วันอาทิตย์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2556

321. วันทนา ศิวะ ดุ รมต เกษตรของอินเดียที่ชี้นำผิดๆ เรื่อง จีเอ็มโอ


321. Vandana Shiva Scolds India’s Minister of Agriculture on Misleading GMO

Response to Sharad Pawar – India’s Agricultural minister on GMOs
Posted on Sunday, October 27th, 2013
ตอบโต้ต่อ ชารัด ปาวาร์--รัฐมนตรีกระทรวงเกษตรของอินเดีย เรื่อง จีเอ็มโอ

Dr. Vandana Shiva                      ดร.วันทนา ศิวะ
26th October 2013                      ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๖
Dear Mr Pawar,                          เรียน คุณปาวาร์

As the NCP leader you have expressed your views in a blog titled “Food for Thought”, posted on your party’s official website.
ในฐานะผู้นำพรรคคองเกรส คุณได้แสดงความเห็นในบล็อก “อาหารเพื่อขบคิด”, โพสต์บนเว็บไซต์ทางการของพรรคของคุณ.
Here are my responses to the questions you have raised in your blog about GMOS
นี่เป็นคำตอบโต้ของดิฉันต่อคำถามที่คุณได้ยกขึ้นมาในบล็อกของคุณเกี่ยวกับ จีเอ็มโอ.
You say “I am not a scientist. But as a farmer, I would like my friends opposing the GM technology to answer some of my queries. For instance, is it not a fact that GM technology substantially curtails the requirement of fertilizers and pesticides?”
คุณบอกว่า “ผมไม่ใช่นักวิทยาศาสตร์.  แต่ในฐานะเกษตรกร, ผมใคร่ขอให้เพื่อนของผมที่ต่อต้านเทคโนโลยี จีเอ็ม ช่วยตอบคำถามของผมหน่อย.  เช่น, มันไม่เป็นความจริงหรอกหรือที่ว่า เทคโนโลยี จีเอ็ม ช่วยลดการใช้ปุ๋ยและยาฆ่าแมลงอย่างมาก?”
No Mr Pawar, both fertilizer use and pesticide use goes up with GMOs. Our studies in Vidharba show a 13 fold increase in pesticide use on Bt cotton, because of the emergence of non target pests, and because of emergence of resistance in bollworm, the target pest.
ไม่เลย คุณปาวาร์, ต้องใช้ทั้งปุ๋ยและยาฆ่าแมลงเพิ่มขึ้นกับ จีเอ็มโอ.  การศึกษาของเราใน วิธารพา แสดงให้เห็นว่า ต้องใช้ยาฆ่าแมลงเพิ่มขึ้น ๑๓ เท่าใน ฝ้าย บีที, เพราะการอุบัติขึ้นของแมลงที่ไม่ได้ถูกเล็งฆ่า, และเพราะการอุบัติขึ้นหนอนโบลล์ดื้อยา, ซึ่งเป็นแมลงที่ตั้งใจฆ่า.
You also said.

”Second, is it not a fact that we might be consuming oil made out of GM soya produced in the US? But, we aren’t willing to benefit from the same technology on our own soil. Why?”
คุณได้กล่าวด้วยว่า “ประการที่สอง, มันไม่เป็นความจริงหรอกหรือที่ว่า เราอาจกำลังบริโภคน้ำมันที่สกัดจากถั่วเหลือง จีเอ็ม ผลิตในสหรัฐฯ?  แต่, เรากลับไม่ยินดีที่จะได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยีเดียวกันบนแผ่นดินของเรา.  ทำไม?”
I would like to inform you Mr Pawar that when zero duty soya oil imports were allowed in 1998 and our edible oils were banned, we started a Sarson Satyagraha. People do not consume soya oil because they like it, but because the US govt and your govt sudsidise it. In 1998 when international price of soya was $150 a ton, the US subsidy was $190 a ton. And Mr Chidambaram had added a domestic subsidy of Rs 15 for the PDS. If you subsidized healthy oils like mustard, sesame, groundnut, coconut, that is what Indians would be using, as they have used for centuries. It was the slum women of Delhi who refused to eat soya and wanted the mustard back. You are pushing GMO soya oil on Indians.
ดิฉันขอเรียนต่อคุณ คุณปาวาร์ ว่า เมื่อการสั่งเข้าน้ำมันถั่วเหลืองมีการอนุญาตให้ยกเลิกภาษี ในปี ๒๕๔๑ และ น้ำมันกินได้ของเราถูกห้ามขาย/ใช้, พวกเราได้เริ่มคัดค้านแบบอหิงสา (สาร์สอน สัตยาครหะ).  ประชาชนไม่บริโภคน้ำมันถั่วเหลืองเพราะพวกเขาชอบมัน, แต่เพราะรัฐบาลสหรัฐฯ และ รัฐบาลของท่านสนับสนุนมันทางการเงิน.  ในปี ๒๕๔๑ เมื่อราคานานาชาติของถั่วเหลืองเป็น $150/ตัน, สหรัฐฯ สนับสนุนทางการเงินเป็น $190/ตัน.  และ คุณจิดัมพารัม ได้เติมการอุดหนุนในประเทศอีก Rs 15 ให้กับ PDS.  หากคุณให้เงินอุดหนุนน้ำมันดี เช่น มัสตาด, งา, ถั่วดิน, มะพร้าว, นั่นจะเป็นน้ำมันที่ชาวอินเดียจะใช้, อย่างที่ได้ใช้กันมาหลายศตวรรษ.  มันเป็นผู้หญิงสลัมในเดลฮี ที่ปฏิเสธ ไม่ยอมกินถั่วเหลือง และ ต้องการมัสตาดคืนมา.  คุณกำลังยัดเยียดน้ำมันถั่วเหลือง จีเอ็มโอ ให้ชาวอินเดีย.
You have asked,Is it not a fact that GM technology has increased the food production four-fold, reducing the need of additional land, thereby protecting the green cover,”
คุณถามว่า, “มันไม่เป็นความจริงหรอกหรือที่ว่า เทคโนโลยี จีเอ็ม ได้เพิ่มผลิตภาพอาหารสี่เท่าตัว, ลดความต้องการใช้ที่ดินเพิ่ม, ดังนั้น ช่วยปกป้องแผ่นดินสีเขียว”.
No Mr Pawar, GMO technology has not increased food production at all. The Union for Concerned Scientists study “Failure to yield” has shown that there is no increase in yield through GMO technology. The yields of Bt cotton are declining. Yield is not a function of GMO technology, but comes from the plant into which the new genes of Bt or Round Up Resistance are added. Yield is a multigenetic trait. Genetic engineering can only deal with single gene traits, like putting toxic genes into plants.
ไม่เลย คุณปาวาร์, เทคโนโลยี จีเอ็มโอ ไม่ได้เพิ่มผลิตภาพของอาหารเลย.  งานศึกษาของ สหภาพนักวิทยาศาสตร์ผู้ห่วงใย “ผลผลิตที่ล้มเหลว” ได้แสดงให้เห็นว่า ไม่มีผลผลิตเพิ่มขึ้นจากเทคโนโลยี จีเอ็มโอ.  ผลผลิตจากฝ้ายบีทีกำลังลดลง.  ผลผลิต ไม่ใช่หน้าที่ของเทคโนโลยี จีเอ็มโอ, แต่มาจากต้นไม้ ที่ถูกเติมพันธุกรรมใหม่ของ บีที หรือ การดื้อราวน์อัพ.  ผลผลิตมีลักษณะหลากพันธุกรรม.  วิศวพันธุกรรมสามารถจัดการได้แค่ลักษณะพันธุกรรมเดี่ยว, เช่น การเติมพันธุกรรมพิษลงในพืช.
You write “My only contention is that let us not kill this promising science by placing arbitrary bans on its trials. Let the scientific community get the freedom to conduct its experiments on this technology with the strictest possible regulatory framework in place. Is this asking for too much?”
คุณเขียนว่า “ข้อโต้เถียงเพียงประการเดียวของผม คือ ขอเราอย่าฆ่าวิทยาศาสตร์ที่มีอนาคตนี้ ด้วยการคว่ำบาตรตามอำเภอใจกับการทดลองมัน.  ขอให้ประชาคมวิทยาศาสตร์มีอิสรภาพในการทำการทดลองเทคโนดลยีนี้ด้วยการใช้การควบคุมที่เข้มงวดที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้.  นี่เป็นคำขอที่มากไปหรือ?”
The Supreme courts technical Expert committee has asked for regulation to be tightened, and meantime a moratorium should be put. This is a scientific imperative. Good scientists should not be afraid of more research on safety. It is scientists whose careers are based on partnership with industry who panic when Biosafety is strengthened. That is why there is an attempt to undermine our Biosafety laws and replace them with BRAI. And there is not one scientific community, but many. The big division is pro industry scientists, and scientists independent of industry. In science as in any other field, freedom must be bounded by social and ecological responsibility. Neither corporations, nor scientists, nor politicians have an absolute freedom to destroy life, of humans or other species.
คณะกรรมการผู้ชำนาญการทางเทคนิคของศาลสูงสุด ได้ขอให้เพิ่มการควบคุมให้เข้มงวดขึ้น, และในเวลาเดียวกัน ให้กำหนดการพักชั่วคราว.  นี่เป็นข้อบังคับทางวิทยาศาสตร์.  นักวิทยาศาสตร์ที่ดีไม่ควรกลัวที่จะทำการวิจัยเพิ่มขึ้นในด้านความปลอดภัย.  มีแต่นักวิทยาศาสตร์ที่อาชีพของตน ขึ้นอยู่กับการเป็นหุ้นส่วนกับอุตสาหกรรม ผู้ตื่นตระหนก เมื่อความปลอดภัยต่อชีวิตเข้มงวดขึ้น.  นั่นเป็นเหตุผลว่า ทำไมจึงมีความพยายามบ่อนทำลายกฎหมายความปลอดภัยต่อชีวิต และแทนที่มันด้วย BRAI.  และไม่ใช่มีเพียงหนึ่งประชาคมวิทยาศาสตร์, แต่หลาย.  มีการแบ่งแยกใหญ่หลวง ระหว่าง นักวิทยาศาสตร์ที่ชอบอุตสาหกรรม, และ นักวิทยาศาสตร์ที่เป็นอิสระจากอุตสาหกรรม.  ในวงการวิทยาศาสตร์ เช่นในสาขาอื่นๆ, อิสรภาพจะต้องอยู่ในกรอบของความรับผิดชอบต่อสังคมและนิเวศ.  ไม่ว่าบรรษัท, หรือนักวิทยาศาสตร์, หรือนักการเมือง ไม่มีใครมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการทำลายชีวิต, ของมนุษย์ หรือ ของสายพันธุ์ใดๆ.
You have celebrated the spread of Bt cotton in your blog. You have said, “I believe that a farmer is the best judge to decide on the adoption of a new concept or ideology. Let me tell you that 90 per cent of the India’s cotton farmers have already adopted the GM technology”.
คุณได้เฉลิมฉลองการเผยแพร่ฝ้ายบีทีในบล็อกของคุณ.  คุณบอกว่า, “ผมเชื่อว่า เกษตรกรเป็นผู้พิพากษาที่ดีที่สุดที่จะตัดสินใจยอมรับกรอบคิดใหม่ หรือ อุดมการณ์.  ขอให้ผมบอกคุณว่า 90% ของเกษตรฝ้ายของอินเดีย ได้ใช้เทคโนโลยี จีเอ็ม แล้ว”.
There is not a word in your blog on the tragedy of farmers’ suicides in the cotton areas. Your state, Maharashtra is the capital of Bt Cotton, and the capital of farmers’ suicides. In the past decade as the suicides have taken epidemic form, there has not been one word on this crisis from you. And all you do is celebrate the Bt cotton that got the farmers into debt, due to the high royalty extracted by Monsanto. And farmers are not choosing Monsanto’s seeds. All other options have been destroyed. It is not profits, but deliberate destruction of alternatives that have pushed farmers into the Bt cotton trap, and as a consequence in the suicide trap. Farmers’ varieties are displaced through the very clever strategy of “seed replacement”. You tried to introduce a Seed Law on Seed Replacement and compulsory licensing in 2004. We had to undertake a Seed Satyagraha to stop the law and prevent the destruction of our rich agrobiodiversity and farmers varieties, and the freedom of our farmers to save and exchange their seeds freely.  Public varieties have mysteriously stopped being released from the Central Cotton Research Institute based in Nagpur. And most Indian companies are locked into licensing arrangements with Monsanto, and can only sell Monsanto’s Bollgard Bt cotton seeds. This Monopoly over cotton seed has grown during your tenure as agriculture Minister.
ไม่มีแม้แต่คำเดียวในบล็อกของคุณที่พูดถึงโศกนาฏกรรมของเกษตรกรฆ่าตัวตายในพื้นที่ฝ้าย.  รัฐของคุณ, มหารัษตรา, เป็นเมืองหลวงของฝ้ายบีที, และ เมืองหลวงของเกษตรกรฆ่าตัวตาย.  ในทศวรรษที่ผ่านมาในขณะที่การฆ่าตัวตายได้กลายเป็นโรคระบาด, ไม่มีแม้แต่คำเดียวเกี่ยวกับวิกฤตนี้จากคุณ.  แล้วทั้งหมดที่คุณทำ คือ เฉลิมฉลอง ฝ้ายบีที ที่ทำให้เกษตรกรตกหล่มหนี้, เพราะมอนซานโตรีดไถค่าลิขสิทธิ์สูง.  และเกษตรกรไม่ได้เลือกเมล็ดของมอนซานโต.  ทางเลือกอื่นทั้งหมดได้ถูกทำลายไปหมดสิ้น.  มันไม่ใช่กำไร, แต่เป็นการทำลายล้างทางเลือกต่างๆ อย่างจงใจ ที่ได้ผลักไสให้เกษตรกรเข้าไปติดกับดักฝ้ายบีที, และผลคือ กับดักให้ฆ่าตัวตาย.  สายพันธุ์ฝ้ายของเกษตรกรถูกแทนที่ด้วยยุทธศาสตร์ที่ชาญฉลาดมากๆ ของ “การทดแทนเมล็ด”.  คุณได้พยายามนำ กฎหมายเมล็ดพันธุ์ ให้ใช้กับ การทดแทนเมล็ดพันธุ์ และ การออกใบอนุญาตภาคบังคับในปี ๒๕๔๗.  พวกเราต้องทำการประท้วงแบบอหิงสา สัตยาครหะเมล็ด ให้ยุติกฎหมายนั้น และ ขัดขวางการทำลายล้างความอุดมสมบูรณ์ของความหลากหลายทางชีวภาพเชิงเกษตร และ สายพันธุ์พืชของเกษตรกร, และอิสรภาพของเกษตรกรของเราในการเก็บรักษาและแลกเปลี่ยนเมล็ดอย่างเสรี.   เมล็ดสาธารณะได้หยุดการจ่ายอย่างลึกลับจากสถาบันวิจัยฝ้ายส่วนกลาง ที่ตั้งอยู่ที่เมือง นาคบุร.  และบริษัทอินเดียส่วนใหญ่ถูกต้อนให้ทำสัญญากับมอนซานโต, และขายได้เพียงเมล็ดฝ้ายโบลล์การ์ด บีที ของมอนซานโต.  การผูกขาดเมล็ดฝ้ายได้ขยายตัวในระหว่างที่คุณดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีเกษตร.
You have also written “With the intervention such as bio-fortified rice with pro-vitamin A, iron and zinc, GM technology provides farmers with an intervention-free technology.”
 คุณยังได้เขียนอีกว่า “ด้วยการแทรกแซง เช่น การเติมวิตามิน เอ, ธาตุเหล็ก และ สังกะสี ในข้าว, เทคโนโลยี จีเอ็ม ได้ให้เทคโนโลยีที่ไม่ต้องแทรกแซงเติมสารเพิ่ม แก่เกษตรกร”.
Unfortunately, GMO Golden Rice fortified with vit A is far less efficient than our rich biodiversity in addressing vit A deficiency. A far more efficient route to removing vit. A deficiency is biodiversity conservation and propagation of naturally vit. A rich plants in agriculture and diets. Table below gives sources rich in vit. A used commonly in Indian foods.
โชคร้าย, ข้าวทอง จีเอ็มโอ ที่เติมวิตามิน เอ มีประสิทธิภาพด้อยกว่า ความหลากหลายทางชีวภาพอันรุ่มรวยของเราในการแก้ปัญหาการขาดวิตามิน เอ.  วิธีขจัดปัญหาการขาดแคลนวิตามิน เอ ที่มีประสิทธิภาพยิ่งกว่ามาก คือ การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และ การใช้พืชที่อุดมวิตามิน เอ ตามธรรมชาติ ในการเพาะปลูก และ โภชนาการ.  ตารางต่อไปนี้ แสดงแหล่งอาหารที่อุดมวิตามิน เอ ที่ใช้เป็นปกติในอาหารของชาวอินเดีย.

Sources rich in vit. A used commonly in Indian foods.
Source
Hindi name
Content (microgram/100g)
Amaranth leaves
Chauli saag
266-1,166
Coriander leaves
Dhania
1,166-1,333
Cabbage
Bandh gobi
217
Curry leave
Curry patta
1,333
Drumstick leaves
Saijan patta
1,283
Fenugreek leaves
Methi-ka-saag
450
Radish leaves
Mooli-ka-saag
750
Mint
Pudhina
300
Spinach
Palak saag
600
Carrot
Gajar
217-434
Pumpkin (yellow)
Kaddu
100-120
Mango (ripe)
Aam
500
Jackfruit
Kathal
54
Orange
Santra
35
Tomato (ripe)
Tamatar
32
Milk (cow, buffalo)
Doodh
50-60
Butter
Makkhan
720-1,200
Egg (hen)
Anda
300-400
Liver (Goat, sheep)
Kalegi
6,600–10,000
Cod liver oil

10,000–100,000
  
The lower cost, accessible and safer alternative to genetically engineered rice is to increase biodiversity in agriculture. Further, since those who suffer from vitamin A deficiency suffer from malnutrition. Generally, increasing the food security and nutritional security of the poor through increasing the diversity of crops and diversity of diets of poor people who suffer the highest rates of deficiency is the reliable means for overcoming nutritional deficiencies.
 ทางเลือกที่ต้นทุนต่ำกว่า, เข้าถึง และ ปลอดภัยกว่า ข้าวที่ผ่านกระบวนวิศวพันธุกรรม (จีอี) คือ การเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพในเกษตรกรรม.  ยิ่งกว่านั้น, เมื่อพวกที่ขาดแคลนวิตามิน เอ ก็ขาดสารอาหารด้วย.  โดยทั่วไป, การเพิ่มความมั่นคงทางอาหาร และ ความมั่นคงทางสารอาหารของคนยากจน ด้วยการเพิ่มความหลากหลายของพืช และ ความหลากหลายของโภชนาการของคนยากจนที่มีอัตราการขาดสารอาหาร เป็นหนทางที่พึ่งได้ในการเอาชนะการขาดสารอาหาร.
Sources of Vitamin A in the form of green leafy vegetables are being destroyed by the Green Revolution and Genetic Engineering which promotes the use of herbicides in agriculture. The spread of herbicide resistant crops will further aggravate this biodiversity erosion with major consequences for increase in nutritional deficiency. For example, bathua, a very popular leafy vegetable in North India, has been pushed to extinction in Green Revolution areas, where intensive herbicide use is a part of the chemical package.
แหล่งของวิตามิน เอ ในรูปของผักใบเขียวได้ถูกทำลายด้วยปฏิวัติเขียว และ วิศวพันธุกรรม ที่ส่งเสริมการใช้ยากำจัดวัชพืชในเกษตรกรรม.  การแพร่ขยายของพืชดื้อยากำจัดวัชพืชจะเร่งการกัดกร่อนความหลากหลายทางชีวภาพ ส่งผลให้เพิ่มอาการขาดสารอาหารมากยิ่งขึ้น.  เช่น, bathua, ผักใบยอดนิยมในอินเดียเหนือ, ถูกขับไสจนสูญพันธุ์ไปในบริเวณปฏิวัติเขียว, ที่ใช้ยากำจัดวัชพืชอย่างเข้มข้น เป็นส่วนหนึ่งของชุดสารเคมี.
Through what you call an “intervention free technology”, you are promoting a model of agriculture in which there are many interventions, but all interventions are made by corporations like Monsanto. They intervene in the plant by adding toxic genes through genetic engineering, they intervene by claiming patents and collecting royalty on seed, they intervene in farmers’ lives through trapping them in debt and pushing them to suicide, they intervene politically through you. This is heavy intervention, not intervention free. It is the farmers whose intervention you do not want to promote. We work to see more farmers’ intervention in decisions about agriculture, in looking after the soils through Organic Farming, in exercising Bija Swaraj, Seed Sovereignty, in living a life of freedom and dignity.
ด้วยสิ่งที่คุณเรียกว่า “เทคโนโลยีที่ไร้การแทรกแซง”, คุณกำลังส่งเสริมโมเดลเกษตรกรรมที่มีการแทรกแซงหลายอย่าง, แต่การแทรกแซงทั้งหมด กระทำโดยบรรษัทเช่น มอนซานโต.  พวกเขาแทรกแซงในพืช ด้วยการเติมพันธุกรรมพิษผ่านกระบวนวิศวพันธุกรรม, พวกเขาแทรกแซงด้วยการอ้างสิทธิบัตร และ เก็บค่าภาคหลวงเมล็ด, พวกเขาแทรกแซงในชีวิตของเกษตรกรด้วยการดักจับพวกเขาให้ติดหนี้ และ ผลักไสให้พวกเขาต้องฆ่าตัวตาย, พวกเขาแทรกแซงทางการเมืองผ่านคุณ.  นี่เป็นการแทรกแซงอย่างหนักหน่วง, ไม่ใช่ไร้การแทรกแซง.  มันเป็นเกษตรกรที่คุณไม่ต้องการส่งเสริมการแทรกแซง.  พวกเราทำงานเพื่อให้เกษตรกรสามารถแทรกแซงได้มากยิ่งขึ้นในการตัดสินใจเกี่ยวกับเกษตรกรรม, ในการดูแลดินของพวกเขาด้วยเกษตรอินทรีย์, ในการกระทำ พีชสวาราช, อธิปไตยเมล็ด, ในการดำรงชีวิตอย่างอิสระและมีศักดิ์ศรี.
The choice is clear. It is the freedom of Corporations like Monsanto Vs the freedom of our small farmers.
ทางเลือกแจ่มชัด.  มันเป็นอิสรภาพของบรรษัทเช่น มอนซานโต พบ อิสรภาพของเกษตรกรรายย่อยของเรา.
So far you have betted for Monsanto.
ถึงบัดนี้ คุณได้วางเดิมพันให้มอนซานโต.
As Agriculture Minister of India, I hope you will remember that it is India’s soil, our seeds, and our farmers you are meant to protect.
ในฐานะรัฐมนตรีเกษตรของอินเดีย, ดิฉันหวังว่า คุณจะยังจำได้ว่า มันเป็นดินของอินเดีย, เมล็ดของเรา, และ เกษตรกรของเรา ที่ (โดยตำแหน่งหน้าที่) คุณควรจะปกป้อง.
ดรุณี แปล

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น