Report:
Chemicals Most Countries Ban Still Permitted in US Foods
Recent
investigations highlight industry preference in FDA, expose frequent use of
cheap and dangerous additives
-
Lauren McCauley, staff writer
สารเคมีที่ประเทศส่วนใหญ่ห้าม
ยังคงได้รับอนุญาตให้อยู่ในอาหารสหรัฐฯ
การสืบสวนเร็ว นี้ เผยอุตสาหกรรมที่ อย ชอบ,
เปิดโปงการใช้สารเติมแต่งราคาถูกที่อันตราย
-
ลอเรน แมคเคาลีย์
Spawned by a petition calling
on Gatorade to remove a flame retardant from their sports drink, the Chicago Tribune released an investigation into the chemical ingredients
that the United States and the Food and Drug Administration (FDA) are
permitting despite frequent bans elsewhere.
ด้วยคำร้องทุกข์ที่ร้องรียนให้
กาโตเรด ถอนสารดับเพลิงจากเครื่องดื่มสำหรับนักกีฬา, Chicago Tribune
ได้เปิดเผยผลการสอบสวนถึงส่วนประกอบของสารเคมี ที่สหรัฐฯ และ อย
อนุญาตแม้ว่าประเทศอื่นๆ จะห้ามใช้.
New reports raise questions about the validity
of the back-of-the-package information. (Photo: Dan Domme via Flickr)
Mississippi 15-year-old,
Sarah Kavanagh, launched the Change.org petition after learning that
Gatorade contains an emulsifier, brominated vegetable oil (or BVO), which is
illegal to use as a food additive in the European Union, India, Nepal, Canada,
Brazil and Japan because of its connection to reproductive and behavior
problems.
ชาวมิสซิสซิปปี อายุ 15, ซาราห์ คาวานาค์,
ได้ร่อนคำร้องเรียน Change.org petition หลังจากเรียนรู้ว่า
กาโตเรด มีสารทำให้เป็นเนื้อเดียวกัน, น้ำมันผักที่ผ่านกระบวนเติมโบรมีน,
ซึ่งเป็นการละเมิดกฎหมาย หากใช้เป็นสารเติมแต่งใน สหภาพยุโรป, อินเดีย, เนปาล,
แคนาดา, บราซิล และ ญี่ปุ่น
เพราะมันเชื่อมโยงกับปัญหาผิดปกติในระบบสืบพันธุ์และพฤติกรรม.
"In the U.S. money rules
and industry wields a lot of influence and that's how it has been for a
while," said Michael Hansen, senior scientist at the Consumers Union,
"but in Europe they take into serious consideration what their population
wants, too. And why shouldn't the population be concerned about new things
being put into food?"
“ในสหรัฐฯ
เงินตราปกครอง และอุตสาหกรรมกุมอิทธิพลมากมาย และมันก็เป็นเช่นนั้นมานานแล้ว,”
ไมเคิล แฮนเซ็น, นักวิทยาศาสตร์อาวุโส ที่สหภาพผู้บริโภค, กล่าว, “แต่ในยุโรป
พวกเขาคำนึงถึงความต้องการของประชาชนของเขาด้วย.
และทำไมเล่า ประชากรจะไม่ใยดีกับของใหม่ๆ ที่ถูกเติมในอาหาร?”
Whereas other international
authorities tend to err on the side of caution when it comes to evaluating food
additives, in the US new food products "simply need an OK from experts
hired by the manufacturers" giving the FDA the option to investigate later
"if health issues emerge."
ในขณะที่
ผู้มีอำนาจหน้าที่สากล มักจะทำผิดพลาดในการเตือนให้ระวัง
เมื่อเป็นเรื่องประเมินสารเติมแต่งในอาหาร, ในสหรัฐฯ ผลิตภัณฑ์อาหารใหม่ๆ “เพียงแต่ได้รับ
โอเค จากผู้เชี่ยวชาญ ที่โรงงานจ้าง” แล้วปล่อยให้ อย เลือกเอาว่าจะสอบสวนภายหลัง
“เมื่อมีประเด็นสุขภาพเกิดขึ้น”.
Though the FDA's mission is
purportedly "to protect public health by ensuring that foods are safe and
properly labeled," a second examination released Wednesday by the
non-profit food watchdog, the U.S. Pharmacopeial Convention
(USP),
revealed that the amount of food fraud and mislabeled ingredients is up by 60
percent this year.
แม้ว่า
ภารกิจของ อย ตั้งใจให้เป็นไปเพื่อ “ปกป้องสุขภาพสาธารณะ ด้วยการทำให้แน่ใจว่า
อาหารปลอดภัยและมีการติดฉลากที่เหมาะสม,”
รายงานการศึกษาฉบับที่สองที่เผยแพร่ในวันพุธ โดย กลุ่มเฝ้าระวังอาหาร
ที่ไม่ค้ากำไร, U.S. Pharmacopeial Convention (USP), เปิดเผยว่า
จำนวนอาหารหลอกลวง และ การปิดฉลากส่วนประกอบผิดๆ มีถึง 60% ในปีนี้.
In comparison to their
initial Food Fraud Database published in April
2012, the group found a surge in adulterated ingredients in common household
products.
เมื่อเทียบกับรายงานฉบับแรก
“ฐานข้อมูลอาหารหลอกลวง” ที่พิมพ์ในเดือนเมษายน 2012,
ทางกลุ่มได้พบการพุ่งสูงขึ้นของสารประกอบปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สามัญในครัวเรือน.
ABC News reports: Among the most popular targets for
unscrupulous food suppliers--Pomegranate juice, which is often diluted with
grape or pear juice…additional sugar, or just water and sugar.
ข่าว
เอบีซี รายงานว่า ในบรรดาเป้าของการสารปนเปื้อนในอาหาร—น้ำทับทิม,
ที่มักจะทำให้เจือจางด้วยน้ำองุ่นหรือลูกแพร์...เติมน้ำตาล,
หรือเพียงน้ำและน้ำตาล.
[Markus Lipp, senior director
for Food Standards at an independent lab] added that there have also been
reports of completely "synthetic pomegranate juice" that didn't
contain any traces of the real juice.
มาร์คัส
ลิปป์, ผอ อาวุโส ของมาตรฐานอาหาร ที่ห้องแล็บอิสระ, เสริมว่า มีรายงานแจ้ง
ผลิตภัณฑ์ที่ทำจาก “น้ำทับทิมสังเคราะห์ล้วนๆ” ที่ไม่ได้มีเศษของน้ำทับทิมจริงๆ
เลย.
USP tells ABC News that liquids and ground foods in general
are the easiest to tamper with:
·
Olive
oil: often diluted with cheaper oils
·
Lemon
juice: cheapened with water and sugar
·
Tea:
diluted with fillers like lawn grass or fern leaves
·
Spices:
like paprika or saffron adulterated with dangerous food colorings that mimic
the colors
Milk, honey, coffee and syrup
are also listed by the USP as being highly adulterated products.
USP กล่าวในข่าว เอบีซี ว่า ของเหลวและอาหารบดละเอียดโดยทั่วไป
ง่ายต่อการปลอม.
-
น้ำมันมะกอก—มักจะทำให้เจือจางด้วยน้ำมันราคาถูกกว่า
-
น้ำมะนาว—ทำให้ถูกลงด้วยการเติมน้ำและน้ำตาล
-
ชา—ทำให้เจือจางด้วยการเติมหญ้าจากสนามและในเฟิร์น
-
เครื่องเทศ—เช่น paprika และดอกคำฝอย มีการปนสีที่เป็นอันตราย เพื่อปลอมสี
-
นม,
น้ำผึ้ง, กาแฟ และ น้ำเชื่อม ล้วนถูก USP ติดป้ายว่า
เป็นผลิตภัณฑ์ที่ปนเปื้อนสูง
Also high on the list:
seafood. The number one fake being escolar, an oily fish that can cause stomach
problems, being mislabeled as white tuna or albacore, frequently found on sushi
menus.
นอกจากนี้มี
อาหารทะเล. อันดับแรกที่มีการปลอมคือ escolar,
ปลาที่มีน้ำมัน และทำให้ท้องเสียได้, ได้ถูกติดฉลากผิดๆ ว่าเป็นทูน่าขาว หรือ albacore, ซึ่งมักพบในเมนูซูชิ.
Kavanagh, whose personal
dismay launched the Gatorade petition and subsequent investigation, said it
"shows greed" when companies use chemical additives and cheaper
ingredients that could cause health problems. "It shows that they care less about
consumers than about how much money they spend and make," she added.
คาวานาค์,
ด้วยความตกใจกลัวส่วนตัว ได้ร่อนคำร้องเรียน กาโตเรด และนำไปสู่การสอบสวนต่อมา,
กล่าวว่า มัน “แสดงถึงความโลภ” เมื่อบริษัทใช้สารเคมีเติมแต่ง และ
สารประกอบที่ราคาถูกกว่า ที่สามารถทำให้เกิดปัญหาสุขภาพ. “มันแสดงว่า
พวกเขาห่วงใยผู้บริโภคน้อยกว่าจำนวนเงินที่พวกเขาต้องจ่ายไป และ ทำเงินคืนมา,”
เธอกล่าว.
Gatorade has stated that no
changes are planned to its US drink formulation despite the over 200,000
signatures gathered calling for the ban.
กาโตเรด
ได้ระบุว่า ไม่มีแผนจะเปลี่ยนแปลงใดๆ ในสูตรเครื่องดื่มในสหรัฐฯ
แม้ว่าจะมีการระดมลายเซ็นถึง 200,000 ชื่อ
เรียกร้องให้แบนเครื่องดื่มนี้.
ดรุณี แปล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น