adapting it as his own.
คำว่า “ด้วยกัน” เป็นคำที่พวกอนุรักษ์นิยม—ผู้ชนะโกยหมด—ดูเหมือนจะลืมไปแล้ว   แม้แต่คนที่ร่ำรวยที่สุดและอาจกล่าวได้ว่า เป็นชาวอเมริกันที่ประสบความสำเร็จสูงสุด บิล เกตส์  โชคลาภส่วนใหญ่อันมหาศาลของเขา ก็เป็นหนี้ต่อนักออกแบบซอฟแวร์และฮาร์ดแวร์นับพัน ที่สร้างอุตสาหกรรมเทคโนโลยี ในช่วงเวลากว่ากึ่งศตวรรษหรือมากกว่านั้น   เมื่อวิเคราะห์ความรุ่งเรืองของเขาอย่างถี่ถ้วน จะเห็นว่า เขามีโชค ทักษะในการสร้างเครือข่าย และรู้กาลเทศะในการฉวยโอกาส  ถึงขั้นชิงงานของคู่แข่ง และปรับให้กลายเป็นผลงานของเขาเอง

Gates was preceded by numerous illustrious Americans who are considered individual innovators when in fact they used their skills to build upon the work of others. On the day that Alexander Graham Bell filed for a patent for his telephone, electrical engineer Elisha Gray was filing an intent to patent a similar device. Both had built upon the work of Antonio Meucci, who didn't have the fee to file for a patent. Thomas Edison's incandescent light bulb was the culmination of almost 40 years of work by other fellow light bulb developers. Samuel Morse, Eli Whitney, the Wright brothers, and even Thomas Edison had, as eloquently stated by Jared Diamond, "capable predecessors...and made their improvements at a time when society was capable of using their product."
ก่อนหน้า  เกตส์ มีชาวอเมริกันที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากมาย ที่นับได้ว่าเป็นบุคลากรนักนวัตกรรม  ซึ่งแท้จริง พวกเขาใช้ทักษะต่อยอดจากงานของคนอื่น    ในวันที่ อเล็กซานเดอร์ แกรแฮม เบลล์ ยื่นขอสิทธิบัตรสำหรับโทรศัพท์ของเขา  วิศวกรไฟฟ้า เอลิชา เกรย์ ก็กำลังยื่นคำร้องแสดงความจำนงที่จะจดสิทธิบัตรในเครื่องประดิษฐ์คล้ายคลึงกัน    ทั้งคู่ต่อยอดจากผลงานของ แอนโทนิโอ มูซซี ผู้ไม่มีเงินพอที่จะจ่ายค่าจดสิทธิบัตร    ดวงไฟฟ้าของ โทมัส เอดิสัน เป็นการรวบยอดผลงานของนักพัฒนาหลอดไฟฟ้าอื่นๆ ในช่วงเวลาเกือบ 40 ปี    ซามูเอล มอร์ส   เอลไล วิทนีย์  พี่น้องตระกูลไรท์ และแม้แต่ โทมัส เอดิสัน ล้วนมี “คนเก่งที่เดินทางนี้มาก่อน...และพวกเขาก็ทำการปรับปรุงในจังหวะเวลาที่สังคมเก่งพอที่จะใช้ผลผลิตของพวกเขา” ดังที่ จาเรด ไดมอนด์  กล่าวได้อย่างคมคาย

If anything, it's harder than ever today to ascend through the ranks on one's own. As summarized in the Pew research report "Pursuing the American Dream," only 4% of those starting out in the bottom quintile make it to the top quintile as adults, "confirming that the 'rags-to-riches' story is more often found in Hollywood than in reality."
ทุกวันนี้ มันยากยิ่งขึ้นที่จะไต่ขึ้นขั้นด้วยตัวเอง   ดังที่สรุปไว้ในรายงานวิจัยพิว “ไล่ล่าฝันอเมริกัน” ว่า มีเพียง 4% ของกลุ่มคน 25% ในระดับล่าง ที่สามารถไต่เต้าขึ้นถึงกลุ่มระดับยอด 25% ในฐานะผู้ใหญ่  “ยืนยันว่า นิทาน จากผ้าขี้ริ้วสู่เศรษฐี เป็นเรื่องที่พบในฮอลลีวูด มากกว่าในชีวิตจริง”

3.       A booming stock market is good for all of us
ความรุ่งเรืองของตลาดหุ้น เป็นสิ่งดีสำหรับพวกเราทุกคน

The news reports would have us believe that happy days are here again when the stock market goes up. But as the market rises, most Americans are getting a smaller slice of the pie.
รายงานข่าวต่างๆ ต้องการให้เราเชื่อว่า วันแห่งความสุขสันต์จะกลับมาอีกครั้ง เมื่อตลาดหุ้นลอยสูงขึ้นด้วยปัจจัยบวก   แต่ในขณะที่ตลาดพุ่งสูงขึ้น  ชาวอเมริกันส่วนใหญ่กลับได้พายชิ้นเล็กลง

In a recent Newsweek article, author Daniel Gross gushed that "The stock market has doubled since March 2009, while corporate profits and exports have surged to records."
ในบทความไม่นานมานี้ของนิวส์วีค  ผู้เขียน แดเนียล กรอส พ่นว่า “ตลาดหุ้นเพิ่มสองเท่าตัวตั้งแต่ มีนาคม 2009 ในขณะที่กำไรและการส่งออกของบริษัทพุ่งสูงเป็นประวัติการณ์”

But the richest 10% of Americans own over 80% of the stock market. What Mr. Gross referred to as the "democratization of the stock market" is actually, as demonstrated by economist Edward Wolff, a distribution of financial wealth among just the richest 5% of Americans, those earning an average of $500,000 per year.
แต่ชาวอเมริกันรวยที่สุด 10% เป็นเจ้าของตลาดหุ้นกว่า 80%   สิ่งที่คุณกรอสอ้างว่า เป็น “การทำให้ตลาดหุ้นมีความเป็นประชาธิปไตย” แท้จริง—ดังที่นักเศรษฐศาสตร์ เอ็ดเวิร์ด วูล์ฟ ได้สาธิตไว้—เป็นการกระจายความมั่งคั่งทางการเงินในหมู่ชาวอเมริกันที่ร่ำรวยที่สุดเพียง 5% นั่นคือ พวกที่มีรายได้เฉลี่ย $500,000 (๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท) ต่อปี

Thanks in good part to a meager 15% capital gains tax, the richest 400 taxpayers DOUBLED their income and nearly HALVED their tax rates in just seven years (2001-2007). So dramatic is the effect that anyone making more than $34,500 a year in salary and wages is taxed at a higher rate than an individual with millions in capital gains.
อันนี้ต้องขอบคุณภาษีอันน้อยนิดเพียง 15% ที่เรียกเก็บจากการเพิ่มของทุน (มูลค่าหุ้น?)  ผู้เสียภาษีที่ร่ำรวยที่สุด 400 คน ได้รับรายได้เพิ่มเป็นสองเท่า และได้รับการลดอัตราภาษีลงเกือบครึ่ง ภายในเวลาเพียงเจ็ดปี (2001-2007).  มันช่างผาดโผนมากในเชิงผลกระทบที่ว่า ใครก็ตามที่ทำเงินมากกว่า $34,500 (๑,๐๓๕,๐๐๐ บาท) ทั้งเงินเดือนและค่าแรง จะถูกเรียกเก็บภาษีสูงกว่าบุคคลที่ได้รับรายได้เพิ่มจากทุน (ค่าหุ้น?) นับล้าน

There's yet more to the madness. The stock market has grown much faster than the GDP over the past century, which means that this special tax rate is being given to people who already own most of the unearned income that keeps expanding faster than the productiveness of real workers.
ยังมีเรื่องบ้าๆ อีกมาก   ตลาดหุ้นได้ขยายตัวเร็วกว่าจีดีพีมากในช่วงศตวรรษที่ผ่านมา ซึ่งหมายความ เจ้าอัตราภาษีพิเศษตัวนี้ ได้จัดสรรให้แก่เหล่า “เสือนอนกิน” ที่เอาแต่ขยายตัวเร็วกว่าผลิตภาพแท้จริงของคนทำงานตัวจริง

And one fading illusion: People in the highest class are people of high class.
และอีกหนึ่งมายาภาพที่กำลังเลือนราง : คนในชนชั้นสูงสุด เป็นคนชั้นสูง

Scientific American and Psychological Science have both reported that wealthier people are more focused on self, and have less empathy for people unlike themselves.
ทั้ง อเมริกันวิทยาศาสตร์ และวิทยาศาสตร์จิตวิทยา ต่างรายงานว่า คนที่มั่งคั่งกว่า ล้วนเพ่งเล็งที่ตัวเอง และมีความเห็นอกเห็นใจน้อยต่อคนที่ต่างจากตน

This sense of self-interest, according to a study published in the Proceedings of the National Academy of Sciences and other sources, promotes wrongdoing and unethical behavior.
ความรู้สึกที่สนใจแต่เรื่องของตนเอง ตามการศึกษาที่พิมพ์ใน เอกสารประกอบการประชุม วิทยาศาสตร์อุดมศึกษาแห่งชาติ และแหล่งอื่นๆ ส่งเสริมพฤติกรรมกระทำผิดและมิชอบทางจริยธรรม

Can't help but think about bankers and hedge fund managers.
ช่วยไม่ได้ ที่จะคิดถึง บรรดานายธนาคารและพรานเก็งกำไรจากความผันผวนในอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ

Paul Buchheit is a college teacher, an active member of US Uncut Chicago, founder and developer of social justice and educational websites (UsAgainstGreed.org, PayUpNow.org, RappingHistory.org), and the editor and main author of "American Wars: Illusions and Realities" (Clarity Press). He can be reached at paul@UsAgainstGreed.org.
พอล บุชเชต์ เป็นอาจารย์วิทยาลัย เป็นสมาชิกที่แข็งขันของ US Uncut Chicago  ผู้ก่อตั้งและพัฒนาเว็บไซต์ เพื่อการศึกษาและสังคมเป็นธรรม (UsAgainstGreed.org, PayUpNow.org, RappingHistory.org) และเป็นบรรณาธิการ และผู้เขียนเอกของ “สงครามอเมริกัน : มายาคติ และ ความเป็นจริง” (Clarity Press)  ติดต่อเขาได้ที่ paul@UsAgainstGreed.org

Published on Monday, July 23, 2012 by Common Dreams
ดรุณีแปล

วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

73. เล่ห์เหลี่ยมโลภผ่าน TPP “ห้ามคนจนป่วย”




Obama's Trade Policy Ensures Big Pharma Profit at Expense of World's Poor: Report
 - Common Dreams staff
นโยบายการค้าของโอบามา ทำให้แน่ใจได้ว่า ได้กำไรเภสัชกรรมก้อนโต มีคนยากจนของโลกเป็นคนจ่าย
-คอมมอนดรีมส์

In a bid that will bolster profits for western pharmaceutical corporations at the expense of the world's most vulnerable, the Obama administration is pushing international drug pricing policies that would ensure elevated prices for essential medicines across the developing world, according to a report by the Huffington Post.
ในการช่วงชิงที่จะดันให้บริษัทเภสัชของซีกโลกตะวันตกได้กำไรสูง โดยผู้จ่ายเป็นมวลชนที่เปราะบางที่สุดของโลก รัฐบาลโอบามา กำลังผลักดันนโยบายกำหนดราคายาระหว่างประเทศ ที่ทำให้แน่ใจได้ว่า ราคายาจำเป็นจะสูงขึ้น ทั่วซีกโลกกำลังพัฒนา ตามรายงานข่าวฮัฟฟิงตันโพสต์

 Obama speaks at the White House after the Supreme Court ruled on Affordable Care Act. (Photo: AP/Luke Sharrett)

The report explores how the Obama administration's U.S. Patent and Trademark Office (USPTO) has increasingly sought to intensify western pharmaceutical patent and data exclusivity rules through international trade negotiations such as the Trans-Pacific Partnership (TPP), which allow for steep increases in drug prices around the world. United Nations groups, the World Health Organization, and many human rights lawyers and patient advocates argue these corporation-friendly rules greatly oppress sick patients in developing countries.
รายงานได้บรรยายถึง สำนักงานสิทธิทางปัญญาและเครื่องหมายการค้า (USPTO) ของรัฐบาลโอบามา ที่ได้เร่งหาทางจดสิทธิทางปัญญาให้บริษัทยาตะวันตก และเร่งกำหนดกฎเกณฑ์กีดกันข้อมูลให้เข้มข้นยิ่งขึ้น โดยผ่านการต่อรองการค้าระหว่างประเทศ เช่น การเป็นหุ้นส่วนข้ามแปซิฟิก Trans-Pacific Partnership (TPP), ที่อนุญาตให้เพิ่มราคายาอย่างสูง (ชัน) ทั่วโลก   กลุ่มองค์การสหประชาชาติ องค์การอนามัยโลก (WHO) และนักกฎหมยสิทิมนุษยชน และนักรณรงค์สิทธิทางปัญญามากมาย แย้งว่า กฎเกณฑ์ที่เป็นมิตรกับบรรษัทเหล่านี้ จะเป็นเครื่องกดขี่ขูดรีดผู้ป่วยในประเทศกำลังพัฒนาอย่างใหญ่หลวง

"We're taking the worst parts of U.S. law, the parts that make these medications unavailable to patients, and putting them into a trade policy as a guiding principle for developing countries. That's ridiculous," Reshma Ramachandran, a fellow with the American Medical Student Association, told the Huffington Post.
“เรากำลังสู้กับส่วนที่เลวร้ายมากที่สุดของกฎหมายสหรัฐฯ  ส่วนที่จะทำให้ยาเหล่านี้ไปไม่ถึงผู้ป่วย และจะเอาพวกมันเข้าไปในนโยบายการค้า ในฐานะหลักการชี้นำ สำหรับประเทศกำลังพัฒนา   มันเป็นเรื่องตลกสิ้นดี”  เรศมา รามาจันทรน์ สมาชิกของ สมาคมนักศึกษาแพทย์อเมริกัน กล่าว

USPTO Deputy Director Teresa Stanek Rea has recently embarked on a campaign to put an end to what is known as an international 'compulsory licensing' law -- a rule that allows local pharmaceutical companies in countries such as India to produce 'generic' drugs in competition with western corporations. The generic versions are far more affordable than imported 'brand name' drugs from the west.
รองผู้อำนวยการ USPTO เทเรซา สตาเนค เรีย ได้เริ่มรณรงค์เร็วๆ นี้ให้ยุติ สิ่งที่เรียกว่า กฎหมาย “การออกใบอนุญาตภาคบังคับ” ระหว่างประเทศ—กฎที่ยอมให้บริษัทเภสัชกรรมในท้องถิ่น ในประเทศเช่นอินเดีย ที่ผลิตยา “ต้นแบบ” แข่งขันกับบรรษัทยาตะวันตก   ยาต้นแบบราคาถูกกว่ายา “ยี่ห้อ” สั่งเข้าจากตะวันตกมาก

Revoking protections for 'generic drugs' would allow the continued domination of developing markets by western pharmaceutical companies. "It's disappointing and outrageous. Compulsory licensing is a sovereign right to protect public health and other public interests," stated Peter Maybarduk, director of Public Citizen's Access to Medicines Program.
การยกเลิกการปกป้อง “ยาต้นแบบ” จะเป็นการยอมให้บริษัทยาตะวันตกครอบงำตลาดในประเทศกำลังพัฒนาต่อไป   “มันน่าผิดหวังและน่าโมโหมาก   การบังคับออกใบอนุญาต เป็นสิทธิอธิปไตย ในการปกป้องสาธาณสุขและผลประโยชน์สาธารณะอื่นๆ”  ปีเตอร์ เมย์บาร์ดัก  ผู้อำนวยการ โปรแกมการเข้าถึงยาของพลเมืองสาธารณะ กล่าว

"That the Obama administration cannot see the gross inequity of charging $5000 per person per month for a cancer medicine in a developing country says a lot about this government," says Shiba Phurailpatam of the Asia Pacific Network of people living with HIV/AIDS. "Affordable care, it seems, is only for U.S. citizens, not for the developing world."
“การที่รัฐบาลโอบามาไม่สามารถเห็นความไม่เท่าเทียมมหึมา ในการเก็บเงิน $5000 (ประมาณ 150,000 บาท) ต่อเดือน สำหรับยารักษามะเร็งในประเทศกำลังพัฒนาหนึ่งๆ บอกอะไรหลายอย่างเกี่ยวกับรัฐบาลนี้” ชิบา ฟูราอิลปัททัม แห่ง เครือข่ายเอเชีย-แปซิฟิก ผู้ดำรงชีวิตกับ HIV/AIDS   “การดูแลรักษาที่จ่ายไหว ดูเหมือน เป็นไปได้สำหรับพลเมืองสหรัฐฯ เท่านั้น ไม่ใช่สำหรับโลกกำลังพัฒนา”

The Trans-Pacific Partnership negotiations, which are slated to give unprecedented political authority to multinational corporations and are being used to push through such policies, have gone on for two years between the Obama administration and several Pacific nations under conditions of 'extreme secrecy'.
การเจรจาต่อรอง TPP ที่มุ่งหมายที่จะให้อำนาจทางการเมืองที่ไม่เคยมีมาก่อนแก่บรรษัทนานาชาติ และกำลังถูกผลักดันผ่านนโยบายดังกล่าว  ได้ดำเนินมาเป็นเวลา สองปีแล้ว ระหว่างรัฐบาลโอบามา และหลายประเทศในแปซิฟิก ภายใต้เงื่อนไข “ความลับสุดยอด”

Published on Tuesday, July 10, 2012 by Common Dreams

72. บิล เกตส์ กับ GM : โง่หรือโลภ พ่อพระหรือซาตาน?




Gates Foundation Pours $10 Million Into Genetically Modified Crops
Vandana Shiva: Bill Gates "so totally wrong on this assumption that genetically modified seeds produce more."
 - Common Dreams staff
มูลนิธิเกตส์ทุ่ม $10 ล้านลงในพืชที่ถูกตัดแต่งทางพันธุกรรม
วันทนา ศิวะ: บิล เกตส์ “ผิดอย่างจังที่สมมติเอาว่า เมล็ดที่ถูกตัดแต่งทางพันธุกรรม จะผลิตได้มากกว่า”
-คอมมอนดรีมส์

In a decision outraging campaigners for food sovereignty and agroecological approaches, the Gates Foundation has awarded a $10 million grant to develop genetically modified (GM) crops for use in sub-Saharan Africa.
ในการตัดสินใจที่ทำให้นักรณรงค์เพื่ออธิปไตยของอาหาร และแนวทางเกษตรเชิงนิเวศ ต้องโกรธหัวฟัดหัวเหวี่ยง  มูลนิธิเกตส์ ได้อนุมัติเงินรางวัล $10 ล้านเพื่อพัฒนาพืชที่ถูกตัดแต่งทางพันธุกรรม หรือ GM สำหรับใช้ในอนุภาคซาฮาราของอาฟริกา

The grant is for the John Innes Centre in Norwich, which hopes to engineer seeds for corn, wheat and rice that will fix nitrogen (take nitrogen from the air) so that the crops would not need fertilizers.  But GM Freeze, which campaigns against GM food, crops and patents, says that "nitrogen fixing wheat and other cereals have been promised by the GM industry for several decades" and that other, non-GM methods are the solution. Pete Riley, campaign director GM Freeze, adds that "GM is failing to deliver."
เงินสนับสนุนนี้ได้มอบให้แก่ ศูนย์ จอห์น อินน์ ในนอร์วิช ที่หวังว่าจะใช้วิธีการเชิงวิศวกรรมในการเปลี่ยนแปลงเมล็ดข้าวโพด ข้าวสาลี และข้าว ให้ดูดไนโตรเจนจากอากาศ เพื่อจะได้ไม่ต้องใช่ปุ๋ย   แต่กลุ่ม GM Freeze /แช่แข็ง GM ที่รณรงค์ต่อต้านอาหาร พืช และลิขสิทธิ์ GM กล่าวว่า “ข้าวสาลีและธัญพืชอื่นๆ ที่ดูดไนโตรเจนจากอากาศ เป็นสิ่งที่อุตสาหกรรม GM ได้สัญญามาหลายทศวรรษแล้ว” และว่า วิธีการอื่นที่ไม่ใช่ GM เป็นทางออก     พีท ไรลีย์ ผู้อำนวยการของ GM Freeze เสริมว่า “GM ล้มเหลวที่จะผลิตตามสัญญา”

This approach sets up a highly profitable scenario for seed makers, as farmers would be reliant upon these companies to continue buying their seeds, and would not be able to save the patented, modified seeds.
แนวทางนี้ จัดฉากว่า จะได้กำไรมหาศาลสำหรับผู้ทำเมล็ดได้  เพราะชาวไร่ชาวนาจะต้องพึ่งบริษัทเหล่านี้ และต้องซื้อเมล็ดตลอดไป และจะไม่สามารถเก็บรักษาเมล็ดที่มีลิขสิทธิ์ที่ถูกปรับแต่งแล้ว

Commenting on the Gates Foundation grant, Mariam Mayet of the African Centre for Biosafety in South Africa said: "GM nitrogen fixing crops are not the answer to improving the fertility of Africa's soils. African farmers are the last people to be asked about such projects. This often results in the wrong technologies being developed, which many farmers simply cannot afford. We need methods that we can control aimed at building up resilient soils that are both fertile and able to cope with extreme weather. We also want our knowledge and skills to be respected and not to have inappropriate solutions imposed on us by distant institutions, charitable bodies or governments."
มีเรียม เมเยต์ แห่ง ศูนย์อาฟริกาเพื่อความปลอดภัยชีวภาพในอาฟริกาใต้ วิจารณ์การให้ทุนของมูลนิธิเกตส์ ว่า “พืช GM ที่ดูดไนโตรเจนจากอากาศ ไม่ใช่คำตอบเพื่อการเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินในอาฟริกา   ชาวนาอาฟริกัน เป็นคนสุดท้ายที่ถูกถามความเห็นเกี่ยวกับโครงการดังกล่าว   ผลคือ เทคโนโลยีผิดๆ มักถูกพัฒนาขึ้นมา ซึ่งชาวนามากมายไม่สามารถจ่ายได้   เราต้องการวิธีการที่เราสามารถควบคุมได้ ที่มุ่งไปที่สั่งสมความยืดหยุ่นของดิน ให้มีทั้งความอุดมสมบูรณ์ และสามารถรับมือ/ปรับตัวกับสภาพอากาศสุดโต่งที่นี่   เรายังต้องการให้ภูมิปัญญาและทักษะของพวกเราได้รับความเคารพด้วย และไม่ยัดเยียดทางแก้ไขที่ไม่เหมาะสมแก่พวกเราโดยสถาบัน องค์กรกุศล หรือรัฐบาลที่อยู่ไกลโพ้น”

Speaking to Bill Moyers on Moyers & Company, eco-activist Vandana Shiva said that Bill Gates is "so totally wrong on this assumption that genetically modified seeds produce more. In India, Monsanto came in with a claim of 1,500 kilograms of cotton per acre with their genetically engineered cotton. The average yields are 400 kilograms. Our studies show that. The government studies confirm this."
นักกิจกรรมนิเวศ วันทนา ศิวะ พูดกับ บิล มอยเยอร์ และคณะ ว่า บิล เกตส์ “ผิดพลาดอย่างจังที่สมมติเอาว่า เมล็ดที่ปรับแต่งทางพันธุกรรม จะผลิตได้มากกว่า   ในอินเดีย มอนซานโต ได้เข้ามาพร้อมด้วยข้ออ้างที่ว่า จะผลิตฝ้ายได้ 1,500 กก.ต่อเอเคอร์ ด้วยการใช้เมล็ดที่ผ่านพันธุวิศวกรรม     ที่จริงผลผลิตเฉลี่ย แค่ 400 กก.   การศึกษาของเราได้แสดงให้เห็นแล้ว  การศึกษาของรัฐบาลก็ได้ยืนยันผลของเรา”

Published on Sunday, July 15, 2012 by Common Dreams
ดรุณีแปล


Boeser Wolf, Concerned citizen of Earth. Collapse
GMOs are all hype and do not deliver as promised (read up on the history of this), and Monsanto's scheme would further impoverish third world farmers as they would be totally dependent on purchasing their seeds from Monsanto from year to year. It's a lose-lose situation both economically and environmentally for the farmer. Gates has joined the ranks of the arrogant, evil money-loving ogres on this planet who just love to lord it over everyone else.

Siouxrose
Bill Gates never met a living system he didn't view as a machine. Although some in the forum find such references unworthy of respect, others do not share their rigidity. Edgar Cayce, who performed thousands of induced trance readings (these preserved at the A.R.E--Association for Research and Enlightenment, in Virginia Beach) warned back in the l940's that mahy Atlanteans would be reincarnating in America and would bring their genetic knowledge along with them.

According to Cayce's material, the Atlanteans cracked the genetic code and mixed species. Some of the images seen in mythology represent the weird combinations they wrought. Cayce also explained that the powers of that time, also consumed by dark motives, wished to genetically design a race that would be labor intensive, but not bright enough to question its "superiors," i.e. those authority figures demanding their labor.

When I look at Gates I see an Atlantean. Everything he funds, for all the hype about his philanthropy is designed to uni-clone the world's agriculture along with the fertile minds of young students. Whatever he touchs turns to gold, but much of it is rendered lifeless in the process... like Mr. Midas, himself.

Aleph Null, nullius in verba
Plato credited his account of the lost island of Atlantis, west of Portugal, to Solon's 6th century BCE interview with Egyptian historian Sais.

As of the mid-twenties, Edgar Cayce psychically discovered details of a lost continent of Atlantis, occupying much of the north Atlantic ocean. Cayce even predicted that Atlantis would resurface around 1968.

Meanwhile, in 1912, Alfred Wegener proposed the theory of continental drift. Wegener had this much in common with Cayce: his ideas were immediately ridiculed. But today Wegener is remembered as a great discoverer. The floor of the Atlantic is youngest along the mid-Atlantic ridge, and gets progressively older as it spreads out.

Our knowledge of continental drift and Atlantic geography absolutely excludes the possibility of a lost island or continent of Atlantis. All the large (non-volcanic) land masses on Earth have been around since before they collided into the supercontinent of Pangaea 300 million years ago.

There were ways to test Wegener's incredible notion, which eventually proved true of this planet. Most psychic assertions cannot be rigorously examined. Rigor would deflate the positive atmosphere required for the sensitive reception of psychic information, we are told. The problem with psychic epistemology is...


Upchuck
Absolutely correct.  While Cayce's pronouncements might not be scientifically founded, they are based on intuition, which often leaps way ahead of science.  But we don't really need Cayce.  Science itself is telling us that there are genetic differences between those who aren't empathetic and those who are.  Those who gravitate towards wealth and power (the greedy and non empathetic) are superb at preserving themselves and their offspring, but they are a disaster as movers and shakers as far as the human species is concerned.  They have to go, if humanity is to survive.  It's probably already too late.  The species could afford these "mutations" when the population was fairly low, but now the earth itself cries out against them.

mun3
We really seem to have gone down an evolutionary cul-de-sac.  It makes you wonder about what we call 'intelligence'.  We've built it into all that software that Bill Gates profits from... so it probably is an extreme form of stupidity.  It certainly has nothing to do with wisdom.

Siouxrose
The genetic argument is both tricky and presents a morally slippery slope. Japanese and Chinese people tend to be slimmer than Americans; but when they move to the Homeland Security state and start eating fatty foods, their body types alter. In fact, so do their genes.

As another bit of anecdotal data, in the rare instance of psychostenia (spelling?), a/k/a the multiple personality disorder, it's been documented that ONE personality (and keep in mind, they all "reside" in the same body) can show signs of asthma, and these utterly disappear when another "personality" takes over.

Humanity is at a point in its evolution where it's so locked into the physical, that physical explanations--which is to say tangible things that can be measured--are seen as the key causative agencies. If, on the other hand, mind molds matter, then conditions of the flesh can and do alter.

The narrow-minded geniuises who were caught in a race to map the DNA molecule thought specific cellular functions could be tied to specific portions of the molecule. It never dawned on them that DNA is a holistic apparatus, and that whatever happens to any part of it, impacts the whole.

My...

Upchuck
I got the idea from a TV program on serial killers. They have been doing extensive research on these individuals, and have found that they have an extra gene which causes a lack of empathy. They have found this condition in many CEOs and others who seek power and wealth.

You may be right--DNA may be a holistic apparatus.  But I dare you to try to grow a conscience on one of the monsters and see how you do.  In a well balance, matriarchal society these men may be contained and even useful, but we are not living in that society.  And does it really matter?  Evil, sick, or genetically mutated, these men have ruled over us for thousands of years and have now reached the end because the earth is not large enough for their greed and selfishness.  As it stands, we are a failed species.              

71. จับโกหก ... ผ่าตัดงบ




Four Spending Myths That Could Wreck Our World
How Not to Solve an American Crisis
-Mattea Kramer
สี่เรื่องโกหกที่อาจทำให้โลกของเราอับปาง
วิธีไม่แก้วิกกฤตอเมริกัน
-แมทที เครเมอร์
We’re at the edge of the cliff of deficit disaster!  National security spending is being, or will soon be, slashed to the bone!  Obamacare will sink the ship of state!
เรากำลังยืนอยู่ที่ขอบหน้าผาแห่งหายนะจากการขาดดุล!   งบความมั่นคงแห่งชาติกำลังถูกตัด หรือจะถูกตัด จนเหลือแต่กระดูกเร็วๆ นี้!  โอบามาแคร์ จะทำให้รัฐนาวาอับปาง!

Each of these claims has grabbed national attention in a big way, sucking up years’ worth of precious airtime. That’s a serious bummer, since each of them is a spending myth of the first order. Let’s pop them, one by one, and move on to the truly urgent business of a nation that is indeed on the edge.
ข้ออ้างเหล่านี้แต่ละข้อ ได้กระชากความสนใจประชาชาติอย่างแรง    นี่เป็นสถานการณ์ที่น่าผิดหวังอย่างร้ายแรง เพราะแต่ละข้อเป็นเรื่องโกหกชั้นหนึ่งเกี่ยวกับการใช้งบประมาณ   มาลองทำให้มันแตกทีละเรื่อง แล้วเคลื่อนต่อไปสู่ธุรกรรมที่เร่งด่วนที่แท้จริง ของชาติที่ยืนอยู่ขอบหน้าผาจริงๆ

Spending Myth 1:  Today’s deficits have taken us to a historically unprecedented, economically catastrophic place.
เรื่องโกหกของการใช้จ่ายที่ 1:  การขาดดุลในวันนี้ แย่สุดๆ ชนิดที่ไม่เคยมีมาก่อนในประวัติศาสตร์ เป็นหายนะทางเศรษฐกิจ

This myth has had the effect of binding the hands of elected officials and policymakers at every level of government.  It has also emboldened those who claim that we must cut government spending as quickly, as radically, as deeply as possible.
เรื่องโกหกนี้ เป็นการมัดมือชก ผู้แทนและผู้กำหนดนโยบายที่ถูกเลือกตั้งเข้าไปทำหน้าที่ในทุกๆ ระดับของรัฐบาล   มันยังกระตุ้นให้พวกที่อ้างว่า เราต้องตัดงบการใช้จ่ายของรัฐบาลเร็วที่สุด สุดโต่งที่สุด และลึกที่สุด มีความกล้ายิ่งขึ้น

In fact, we’ve been here before.  In 2009, the federal budget deficit was a whopping 10.1% of the American economy and back in 1943, in the midst of World War II, it was three times that -- 30.3%. This fiscal year the deficit will total around 7.6%. Yes, that is big. But in the Congressional Budget Office’s grimmest projections, that figure will fall to 6.3% next year, and 5.8% in fiscal 2014. In 1983, under President Reagan, the deficit hit 6% of the economy, and by 1998, that had turned into a surplus. So, while projected deficits remain large, they’re neither historically unprecedented, nor insurmountable.
แท้จริงแล้ว พวกเราเคยตกอยู่ในสภาวะนี้มาก่อน   ในปี 2009 การขวดดุลในงบสหพันธ์ สูงถึง 10.1% ของเศรษฐกิจอเมริกัน  และในปี 1943 ท่ามกลางสงครามโลกครั้งที่สอง อาการหนักเป็นสามเท่า คือ 30.3%.   ปีงบประมาณครั้งนี้ การขาดดุลรวมอยู่ประมาณ 7.6%.  ใช่ มันใหญ่   แต่จากการคาดคะเนที่ร้ายกาจที่สุดของสำนักงบประมาณคองเกรส  ตัวเลขจะตกลงเป็น 6.3% ในปีหน้า  และ 5.8% ในปีงบประมาณ 2014    ในปี 1983 ภายใต้ประธานาธิบดี เรแกน  การขาดดุลเป็น 6% ของเศรษฐกิจ  พอถึงปี 1998 มันเพิ่มขึ้น เป็นเกินดุล   ดังนั้น ในขณะที่การคาดการณ์ความขาดดุลยังมากอยู่  มันไม่ใช่ไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์ หรือแก้ไขอะไรไม่ได้

More important still, the size of the deficit is no sign that lawmakers should make immediate deep cuts in spending. In fact, history tells us that such reductions are guaranteed to harm, if not cripple, an economy still teetering at the edge of recession.
ที่สำคัญกว่านั้นคือ  ขนาดของการขาดดุลไม่ใช่สัญญาณที่ฝ่ายนิติบัญญัติจะต้องรีบเฉือนงบการใช้จ่ายชิ้นใหญ่   ที่จริง ประวัติศาสตร์บอกเราว่า การลดเช่นนี้เป็นการประกันว่าจะทำร้าย—หากไม่ถึงกับทำให้พิการ—เศรษฐกิจที่ยังเดินโซเซอยู่ที่ขอบของการถดถอย

A number of leading economists are now busy explaining why the deficit this year actually ought to be a lot larger, not smaller; why there should be more government spending, including aid to state and local governments, which would create new jobs and prevent layoffs in areas like education and law enforcement. Such efforts, working in tandem with slow but positive job growth in the private sector, might indeed mean genuine recovery. Government budget cuts, on the other hand, offset private-sector gains with the huge and depressing effect of public-sector layoffs, and have damaging ripple effects on the rest of the economy as well.
นักเศรษฐศาสตร์แนวหน้าหลายๆ คน กำลังวุ่นวายอยู่กับการอธิบายว่า ทำไมการขาดดุลปีนี้ ควรจะใหญ่กว่านี้ ไม่ใช่เล็กกว่านี้    ทำไมรัฐบาลควรจะมีงบใช้จ่ายมากขึ้น รวมทั้งช่วยเหลือรัฐบาลระดับรัฐและระดับท้องถิ่น  อันจะเป็นการสร้างงานใหม่ และป้องกันการถูกลอยแพ ในอาชีพเช่น การศึกษาและการบังคับใช้กฎหมาย   ความพยายามเหล่านี้ ที่ทำงานควบคู่ไปกับการขยายงานเชิงบวกอย่างช้าๆ ในภาคเอกชน  อาจหมายถึงการฟื้นชีพอย่างแท้จริง   การตัดงบรัฐบาล ในทางตรงข้าม ลดรายได้ของภาคเอกชน และส่งผลกระทบมหาศาลต่อการลอยแพคนงานภาครัฐ และผลข้างเคียงอันจะทำลายส่วนที่เหลือของเศรษฐกิจ

When the economy is healthier, a host of promising options are at hand for lawmakers who want to narrow the gap between spending and tax revenue. For example, loopholes and deductions in the tax code that hand enormous subsidies to wealthy Americans and corporations will cost the Treasury around $1.3 trillion in lost revenue this year alone -- more, that is, than the entire budget deficit. Closing some of them would make great strides toward significant deficit reductions.
เมื่อเศรษฐกิจมีสุขภาพดี มีทางเลือกดีๆ มากมายให้พวกนิติบัญญัติ ผู้ต้องการลดช่องว่างระหว่างการใช้จ่ายและรายได้ภาษี   เช่น ช่องโหว่และการลดภาษีที่มอบเป็นเงินช่วยเหลือมหาศาลแก่คนอเมริกันและบริษัทที่ร่ำรวย จะผลักภาระให้ฝ่ายคลังต้องสูญเสียรายได้ประมาณ $1.3 ล้านล้าน ในปีนี้ปีเดียว—นั่นคือ มากกว่าการขาดดุลของงบประมาณทั้งหมด     การปิดบางช่องโหว่เหล่านี้ จะเป็นก้าวใหญ่สู่การลดการขาดดุลอย่างมีนัยสำคัญทีเดียว

Alarmingly, the deficit-reduction fever that’s resulted from this first spending myth has led many Americans to throw their support behind de-investment in domestic priorities like education, research, and infrastructure -- cuts that threaten to undo generations of progress. This is in part the result of myth number two.
ไข้การลดการขาดดุล ที่เป็นผลจากเรื่องโกหกแรกของการใช้จ่าย ได้ทำให้ชาวอเมริกันหลายคนตกตื่น และหนุนหลังให้ลดการลงทุนในประเทศ เช่น การศึกษา การวิจัย และการสร้างสาธารณูปโภค—การตัดงบที่คุกคามความก้าวหน้าที่สั่งสมกันมาหลายชั่วคน  นี่เป็นผลจากเรื่องโกหกที่สอง

Spending Myth 2: Military and other national security spending have already taken their lumps and future budget-cutting efforts will have to take aim at domestic programs instead.
เรื่องโกหกการใช้จ่ายที่ 2:  งบการทหารและความมั่นคงแห่งชาติอื่นๆ ได้ถูกตัดชิ้นใหญ่ไปแล้ว และการตัดงบต่อไป จะต้องถึงคราวโปรแกมในประเทศ

The very idea that military spending has already been deeply cut in service to deficit reduction is not only false, but in the realm of fantasy.  The real story: despite headlines about “slashed” Pentagon spending and “doomsday” plans for more, no actual cuts to the defense budget have yet taken place. In fact, since 2001, to quote former Defense Secretary Robert M. Gates, defense spending has grown like a “gusher.”  The Department of Defense base budget nearly doubled in the space of a decade. Now, the Pentagon is likely to face an exceedingly modest 2.5% budget cut in fiscal 2013, “paring” its budget down to a mere $525 billion -- with possible additional cuts shaving off another $55 billion next year if Congress allows the Budget Control Act, a.k.a. “sequestration,” to take effect.
ความคิดที่ว่า งบการทหารได้ถูกตัดชิ้นใหญ่เพื่อลดการขาดดุลไปแล้วนั้น ไม่เพียงแต่โกหก แต่ยังเป็นเพียงการเพ้อฝัน    เรื่องจริงคือ ทั้งๆ ที่พาดหัวข่าวกันว่า “ตัด” งบเพนทากอน และมีแผน “วันวินาศ” ตามมาอีกมาก  ไม่มีการตัดงบทหาร/การป้องกันเกิดขึ้นจริงๆ จังๆ    ที่จริง ขออ้างคำพูดของ เลขาธิการกลาโหม โรเบิร์ต เกตส์ ว่า ตั้งแต่ปี 2001 การใช้จ่ายของกลาโหมเหมือน “น้ำมันที่พุ่งขึ้นมา”     ฐานงบประมาณของกลาโหมเพิ่มเกือบสองเท่าตัวในช่วงหนึ่งทศวรรษ   ตอนนี้ เพนทากอนคงต้องเผชิญกับการถูกตัดที่เบาเกินไป คือ เพียง 2.5% ในการตัดงบของปีงบประมาณ 2013  “เฉือน” ออกเล็กน้อยให้เหลือ $525 พันล้าน—พร้อมกับความเป็นไปได้ที่จะตัดอีก $55 พันล้าน ปีหน้า หากคองเกรสยอมให้ พรบ ควบคุมงบ ผ่าน

But don’t hold your breath waiting for that to happen.  It’s likely that lawmakers will, at the last moment, come to an agreement to cancel those extra cuts.  In other words, the notion that our military, which has been experiencing financial boom times even in tough times, has felt significant deficit-slashing pain -- or has even been cut at all -- is the Pentagon equivalent of a unicorn.
แต่อย่ากลั้นหายใจรอให้มันเกิดขึ้น   ในวินาทีสุดท้าย ฝ่ายนิติบัญญัติคงจะตกลงยกเลิกการตัดรายการที่เพิ่มมา    พูดอีกที  ความคิดที่ว่ากองทัพของเรา ซึ่งเคยชินกับประสบการณ์ความรุ่งเรืองทางการเงิน แม้แต่ในยามยาก ได้รู้สึกเจ็บปวดอย่างยิ่งจากการถูกเฉือนเพื่อลดการขาดดุล—หรือยังไม่ถูกตัดจริงๆ เลย—สำหรับเพนทากอน มันเหมือนยูนิคอร์น หรือม้าขาวมีนอในเทพนิยาย

What this does mean, however, is that lawmakers heading down the budget-cutting path can find plenty of savings in the enormous defense and national security budgets. Moreover, cuts there would be less harmful to the economy than reductions in domestic spending.
แต่ ความหมายของมันคือ  ฝ่ายนิติบัญญัติที่มุ่งสู่หนทางการตัดงบ สามารถหาจุดออมทรัพย์มากมายในงบมหึมาเพื่อการป้องกันและความมั่นคงแห่งชาติ   เหนือกว่านั้น การตัดที่นั่น จะทำร้ายเศรษฐกิจน้อยกว่าการลดค่าใช้จ่ายในประเทศ

A group of military budget experts, for example, found that cutting many costly and obsolete weapons programs could save billions of dollars each year, and investing that money in domestic priorities like education and health care would spur the economy. That’s because those sectors create more jobs per dollar than military programs do.  And that leads us to myth three.
ยกตัวอย่าง ผู้เชี่ยวชาญด้านงบทหารกลุ่มหนึ่งได้พบว่า การตัดโปรแกมอาวุธยุทโธปกรณ์ราคาแพง และล้าสมัย จะช่วยประหยัดนับพันล้านดอลลาร์แต่ละปี  และผันมาใช้ลงทุนรายการจำเป็นในประเทศ เช่น การศึกษาและดูแลสุขภาพ ที่จะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ    เพราะทุกๆ ดอลลาร์ที่ใช้ในภาคส่วนเหล่านั้น จะช่วยสร้างงานได้มากกว่าที่ใช้ในโปรแกมทหาร  และนี่ก็นำเราไปสู่เรื่องโกหกที่ 3

Spending Myth 3: Government health-insurance programs are more costly than private insurance.
เรื่องโกหกการใช้จ่ายที่ 3: โปรแกมประกันสุขภาพของรัฐ แพงกว่าของเอกชน

False claims about the higher cost of government health programs have led many people to demand that health-care solutions come from the private sector. Advocates of this have been much aided by the complexity of sorting out health costs, which has provided the necessary smoke and mirrors to camouflage this whopping lie.
การอ้างผิดๆ เกี่ยวกับต้นทุนสูงกว่าของโปรแกมสุขภาพของรัฐบาล ได้ทำให้หลายคนเรียกร้องให้หาทางออกจากภาคเอกชน   พวกที่รณรงค์เรื่องนี้ ได้รับการช่วยเหลือจากการแยกแยะค่ารักษาพยาบาลที่ซับซ้อน ที่กลายเป็นควันและกระจกที่จำเป็นเพื่ออำพรางการกู้ร้องเรื่องโกหกนี้

Health spending is indeed growing faster than any other part of the federal budget. It’s gone from a measly 7% in 1976 to nearly a quarter today -- and that’s truly a cause for concern. But health care costs, public and private, have been on the rise across the developed world for decades. And cost growth in government programs like Medicare has actually been slower than in private health insurance. That’s because the federal government has important advantages over private insurance companies when it comes to health care. For example, as a huge player in the health-care market, the federal government has been successful at negotiating lower prices than small private insurers can. And that helps us de-bunk myth number four.
การใช้จ่ายด้านสาธารณสุขได้ขยายตัวเร็วกว่าส่วนอื่นของงบสหพันธ์จริง  มันเพิ่มจาก 7% ในปี 1976 ไปเป็นเกือบ 25% ทุกวันนี้—และนั่นเป็นเรื่องน่าห่วงใยที่แท้จริง   แต่ต้นทุนการดูแลสุขภาพ ทั้งของเอกชนและของรัฐบาล ได้เพิ่มสูงขึ้นทั่วซีกโลกที่พัฒนาแล้วมาหลายทศวรรษ   และการขยายตัวของต้นทุนในโปรแกมรัฐบาลเช่น เมดิแคร์ แท้จริงช้ากว่าในประกันสุขภาพของภาคเอกชน    เพราะรัฐบาลสหพันธ์มีข้อได้เปรียบที่สำคัญเหนือกว่าบริษัทประกันเอกชน ในเรื่องดูแลสุขภาพ  ยกตัวอย่าง  ในฐานะตัวเล่นรายใหญ่ในตลาดสุขภาพ รัฐบาลสหพันธ์ได้ประสบความสำเร็จในการต่อรองราคาให้ต่ำลง
เมื่อเทียบกับบริษัทประกันเล็กๆ อื่นๆ   และนั่นก็ช่วยเราหักล้างเรื่องโกหกที่ 4

Spending Myth 4: The Affordable Care Act -- Obamacare -- will bankrupt the federal government while levying the biggest tax in U.S. history.
เรื่องโกหกการใช้จ่ายที่ 4:  พรบ การรักษาที่จ่ายไหว—โอบามาแคร์—จะทำให้รัฐบาลสหพันธ์ล้มละลาย ในขณะที่เรียกเก็บภาษีหนักที่สุดในประวัติศาสตร์สหรัฐฯ

Wrong again. According to the Congressional Budget Office, this health-reform legislation will reduce budget deficits by $119 billion between now and 2019.  And only around 1% of American households will end up paying a penalty for lacking health insurance.
ผิดอีกแล้ว   สำนักงานงบประมาณของสภาคองเกรส ระบุว่า กฎหมายปฏิรูปสาธารณสุข จะลดการขาดดุลของงบถึง $119 พันล้าน ระหว่างตอนนี้ และ ปี 2019  และเพียงประมาณ 1% ของครัวเรือนอเมริกัน จะต้องจ่ายค่าปรับ หรือถูกลงโทษ เพราะไม่มีประกันสุขภาพ

While the Affordable Care Act is hardly a panacea for the many problems in U.S. health care, it does at least start to address the pressing issue of rising costs -- and it incorporates some of the best wisdom on how to do so. Health-policy experts have explored phasing out the fee-for-service payment system -- in which doctors are paid for each test and procedure they perform -- in favor of something akin to pay-for-performance. This transition would reward medical professionals for delivering more effective, coordinated, and efficient care -- and save a lot of money by reducing waste.
ในขณะที่ พรบ การรักษาที่จ่ายไหว ไม่ใช่ยาครอบจักรวาลสำหรับปัญหาสารพัดในการสาธารณสุขของสหรัฐฯ อย่างน้อย มันได้เริ่มแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเรื่องค่าครองชีพสูงขึ้น—และมันได้ผนวกรวมบางภูมิปัญญาที่ดีที่สุดว่าจะทำได้อย่างไร    ผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายสุขภาพ ได้สำรวจการลด เลิก ระบบการจ่ายค่าบริการ—ที่หมอจะได้รับเงินสำหรับค่าตรวจและค่าลงมือแต่ละครั้ง—แทนด้วยการจ่ายสำหรับกิจการรักษารวม   การเปลี่ยนผ่านนี้ จะให้รางวัลแก่นักวิชาชีพทางแพทย์ สำหรับการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ มีการประสานกัน และให้การดูแลอย่างมีสมรรถภาพ—และประหยัดเงินมหาศาลด้วยการลดการสูญเสีย

The Affordable Care Act begins implementing such changes in the Medicare program, and it explores other important cost-containment measures. In other words, it lays the groundwork for potentially far deeper budgetary savings down the road.
พรบ การรักษาที่จ่ายไหว ได้เริ่มดำเนินการเปลี่ยนแปลงเช่นนี้ในโปรแกม เมดิแคร์ และยังได้สำรวจมาตรการสำคัญอื่นๆ ที่ช่วยประหยัด  พูดง่ายๆ มันได้วางรากฐานสำหรับการประหยัดงบในระดับลึกไว้

Having cleared the landscape of four stubborn spending myths, it should be easier to see straight to the stuff that really matters. Financial hardship facing millions of Americans ought to be our top concern. Between 2007 and 2010, the median family lost nearly 40% of its net worth. Neither steep deficits, nor disagreement over military spending and health reform should eclipse this as our most pressing challenge.

If lawmakers skipped the myth-making and began putting America’s resources into a series of domestic investments that would spur the economy now, their acts would yield dividends for years to come. That means pushing education and job training, plus a host of job-creation measures, to the top of the priority list, and setting aside initiatives based on fear and fantasy.
หากฝ่ายนิติบัญญัติเลิกแต่งเรื่องโกหก และเริ่มจัดสรรให้ทรัพยากรของอเมริกันทยอยลงทุนในประเทศ ที่ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจตอนนี้ การกระทำของพวกเขาจะให้ดอกผลในขวบปีที่จะมาถึง   นั่นหมายถึง การผลักดันให้มีการศึกษาและการฝึกงาน บวกมาตรการสร้างงานมากมาย ให้อยู่บนสุดของรายการลำดับความสำคัญ และเก็บเข้าข้างทางการริเริ่มที่ตั้งอยู่บนความกลัวและความเพ้อฝัน

Copyright 2012 Mattea Kramer

Mattea Kramer is a research analyst at the National Priorities Project in Northampton, Massachusetts and co-author (with Chris Hellman) of the new book, A People's Guide to the Federal Budget.
แมทที เครเมอร์ เป็นนักวิเคราะห์วิจัยที่ โครงการลำดับที่มีความสำคัญแห่งชาติ ในนอร์ทแฮมตัน แมสซาชูเซ็ทส์ และผู้ประพันธ์ร่วม (คริส เฮลแมน) ในหนังสือเล่มใหม่ “คู่มือประชาชน เรื่องงบประมาณสหพันธ์”

Published on Wednesday, July 18, 2012 by TomDispatch
ดรุณีแปล