The
Engaged Buddhism of Sulak Sivaraksa (Part 2)
BY
MATTEO PISTONO
ศาสนาพุทธที่ไม่หนีโลก ของ สุลักษณ์
ศิวรักษ์ (ภาค 2)
โดย แมททีโอ พิสโตโน
ดรุณี ตันติวิรมานนท์ แปล
.....
Coupled
with the inner practice of small “b” Buddhism, that is, cultivating
mindfulness, tolerance, and a deep realization of interconnectedness, Sulak
also reinterprets the classic five precepts for the modern day, extending them
beyond the individual to society at large. For example, regarding the first
precept to abstain from harm, Sulak challenges the individual to understand
that while they might not be killing outright, they must examine how their own
actions might support wars, racial conflict, or the breeding of animals for
human consumption. Considering the second precept of abstaining from stealing,
Sulak questions the moral implications of capitalism, and of the depletion of
natural resources. Stopping global structures of male dominance and the
exploitation of women is a natural extension of one’s third precept of
abstaining from sexual misconduct. And vowing to abstain from false speech
would naturally bring into question how mass media and mainstream education
promotes a prejudiced and biased view of the world. Finally, Sulak believes the
fifth precept to avoid intoxicants deals with nothing short of international
peace and justice because, “the Third World farmers grow heroin, coca, coffee,
and tobacco because the economic system makes it impossible for them to support
themselves growing rice and vegetables.”
ผนวกกับการปฏิบัติภายใน (จิตใจ)
ด้วยพุทธศาสนาที่ใช้ “b”
ตัวเล็ก, นั่นคือ, การเจริญสติ, บ่มเพาะขันติ, การตระหนักอย่างลึกซึ้งถึงความเชื่อมโยงต่อเนื่องถึงกันและกัน,
สุลักษณ์ได้ตีความเบญจศีลเดิมใหม่ให้เข้ากับยุคสมัยใหม่, ต่อยอดออกไปถึงปัจเจกและสังคมใหญ่. ยกตัวอย่าง, เกี่ยวกับศีลข้อ ๑ ให้งดจากการทำร้าย,
สุลักษณ์ท้าทายบุคคลให้เข้าใจว่า ในขณะที่พวกตนอาจไม่ทำการฆ่าโดยตรงทันที,
พวกตนจะต้องตรวจสอบการกระทำของตนที่อาจสนับสนุนสงคราม, ความขัดแย้งทางเชื้อชาติ,
หรือการผสมพันธุ์สัตว์เพื่อให้มนุษย์บริโภค.
พิจารณาศีลข้อ ๒ งดจากการลักขโมย, สุลักษณ์ตั้งคำถามต่อสมมติฐานเชิงศีลธรรมของทุนนิยม. การยุติการกดขี่ข่มเหงสตรี เป็นการต่อยอดโดยธรรมชาติของศีลข้อ
๓ งดการประพฤติผิดในกาม.
และการตั้งสัตย์ว่า จะงดการพูดปด ก็ย่อมนำไปสู่คำถามที่ว่า
สื่อสารมวลชนและการศึกษาได้ส่งเสริมมุมมองอคติของโลก. ในที่สุด, ศีลข้อที่ ๕ งดดื่มของมึนเมา
เกี่ยวข้องกับสันติภาพและความยุติธรรมสากล เพราะ, “ชาวนาในโลกที่สามปลูกเฮโรอีน,
โกโก้, กาแฟ, และยาสูบ เพราะระบบเศรษฐกิจทำให้พวกเขาเลี้ยงดูตัวเองด้วยการปลูกข้าวและผักไม่ได้.
While
Sulak is known for his fiery speeches, he strikes a more analytical tone when
he writes about this re-interpretation of the five precepts. “I do not attempt
to answer these questions. I just want to raise them for us to contemplate.”
ในขณะที่สุลักษณ์
เป็นที่รู้จักเพราะคำพูดที่เผ็ดร้อนรุนแรง, เขาจะใช้ท่วงทำนองเชิงวิเคราะห์
เมื่อเขาเขียนเกี่ยวกับการตีความเบญจศีล. “ผมไม่ได้พยายามตอบคำถามเหล่านี้. ผมเพียงแต่ต้องการยกระดับห้วข้อเหล่านี้
เพื่อให้พวกเราไตรตรองพินิจพิเคราะห์กัน”.
For
Sulak’s 21st century articulation of the Buddha’s
teachings, the Dalai Lama has written, “I believe Sulak and I share a
conviction that if we are to solve human problems, economic and technological
development must be accompanied by an inner spiritual growth. And if we succeed
in fulfilling both these goals, we will surely create a happier and more
peaceful world.”
สำหรับการชี้แจ้งแถลงไขคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าของสุลักษณ์ในศตวรรษที่
21, องค์ทาไลลามะได้เขียนว่า, “อาตมาเชื่อว่า สุลักษณ์และอาตมา
มีความเชื่อมั่นอย่างแรงกล้าร่วมกันว่า หากเราต้องการแก้ไขปัญหามนุษย์,
การพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยี จะต้องเป็นไปพร้อมกับการเจริญเติบโตของจิตวิญญาณภายใน. และหากเราบรรลุเป้าหมายทั้งสองได้, แน่นอน
เราจะสร้างโลกที่มีความสุขและสันติมากขึ้น”.
Sulak’s
writings and activism for four decades in Thailand and around the world have
led to his twice being nominated for the Noble Peace Prize (1993,
1994), and to receiving the Right Livelihood Award in 1995 “for his vision, activism and spiritual commitment in the
quest for a development process that is rooted in democracy, justice and
cultural integrity.” In 2011, Sulak was honored with the
Niwano Peace Prize.
งานเขียนและงานรณรงค์ ของสุลักษณ์
ในช่วงสี่ทศวรรษในประเทศไทยและรอบโลก
ได้นำเขาสู่รายชื่อผู้เข้ารอบรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (1993, 1994),
และได้รับมอบรางวัล สัมมาชีพ ในปี 1995 “สำหรับวิสัยทัศน์, กิจกรรมรณรงค์ และ ความผูกพันรับผิดชอบเชิงจิตวิญญาณ
ในการแสวงหากระบวนการพัฒนาที่หยั่งรากในประชาธิปไตย, ยุติธรรม และ
ศักดิ์ศรีของวัฒนธรรม”. ในปี 2011, สุลักษณ์ได้รับเกียรติจากการได้รับรางวัล นิวาโน.
Woven
through all of Sulak’s work is the spirit of kalyanamitta—a Pali term connoting
spiritual friendship. Sulak’s spiritual friendships have long been on display
at his traditional teak home in the middle of Bangkok—itself a protest against
the ills of rampant urbanization—where for many decades he has hosted an
endless stream of students, activists, politicians and refugees from around the
world. Sitting in the palm-leaf courtyard with bamboo chairs and mats circling
him, Sulak is the center of activity; planning, envisioning, dreaming and
executing his vision while fostering an open forum for appraising, criticizing,
and analyzing each other’s spiritual path. Sulak counts Quakers and Protestants
as some of his dearest kalyanamitta.
สิ่งที่ถักทอผ่านงานทั้งหมดของสุลักษณ์
คือ วิญญาณของกัลยาณมิตร—คำบาลีที่หมายถึงมิตรภาพทางจิตวิญญาณ. มิตรภาพทางจิวิญญาณของสุลักษณ์
ได้ถูกตั้งแสดงที่บ้านไม้สักตามประเพณีของเขา ในใจกลางกรุงเทพฯ—โดยตัวมันเอง เป็นการประท้วงต่อต้าน
ความชั่วร้ายที่เมืองดุร้าย—ที่ซึ่ง เป็นเวลาหลายทศวรรษที่เขาได้เป็นเจ้าภาพของบรรดานักศึกษา,
นักกิจกรรม, นักการเมือง และ ผู้ลี้ภัยจากทั่วโลกอย่างไม่ขาดสาย. นั่งอยู่ในสวนต้นปาล์ม มีเก้าอี้ไผ่ และ
เสื่อรอบๆ ตัวเขา, สุลักษณ์ เป็นศูนย์กลางของกิจกรรม; วางแผน, มองการณ์ไปข้างหน้า, ฝัน และ ทำฝันให้เป็นจริง
ในขณะที่อำนวยเวทีเปิดเพื่อการประเมิน, วิจารณ์,
และวิเคราะห์วิถีจิตวิญญาณของคนอื่น.
สุลักษณ์นับรวม เควกเกอร์ และ โปรเตสแตนท์ เป็นหนึ่งในกัลยาณมิตรอันเป็นที่รักที่สุด.
In
the Upaddha Sutta, the Buddha is said to have responded to Ananda when the
disciple asked the master if spiritual friendship was half of the holy life.
“Half of the holy life? Don’t say that, Ananda,” the Buddha responded. “Admirable
friendship, admirable companionship, admirable camaraderie is actually the
whole of the holy life. When a monk has admirable people as friends,
companions, and comrades, he can be expected to develop and pursue the noble
eightfold path.”
ในอุปัทธาสูตร, กล่าวกันว่า พระพุทธองค์ได้ตอบอานนท์ว่า เมื่อสาวกถามอาจารย์ว่า มิตรภาพทางจิวิญญาณ
เป็นครึ่งหนึ่งของชีวิตอันประเสริฐ (เพศบรรพชิต?) ใช่หรือไม่. “ครึ่งหนึ่งของเพศบรรพชิต? อย่ากล่าวเช่นนั้น, อานนท์”,
พระพุทธองค์ทรงตอบ. “มิตรภาพที่น่าชื่นชม,
เพื่อนร่วมทางที่น่าชื่นชม, สหายที่น่าชื่นชม
ที่แท้เป็นทั้งหมดของชีวิตอันประเสริฐ.
เมื่อภิกษุมีหมู่ชนที่น่าชื่นชมเป็นมิตร, เพื่อนร่วมทาง, และสหาย,
คาดได้ว่า เขาจะพัฒนาและบรรลุมรรคแปดได้”.
Sulak
summarizes his modern day interpretation of kalyanamitta in Buddhism and
Development, as “a Good Friend would be one’s ‘other voice’ of conscience, to
put one on the proper path of development so that one would not escape from
society nor would one want to improve society in order to claim it as one’s own
achievement.”
สุลักษณ์ ย่นย่อการตีความ กัลยาณมิตรในศาสนาพุทธและการพัฒนา
ในยุคสมัยใหม่ของเขา, “มิตรที่ดีจะเป็น ‘เสียงอื่น’ ของจิตสำนึกของตนเอง, เพื่อวางตนให้อยู่ในวิถีพัฒนา อย่างที่ว่า
ตนจะไม่หันหนีจากสังคม และจะไม่ปรับปรุงสังคม เพื่ออวดอ้างว่า เป็นความสำเร็จของตน”.
Sulak
recalls when he once saw a photograph of the Dalai Lama holding a bottle of
Coca-Cola. On their next meeting in India, Sulak felt obliged—in the spirit of
kalyanamitta —to tell the Tibetan leader about the suffering and environmental
harm that is associated with a single can of the beverage.
สุลักษณ์
หวนระลึกถึงครั้งหนึ่งที่เขาได้เห็นภาพถ่ายขององค์ทาไลลามะ ถือขวดโคคาโคลาอยู่. ในการพบปะครั้งต่อไปในอินเดีย, สุลักษณ์รู้สึกเหมือนถูกบังคับ—ด้วยวิญญาณแห่งกัลป์ยาณมิตร—ให้บอกผู้นำธิเบตเกี่ยวกับความทุกข์และการทำร้ายสิ่งแวดล้อม
ที่เกี่ยวเนื่องกับกระป๋องเดียวของเครื่องดื่ม.
Sulak
has also felt compelled in recent years to question his friend Thich Nhat Hanh
about charging money to attend teachings by the Vietnamese monk, and suggesting
that the Plum Village retreat center in France might only attract the rich and
not be available to poor people. Thich Nhat Hanh assured Sulak that there is
never a charge for his Dharma talks, and that nobody is excluded. Sulak also
suggested to Thich Nhat Hanh that he is disconnected from those outside his
inner circle, and, that there might be too many layers between the monk and his
disciples, “that there is only a monologue and no dialogue with your students.”
สุลักษณ์
รู้สึกเหมือนถูกบังคับอีกเช่นกันเมื่อไม่กี่ปีมานี้ ในการตั้งคำถามต่อมิตร ติช นัท
ฮันห์ เกี่ยวกับการเก็บเงินเพื่อเข้าฟังคำสอนของภิกษุเวียดนาม, และแนะนำว่า
ศูนย์ปลีกวิเวกหมู่บ้ามพลัม ในฝรั่งเศส อาจดึงดูดแค่คนรวย และคนยากจนเข้าไม่ถึง. ติช นัท ฮันห์ บอกให้สุลักษณ์ มั่นใจได้ว่า
ไม่เคยมีการเก็บค่าเข้าฟังคำสอนธรรมะของเขา, และไม่มีใครถูกกีดกันออกไป. สุลักษณ์ ได้แนะนำ ติช นัท ฮันห์ ด้วยว่า เขาได้หลุดออกจากคนที่อยู่นอกวงในของเขา,
และ, ว่าอาจจะมีเปลือกหลายชั้นเกินไประหว่างท่านภิกษุกับสาวก, “ว่า
มีแต่การพูดคนเดียวเท่านั้น และไม่มีการเสวนากับนักเรียนของท่าน”.
“A
good friend tells you what you don’t want to hear. We don’t have to agree but I
want to express my concern,” Sulak told Thich Nhat Hanh last year in Bangkok.
“มิตรที่ดีบอกคุณในสิ่งที่คุณไม่ต้องการจะฟัง. เราไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
แต่ผมต้องแสดงออกถึงความห่วงใยของผม”, สุลักษณ์กล่าวต่อ ติช นัท ฮันห์
ปีกลายในกรุงเทพฯ.
“You
see, it is so difficult even to meet with you,” Sulak said. “You are surrounded
by so many people, like guards; and you don’t even know…Perhaps those people
around you won’t criticize or tell you these types of things, but I will
because we are friends for so many years.”
“เห็นไหม, มันยากยิ่งแม้แต่จะพบท่าน”,
สุลักษณ์กล่าว. “ท่านถูกห้อมล้อมด้วยผู้คนมากมาย,
เช่น เหล่าองครักษ์; และท่านก็ไม่รู้ด้วยซ้ำ...บางที คนรอบๆ ตัวท่านเหล่านั้นไม่วิจารณ์ หรือ
บอกท่านถึงเรื่องเหล่านี้, แต่ผมจะบอก เพราะเราเป็นมิตรกันมาหลายปี”.
Thich
Nhat Hanh’s reply, perhaps his own soft-spoken critique of Sulak, was that
Sulak should be better equipped with all the information before openly
criticizing him, or anyone else. Indeed the two elder Buddhist activists’
kalyanamitta goes back decades to when they collaborated to smuggle rice into
Vietnam in the early 1970s, to Sulak staying in Thich Nhat
Hanh’s small apartment in Paris in 1976 when the they were
both in exile, to Sulak first publishing a meditation manual for activists
which would later become the monk’s best selling book, Miracle of Mindfulness.
Sulak’s daily meditation practice is indebted to Thich Nhat Hanh’s personal
instructions. Thich Nhat Hanh has said of his friend, “Sulak Sivaraksa is a
bodhisattva who devotes all of his energies to helping others.”
ในคำตอบของ ติช นัท ฮันห์, อาจเป็นการวิพากษ์อ่อนต่อสุลักษณ์, คือ
สุลักษณ์ควรจะหาข้อมูลติดตัวให้ดีกว่านั้น ก่อนที่จะวิจารณ์ท่านอย่างเปิดเผย,
หรือคนใดคนหนึ่ง. อันที่จริง ความเป็นกัลป์ยาณมิตรของนักรณรงค์ชาวพุทธอาวุโสทั้งสองย้อนหลังไปหลายทศวรรษ
เมื่อพวกเขาร่วมมือกันลักลอบข้าวสู่เวียดนามในต้นทศวรรษ 1970s, จนถึงการที่ สุลักษณ์ ไปอาศัยใน อพาร์ทเมนท์ เล็กๆ ในปารีส ในปี 1976
เมื่อทั้งสองอยู่ในสภาพเนรเทศ, จนถึง สุลักษณ์ พิมพ์ครั้งแรก คู่มือการทำสมาธิสำหรับนักกิจกรรม
ที่ภายหลัง ได้กลายเป็นหนังสือขายดีที่สุดของภิกษุรูปนี้,
มหัศจรรย์ของการตื่นรู้.
การภาวนาสมาธิประจำวันของ สุลักษณ์ เป็นหนี้บุญคุณจากการสอนส่วนตัวของ ติช
นัท ฮันห์. ติช นัท ฮันห์
ได้บอกกับเพื่อนของท่าน, “สุลักษณ์ ศิวรักษ์ เป็นโพธิสัตว์ ผู้อุทิศพละกำลังทั้งหมดของเขาเพื่อช่วยเหลือคนอื่น”.
Sulak
reserves his most pointed criticism for his fellow Buddhists and decries
extravagant rituals and those concerned with titles and shallow ceremony. He
warns against institutionalized elements of Buddhism that offer little
spirituality but rather perpetuate patriarchal hierarchies, myth, superstition,
and insincere rituals—what Sulak calls Buddhism with a capital “B”. Whether it
is government-backed clergy or simply large Buddhist organizations, Sulak sees
the seeds of chauvinism, prejudice, and nationalism being sown when the
Buddhist teachings are used by individuals and groups to advance a
politically-motivated agenda.
สุลักษณ์
กันคำวิจารณ์ที่แหลมคมที่สุดสำหรับเพื่อนชาวพุทธของเขา และ ประณามพิธีกรรมฟุ้งเฟ้อ
และ ความกังวลกับยศถา สมณศักดิ์ และพิธีรีตองตื้นๆ. เขาเตือนเรื่องปัจจัยเชิงสถาบันของศาสนาพุทธ
ที่ให้ผลทางจิตวิญญาณนิดเดียว รังแต่จะพอกพูนความมั่นคงแก่ความเหลื่อมล้ำในสังฆมณฑล,
เทพนิยาย, ไสยศาสตร์, และพิธีกรรมที่ไม่จริงใจ—สิ่งที่ สุลักษณ์ เรียกว่า
ศาสนาพุทธ ที่ขึ้นต้นด้วยอักษร “B” ตัวใหญ่. ไม่ว่าจะเป็นคณะสงฆ์หนุนโดยรัฐบาล หรือ
แค่องค์กรพุทธขนาดใหญ่, สุลักษณ์ เห็นเมล็ดของการยกตนข่มท่าน, ลำเอียง,
และชาตินิยม ที่ถูกหว่าน เมื่อคำสอนพุทธ
ถูกปัจเจกหรือกลุ่มในการขับเคลื่อนวาระซ่อนเร้นทางการเมือง.
Sulak’s
version of kalyanamitta offers, and inspires, loyalty among those with whom he
works; though Sulak’s closest colleagues are not spared his sharp appraisals.
Roshi Joan Halifax has written, “Sulak is a lion. His great roar awakens the
social activist to their real vocation.” However, on numerous occasions, that
roar has been too much and those within Sulak’s inner circle have parted ways.
“I support Sulak in his work; but will do so from afar. I would never work for
him,” is a refrain of numerous prominent Buddhist activists in Thailand.
กัลยาณมิตรฉบับ สุลักษณ์ ได้เสนอ,
และบันดาลใจ, ความจงรักภักดีในบรรดาคนที่เขาทำงานด้วย; แม้ว่า เพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดที่สุดของสุลักษณ์
ก็ไม่วายถูกประเมินอย่างแหลมคม. โรชิ
โจอัน ฮาลิแฟกซ์ ได้เขียนว่า. “สุลักษณ์ เป็นสิงโต.
สีหนาทของเขาปลุกนักรณรงค์สังคมให้ตื่นขึ้นทำอาชีพที่แท้จริงของตน”. แต่หลายๆ ครั้ง, สีหนาทนั้น ก็มากเกินไป
และคนในวงในของ สุลักษณ์ ได้ละลาจากไป. “ฉันสนับสนุนงานของสุลักษณ์; แต่จะทำเช่นนี้ห่างๆ.
ฉันจะไม่ทำงานให้เขา”, เป็นคำกล่าว ซ้ำๆ จากนักรณรงค์พุทธที่โดดเด่นหลายคนในประเทศไทย.
Sulak
admits he has a sizeable ego, and encourages his kalyanamitta to point it out
if he is not walking his talk. Sulak hears regularly from these friends about his
limitations—his temper, impatience, high-handedness, and fondness for red wine.
Even those who are quick to point out Sulak’s apparent failings admit that he
can criticize himself just as quickly as he points out shortcomings in others.
สุลักษณ์ ยอมรับว่า
เขามีอัตตาใหญ่โต, และเชิญชวนให้กัลยาณมิตรของเขาชี้ให้เขาเห็น
หากเขาไม่ได้ทำตามที่เขาพูด. สุลักษณ์
ได้ยินอย่างสม่ำเสมอจากเพื่อนๆ เหล่านี้ ถึงข้อจำกัดของเขา—อารมณ์, ไม่อดทน,
จอมบงการ, และชอบไวน์แดง. แม้แต่พวกที่ด่วนชี้จุดบกพร่องที่เห็นได้ชัดของ
สุลักษณ์ ก็ยอมรับว่า เขาสามารถวิจารณ์ตัวเองได้รวดเร็วพอๆ
กับที่เขาจี้จุดบกพร่องของคนอื่น.
Sulak’s
vision for renewing society in the 21st century
วิสัยทัศน์ของสุลักษณ์เพื่อเริ่มสังคมใหม่ในศตวรรษที่
21
Sulak’s
activism has transformed in the last decade. In previous years he often focused
on defined issues or country-specific problems. Now he struggles against
globalization and what he sees as structural violence. Structural violence,
Sulak writes in his most recent books, The Wisdom of Sustainability, is the
“systematic ways [that] a society’s resources are distributed unequally and
unfairly, preventing people from meeting their basic needs.”
การรณรงค์ของสุลักษณ์
ได้แปรเปลี่ยนไปในทศวรรษที่ผ่านมา.
ในปีก่อนๆ เขามักจะพุ่งไปที่นิยามประเด็นหรือปัญหาที่เฉพาะเจาะจงรายประเทศ. ตอนนี้ เขาดิ้นรนต่อสู้กับโลกาภิวัตน์ และ
สิ่งที่เขาเรียกว่า ความรุนแรงเชิงโครงสร้าง.
ความรุนแรงเชิงโครงสร้าง, ดังที่ สุลักษณ์
เขียนในหนังสือเมื่อเร็วๆ นี้, ปัญญาแห่งความยั่งยืน, คือ ระบบ/กลไก
ที่ทรัพยากรของสังคม ถูกกระจายอย่างไม่เท่าเทียมกัน และไม่เป็นธรรม,
กีดกันประชาชนจากการบรรลุความต้องการขั้นพื้นฐาน”.
To
understand how these structures of suffering are perpetuated, Sulak returns to
the fundamental Buddhist teaching which asserts every individual has within
them seeds of greed, hatred, and delusion—the three poisons. These three
poisons are at the root of our suffering. Through the practice of meditation
and contemplation, the poisons can be rooted out completely and transformed
into generosity, loving-kindness, and wisdom. While this is the classic
Buddhist presentation, Sulak extends these from the individual to world,
socio-economic system and asserts that the three poisons are used immorally by
the rich and powerful.
เพื่อให้เข้าใจว่า โครงสร้างแห่งความทุกข์เหล่านี้
ถูกพอกพูนให้เข้มแข็งอย่างไร, สุลักษณ์ ย้อนกลับไปที่รากฐานของคำสอนพุทธ ที่ยืนหยัดว่า
ทุกๆ ปัจเจก มีภายในตัวพวกเขาเอง เมล็ดพันธุ์แห่ง ความโลภ, ความโกรธ/เกลียด, และ
ความหลง—พิษร้ายสามประการ.
พิษร้ายสามประการนี้ เป็นรากเหง้าของความทุกข์ของเรา. ด้วยการเจริญภาวนาสมาธิ และ วิปัสสนา,
จะถอนรากเหง้าพิษเหล่านี้ทิ้งได้หมดสิ้น และ แปรเปลี่ยนเป็นคนโอบอ้อมอารี,
เมตตากรุณา, และมีปัญญา.
ในขณะที่นี่เป็นการนำเสนอแบบพุทธดั้งเดิม, สุลักษณ์
ต่อยอดยืดออกจากปัจเจกสู่โลก, ระบบสังคม-เศรษฐกิจ และ ยืนหยัดว่า พิษร้ายสามประการ
ถูกใช้อย่างไร้ศีลธรรมโดยคนรวยและทรงอำนาจ.
Sulak
explains that personal greed manifests in society as the insatiable desire for
accumulation, an ever expanding “possessiveness”—in other words, capitalism,
consumerism and natural resources extraction that ignores the limits of the
environment. Secondly, he sees individuals’ seeds of hatred manifest in the
world as militarism. Thirdly, Sulak’s harshest critique is reserved for what he
sees as the peddlers of delusion—advertisers and the main stream media—which he
argues promotes useless products and unwholesome ideas which lead people away
from a meaningful life of contentedness and towards poverty and a sense of
separation.
สุลักษณ์
อธิบายความโลภส่วนตัวที่แสดงออกเป็นรูปเป็นร่างในสังคม ในลักษณะแรงปรารถนาสะสมอย่างถมไม่เต็ม,การ
“ครอบครองเป็นเจ้าของ” ที่มีแต่ขยายกว้างขวางขึ้น—พูดง่ายๆ, ลัทธิทุนนิยม,
ลัทธิบริโภคนิยม และ การสกัดผลาญทรัพยากรธรรมชาติ
ที่เมินเฉยต่อข้อจำกัดของสิ่งแวดล้อม.
ประการที่สอง, เขาเห็นเมล็ดพันธุ์แห่งความโกรธ/เกลียด ในปัจเจกบุคคลทั้งหลาย
ในโลกว่าเป็นลัทธิการทหาร. ประการที่สาม,
คำวิจารณ์ที่รุนแรงที่สุดของ สุลักษณ์ เก็บไว้ให้พวกที่เขาเห็นว่า
เป็นพ่อค้าเร่ขายความหลง—นักโฆษณา และ สื่อมวลชนกระแสหลัก—ที่เขาแย้งว่า ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ไร้ประโยชน์
และ ความคิดแหว่งๆ ที่นำผู้คนให้เดินห่างจากชีวิตที่มีความหมาย สมถะรู้พอเพียง
และมุ่งสู่ความยากจน และ ความรู้สึกแปลกแยกโดดเดี่ยว.
Some
have called Sulak’s provocative and scathing critiques of capitalism and the
media prophetic while others think he is an aging idealist. Still, when global
economics is seen as the only future, Sulak explains, the market place replaces
traditional morals and ethics; refusing to accept this rationale is taken as a
sign of weakness, naivety, and inferiority. Sulak disagrees that the world
today is at the highest mark of human development, because this often unspoken
sentiment prevents the peoples of the world from pursing other aspirations and
from thinking about alternative ways to improve or maintain their livelihood
and traditions.
บางคนเรียก คำวิจารณ์เรื่องลัทธิทุนนิยมที่กวนโทสะและรุนแรง
และ สื่อมวลชน ของ สุลักษณ์ ว่า เป็นคำพยากรณ์สิ่งที่เกิดขึ้น ในขณะที่ คนอื่นๆ
คิดว่า เขาเป็นนักอุดมคติที่เริ่มเข้าสู่ชราภาพ.
เมื่อเศรษฐกิจโลกยังถูกมองว่าเป็นอนาคตอันเดียว, สุลักษณ์ อธิบาย,
ตลาดเข้าแทนที่ ศีลธรรมและจริยธรรมที่ตกทอดกันมาตามประเพณี; การปฏิเสธที่จะยอมรับตรรกะนี้ ถูกถือว่า เป็นสัญญาณของความอ่อนแอ,
ซื่อบื้อ, และต่ำต้อยด้อยกว่า. สุลักษณ์
ไม่เห็นด้วยว่า โลกวันนี้ ยืนอยู่ที่จุดสูงสุดของการพัฒนามนุษย์,
เพราะเจ้าความรู้สึกที่ไม่ได้เอ่ยเอื้อนออกมานี้ ได้กีดกันประชาชนต่างๆ ของโลก
จากการแสวงหาความฝันอื่นๆ และ จากการคิดเกี่ยวกับทางเลือก เพื่อปรับปรุง หรือ
ธำรงวิถีชีวิตและขนบธรรมเนียมประเพณี.
Now
eighty years old, when Sulak speaks about globalization, one senses a profound
sadness for his home country, and for the world.
ตอนนี้ อายุ 80, เมื่อสุลักษณ์พูดเกี่ยวกับโลกาภิวัตน์, คนฟังจะสัมผัสถึงความเศร้าอย่างลึกล้ำ
ต่อประเทศมาตุภูมิของเขาเอง, และต่อโลก.
“The
diverse ways of life worldwide increasingly dance to the same tune of consumer
culture, which insists that ultimate happiness can be achieved by the
never-ending consumption of goods and services,” Sulak says. “This oppressive
environment is like a tightening noose that will squeeze the life out of
meaningful freedom, democracy, and human rights.”
“วิถีชีวิตที่หลากหลายทั่วโลก
กำลังเต้นตามจังหวะเดียวกันของวัฒนธรรมวัตถุนิยมมากขึ้น, ที่ดึงดันว่า
ความสุขสุดยอดจะบรรลุได้ด้วยการบริโภคสินค้าและบริการอย่างไม่มีวันสิ้นสุด”,
สุลักษณ์ กล่าว. “บรรยากาศที่กดขี่นี้
เป็นเหมือนการขันเชนาะห่วงเชือกให้แน่นขึ้น เพื่อบีบรีดชีวิตออกจาก อิสรภาพ,
ประชาธิปไตย, และ สิทธิมนุษยชน ที่มีความหมาย”.
“I
only play a small part because ultimately people have to empower themselves.
Perhaps I can help them by reminding…I don’t have the ability or networking to
destroy consumerism globalization, the World Bank, the World Trade
Organization, or the International Monetary Fund. But if these things don’t
change to serve the people, they will destroy themselves. They have no moral
legitimacy but only greed to drive them, and this will be their downfall.
Meanwhile, I hope that the small people, with alternatives, can survive.
“ผมเล่นบทเล็กนิดเดียวเท่านั้น
เพราะในที่สุด ประชาชนจะต้องเสริมสร้างอำนาจต่อรองตนเอง. บางทีผมสามารถช่วยพวกเขาได้ด้วยการเตือน...ผมไม่มีความสามารถ
หรือ เครือข่ายที่จะทำลายโลกาภิวัตน์บริโภคนิยม, ธนาคารโลก, องค์การค้าโลก, หรือ
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ.
แต่หากสิ่งเหล่านี้ไม่เปลี่ยนแปลงเพื่อสนองประชาชน,
พวกมันก็จะทำลายตัวเอง.
พวกมันไม่มีความชอบธรรมเชิงศีลธรรม มีแต่ความโลภที่ขับดันมัน, และ
นี่จะเป็นจุดลงเหวของพวกมัน.
ในขณะเดียวกัน, ผมหวังว่า ประชาชนตัวเล็กๆ, ที่มีทางเลือก, จะสามารถรอดได้.
Walking
cane in hand and donning traditional Siamese dress, in Sulak’s continuous
worldwide travels, he encourages people, especially the young who are
indoctrinated by capitalist triumphalism and consumerism, to look at the lives
of the spiritual leaders and saints in their own tradition for guidance.
ด้วยไม้เท้าในมือ และ
แต่งชุดสยามดั้งเดิม, ในการเดินทางทั่วโลกอย่างต่อเนื่องของ สุลักษณ์,
เขาเชิญชวนให้ผู้คน, โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หนุ่มสาว
ผู้ถูกปลูกฝังด้วยชัยชนะของทุนนิยม และ บริโภคนิยม, ให้มองดูที่ชีวิตของผู้นำทางจิตวิญญาณ
และ นักบุญ ทั้งหลาย ในขนบธรรมเนียมประเพณีของตน เป็นตัวอย่างนำทาง.
“I
am from a Buddhist country, and the Buddha, like so many wise men of the past
in other cultures, cultivated two important qualities that were the foundation
for spiritual illumination—simplicity and humility.”
“ผมมาจากประเทศพุทธ, และ
พุทธองค์, เหมือนผู้ทรงปัญญาทั้งหลายในอดีตในวัฒนธรรมอื่นๆ, ได้บ่มเพาะคุณสมบัติสำคัญสองประการ
ที่เป็นรากฐานสำหรับการรู้แจ้ง/ตรัสรู้—ความเรียบง่าย และ ความอ่อนน้อมถ่อมตน”.
“When
we begin to develop simplicity in our life, and humility towards others and the
environment, we begin to break free of that oppressive net. Perhaps more
importantly, when we cultivate mindful-awareness alongside simplicity and
humility, we can liberate ourselves completely from our own anger, greed, and
delusion. Through this personal transformation, we begin to see the
interconnectedness between each other and the environment around us. With this
insight, we will begin to find the wisdom in caring for each other, how not to
abuse the earth’s resources, and find respect for other cultures, traditions,
and beliefs.”
“เมื่อเราเริ่มพัฒนาความเรียบง่ายในชีวิตของเรา,
และ ความอ่อนน้อมถ่อมตนต่อผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม,
เราเริ่มสลัดหลุดเป็นอิสระจากห่วงแหที่กดขี่.
บางที ที่สำคัญกว่านั้น, เมื่อเราบ่มเพาะการตื่นรู้-มีสติ พร้อมกับ
ความเรียบง่าย/สมถะ และ ความถ่อมตัว, เราจะสามารถปลดแอกตัวเราเองอย่างสมบูรณ์จาก โกรธ,
โลภ, และ หลง ของเราเองด้วย.
ด้วยวิธีการแปรเปลี่ยนส่วนตัว,
เราจะเริ่มมองเห็นความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างกันและกัน และ สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเรา. ด้วยปัญญาเห็นแจ้งนี้, เราจะเริ่มพบเห็นภูมิปัญญาในการเอื้ออาทรต่อกันและกัน,
จะไม่ละเมิดทรัพยากรของโลกอย่างไร, และ พบเห็นการต่อวัฒนธรรม, ประเพณี,
ความเชื่ออื่นๆ ได้.
Can
individuals make a difference? Are we to reject capitalism? How can we stop a
war? Where do we start to dismantle structural violence and bring about a more
equitable society?
ปัจเจกสามารถทำให้เกิดความแตกต่างได้ไหม? พวกเราต้องปฏิเสธทุนนิยมหรือไม่? เราจะหยุดสงครามได้อย่างไร? เราจะเริ่มต้นทีไหนได้
ในการรื้อถอนโครงสร้างที่รุนแรง และ นำมาซึ่งสังคมที่เท่าเทียมยิ่งขึ้น?
Sulak
begins to answer these questions by stressing individual responsibility and the
cultivation of mindfulness through meditation. On this note, Sulak tends to be
optimistic believing that individuals do have the possibility to alter
humanity’s current course.
สุลักษณ์ เริ่มตอบคำถามเหล่านี้
ด้วยการเน้นที่ความรับผิดชอบส่วนบุคคล และ
การบ่มเพาะสติปัญญาตื่นรู้ด้วยการเจริญภาวนาทำสมาธิ. ในเรื่องนี้, สุลักษณ์มักจะมองโลกในแง่ดี
ด้วยเชื่อว่า ปัจเจกทั้งหลาย มีศักยภาพที่จะเปลี่ยนหนทางปัจจุบันของมนุษยชาติได้.
“Restructuring
political and economic institutions cannot, in themselves, bring about liberation.
Personal transformation is the starting place. Peace can prevail in a society
only when individuals in that society are at peace. When greed, hatred and
ignorance govern our personal affairs, they will also be present in our
society’s institutions, preventing lasting social change. Real security depends
on working on ourselves.”
“การเปลี่ยนโรงสร้างสถาบันการเมืองและเศรษฐกิจ
ไม่สามารถ, ด้วยตัวมันเอง, นำมาซึ่งการปลดปล่อย.
การแปรเปลี่ยนส่วนตัว เป็นจุดเริ่มต้น.
สันติภาพจะยืนยงอยู่ได้ในสังคม ต่อเมื่อปัจเจกบุคคลในสังคมนั้น
มีสันติ. เมื่อ ความโลภ, ความเกลียด และ
ความเขลา เข้าปกครองกิจกรรมส่วนตัว, พวกมันก็จะถูกนำเสนอออกมาในสถาบันของสังคม,
กีดขวางการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างถาวร.
ความมั่นคงที่แท้จริงอยู่ที่การทำงานที่ตัวของพวกเราเอง”.
……..
Matteo
Pistono is a writer, practitioner of Tibetan Buddhism, and author of In the
Shadow of the Buddha: Secret Journeys, Sacred Histories, and Spiritual
Discovery in Tibet. Pistono’s writings and photographs about Tibetan and
Himalayan cultural, political and spiritual landscapes have appeared in the
Washington Post, BBC’s In-Pictures, Men’s Journal, Kyoto Journal, and HIMAL
South Asia. He is the founder of Nekorpa, a foundation working to protect
sacred pilgrimage sites around the world, and he sits on the executive council
of the International Network of Engaged Buddhists, Rigpa Fellowship, and the
Conservancy for Tibetan Art and Culture.
แมททีโอ
พิสโตโน เป็นนักเขียน, นักปฏิบัติพุทธศาสนาสายธิเบต, และ ผู้เขียน
ในร่มเงาของพุทธองค์: การเดินทางที่เร้นลับ, ประวัติศาสตร์ศักดิ์สิทธิ์, และ
การค้นพบทางจิตวิญญาณในธิเบต. งานเขียนและภาพถ่ายของ
พิสโตโน เกี่ยวกับชาวธิเบต และ ภูมิทัศน์ด้านวัฒนธรรม, การเมือง และ จิตวิญญาณ
ของชาวหิมาลัย ปรากฏอยู่ใน วอชิงตันโพสต์, In-Pictures ของ
บีบีซี, วารสารของชาย, วารสารเกียวโต, และ HIMAL South Asia. เขาเป็นผู้ก่อตั้ง Nekorpa, มูลนิธิที่ทำงานเพื่อปกป้องแหล่งจาริกแสวงบุญอันศักดิ์สิทธิ์ทั่วโลก,
และเขาก็ได้เป็นกรรมการในสภาบริหาร ของ International Network of Engaged
Buddhists (เครือข่ายระหว่างประเทศของชาวพุทธที่ไม่หนีโลก),
Rigpa Fellowship, และ Conservancy for Tibetan Art and
Culture (อนุกรักษ์ศิลปะและวัฒนธรรมธิเบต).
http://www.matteopistono.com/
http://nekorpa.org/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น