วันจันทร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2556

309. อำนาจรัฐ+ทุน ที่เหนือกว่า จะให้ความเป็นธรรมได้ไหมในการสร้างเขื่อนในป่าอเมซอน?


309.  Can Superior Power of State+Capital Deliver Justice in Amazon Daming?

Q&A: Room for Negotiation in Decisive Battle over the Amazon
ถาม&ตอบ: พื้นที่สำหรับการต่อรองในศึกตัดสินชะตาอเมซอน
-มาริโอ โอซาวา

Mario Osava interviews PEDRO BARA, head of the WWF Living Amazon Initiative’s Infrastructure Strategy
มาริโอ โอซาวา สัมภาษณ์ เปโดร บารา, หัวหน้า ยุทธศาสตร์โครงสร้างพื้นฐาน ของโครงการอเมซอนที่มีชีวิต ของ WWF
The circles show possible hydropower dams in the Tapajós river watershed. The colour indicates the level of impact of each dam, from very high (dark red) to low (yellow). Credit: Courtesy WWF-Brazil
วงกลมแสดงเขื่อนพลังน้ำที่เป็นไปได้ใน ลุ่มน้ำทาปาโฮส์.  สีระบุระดับผลกระทบของแต่ละเขื่อน, แดงเข้ม—สูงมาก ถึง เหลือง—ต่ำ.

SÃO PAULO , Sep 5 2013 (IPS) – Everything indicates that the decisive battle between harnessing hydropower and preserving the Amazon will play out in the Tapajós river basin in Brazil. At stake there are a potential of nearly 30,000 MW and a vital part of the Amazon rainforest.
ทุกอย่างชี้ว่า ศึกตัดสินระหว่างการตักตวงพลังน้ำ และ การสงวนอเมซอน จะขึ้นสังเวียนในลุ่มน้ำ ทาปาโฮส์ ในบราซิล.  เดิมพัน คือ ศักยภาพพลังงานเกือบ ๓๐,๐๐๐ เมกกะวัตต์ และ ส่วนพื้นที่ๆ สำคัญยิ่งต่อชีวิตของป่าดงดิบอเมซอน.
Eight of the 42 possible dams included in the government’s energy expansion plan up to 2021 are in that area.
The Tapajós river is one of the biggest tributaries of the Amazon river, in northern Brazil. Its watershed is more sparsely populated – just one million people in an area of 50 million hectares – than other areas where hydroelectric dams are being built, such as Belo Monte on the Xingú river.
แปดใน ๔๒  เขื่อน ที่รวมอยู่ในแผนการขยายพลังงานของรัฐบาลถึงปี ๒๕๖๔ อยู่ในบริเวณนี้.  แม่น้ำ ทาปาโฮส์ เป็นหนึ่งในสาขาที่ใหญ่ที่สุดของแม่น้ำอเมซอน, ในภาคเหนือของบราซิล.  ต้นน้ำของมันไม่ค่อยมีคนอาศัยอยู่มาก—เพียง ๑ ล้านคนในพื้นที่ ๕๐ ล้านเฮคเตอร์—น้อยกว่าบริเวณอื่นที่มีการสร้างเขื่อนพลังน้ำ, เช่น เบโลมอนเต บนแม่น้ำ Xingú.
Pedro Bara talking to activists and indigenous representatives. Credit: Denise Oliveira/WWF Living Amazon Initiative
เปโดร บารา พูดกับนักกิจกรรมและผู้แทนชนพื้นเมืองดั้งเดิม

For that reason the Brazilian government has promised to build them there without land access, transporting staff, equipment and material by air, and to reforest depleted quarries after construction is completed.
ด้วยเหตุผลดังกล่าว รัฐบาลบราซิลได้สัญญาว่าจะสร้างเขื่อนที่นั่น ที่ไม่มีทางเข้าถึงทางบก, จะขนส่งพนักงาน, อุปกรณ์และวัสดุทางอากาศ, และ จะปลูกป่าในบริเวณที่ขุดหินมาใช้ หลังจากการก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์ลง.
But the promises have not dissuaded the Mundurukú indigenous people from fighting against dams in the Amazon jungle.
แต่สัญญานี้ ไม่ได้ยับยั้งการดิ้นรนต่อสู้ของ ประชาชนพื้นเมืองดั้งเดิม มุนดูรูกุ ที่ต่อต้านเขื่อนในป่าอเมซอน.
There is also gold in that area, which means garimpeiros – illegal gold miners – are active along the Tapajós river, which is set to become the best route for transporting agribusiness products from the western state of Mato Grosso, Brazil’s biggest soy producer, if plans for an industrial waterway go ahead.
ยังมีทองในพื้นที่นั้นด้วย, ซึ่งหมายถึง การิมไปโรส—การขุดเหมืองทองอย่างผิดกฎหมาย—รุกคืบตามทางของแม่น้ำทาปาโฮส์, ซึ่งถูกกำหนดให้กลายเป็นเส้นทางที่ดีที่สุดในการขนส่งผลผลิตธุรกิจเกษตรจากรัฐตะวันตกของ มาโต โกรสโซ, แหล่งผลิตถั่วเหลืองใหญ่ที่สุดของบราซิล, หากแผนสำหรับทางน้ำอุตสาหกรรมเดินหน้าได้.
According to the World Wildlife Fund-Brazil (WWF-Brazil), the only way to protect essential ecosystems and species is by preserving a large central bloc of jungle and other smaller areas in the Tapajós watershed, while leaving open the Jamanxim river, one of its main tributaries.
ตามความเห็นของกองทุนสัตว์ป่าโลก-บราซิล (WWF-Brazil), ทางเดียวที่จะปกป้องระบบนิเวศและสายพันธุ์ที่สำคัญยิ่งยวด คือ คุ้มครองใจกลางป่าผืนใหญ่ และ ผืนเล็กกว่าในลุ่มน้ำ ทาปาโฮส์, ในขณะที่ปล่อยให้แม่น้ำ จามานซิม, หนึ่งในสาขาหลัก, เปิด.
WWF developed a methodology for defining priority environmental areas which, if used in the Tapajós watershed, could serve as a basis for negotiations to help work out the conflicts and come up with better decisions concerning hydropower dams.
WWF ได้พัฒนาวิธีการนิยามการจัดลำดับความสำคัญของพื้นที่สิ่งแวดล้อม ซึ่ง, หากใช้ในลุ่มน้ำทาปาโฮส์, สามารถใช้เป็นพื้นฐานสำหรับการต่อรองเพื่อช่วยแก้ไขความขัดแย้ง และ หาทางออกสู่การตัดสินใจเกี่ยวกับเขื่อนพลังน้ำที่ดีกว่า.
This was explained by Pedro Bara, head of the WWF Living Amazon Initiative’s Infrastructure Strategy, in the second part of this interview with IPS. Read the first part here.
นี่เป็นคำอธิบายของเปโดร บารา, หัวหน้า ยุทธศาสตร์โครงสร้างพื้นฐาน ของโครงการอเมซอนที่มีชีวิต ของ WWF ในบทสัมภาษณ์ภาคสอง. 

Q: You are calling for the preservation of 30 percent of each one of 423 land and 299 aquatic ecosystems identified in the Amazon rainforest, as a basis for negotiating the expansion of hydroelectric dams without irrecoverable environmental losses. How would that be applied in the Tapajós river basin?
ถามคุณเรียกร้องให้สงวนป่า ๓๐ เปอร์เซ็นต์ของแต่ละพื้นที่ของ ๔๒๓ ดินแดน และ ระบบนิเวศน้ำ ๑๙๙ แห่ง ที่ถูกระบุในป่าดิบอเมซอน, ให้เป็นพื้นฐานในการต่อรองเพื่อขยายเขื่อนพลังน้ำโดยไม่ให้มีการสูญเสียสิ่งแวดล้อมชนิดที่ไม่มีทางฟื้นคืนได้.  อันนั้นจะนำมาใช้กับลุ่มน้ำทาปาโฮส์ได้อย่างไร?
A: In Amazonia, given the scant knowledge about the broad range of biodiversity, we make an approximation. In the case of Tapajós we were able to define a “Noah’s ark”, with 93 land and 28 aquatic ecosystems, 46 species of birds, 17 mammals and 37 fish, as well as 20 aquatic habitats, defined by world-renowned experts.
ตอบ:  ในดินแดนอเมซอน, ด้วยเรามีความรู้น้อยมากเกี่ยวกับปริมาณความหลากหลายทางชีวภาพที่นั่น, เราได้แต่ประมาณการ.  ในกรณีของทาปาโฮส์ เราสามารถนิยาม “เรือโนอาห์” ได้ว่าประกอบด้วย ดินแดน ๙๓ แห่ง และ ระบบนิเวศน้ำ ๒๘ แห่ง, นก ๔๖ สายพันธุ์, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ๑๗ และ ปลา ๓๗, ตลอดจน ที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ ๒๐ แห่ง, ดังที่ผู้เชี่ยวชาญที่รู้จักทั่วโลกได้นิยามไว้.
Soil use and the expansion of agriculture and garimpeiro mining were also analysed and it was concluded that 22 percent of the territory is degraded. But 22 percent is covered by protected areas and 20 percent by indigenous reserves.
การใช้ที่ดินและการขยายเกษตรกรรม และ ขุดเหมืองทองเถื่อน (การิมไปโร) ได้นำมาวิเคราะห์ด้วย และ ได้สรุปว่า พื้นที่ ๒๒ เปอร์เซ็นต์เข้าขั้นเสื่อมโทรม.  แต่ ๒๒ เปอร์เซ็นต์ อยู่ในเขตคุ้มครอง และ ๒๐ เปอร์เซ็นต์ อยู่ในเขตสงวนพื้นเมืองดั้งเดิม.
The evaluation takes into account the size of the dam, forest conservation and sustainable use units, and indigenous lands.
การประเมินนี้ ได้คำนึงถึง ขนาดของเขื่อน, หน่วยป่าอนุรักษ์และการใช้(ทรัพยากรป่า) ที่ยั่งยืน, และดินแดนพื้นเมืองดั้งเดิม.

Q: And what conclusions were reached through the use of the tool you developed and the data collected?
ถามแล้วข้อสรุปได้บอกอะไร จากการใช้เครื่องมือที่คุณได้พัฒนาขึ้น และ ข้อมูลที่เก็บมาได้?
A: What we want to conserve as a minimum is this large central bloc [Bara points on a map to an area around the spot where the Juruena and Teles Pires rivers converge, where the Tapajós river is born, and where at least four dams are planned].
ตอบ:  สิ่งที่เราต้องการอนุรักษ์เป็นอย่างน้อยที่สุด คือ ใจกลางผืนใหญ่ [บาราชี้ไปที่แผนที่ บริเวณที่แม่น้ำ Juruena และ Teles Pires ไหลมาบรรจบกัน, จุดกำเนิดของแม่น้ำ ทาปาโฮส์, และที่ๆ อย่างน้อยมีแผนจะสร้าง ๔ เขื่อน].
The central bloc of the Tapajós river basin, whose preservation is essential. The black triangles indicate planned hydroelectric dams. The areas marked in light and dark blue show the size of the reservoirs. Credit: Courtesy WWF-Brazil
ใจกลางป่าผืนใหญ่ของลุ่มน้ำทาปาโฮส์, ที่ซึ่งจำเป็นยิ่งยวดต้องสงวน.  จุดสามเหลี่ยมดำ ชี้ตำแหน่งเขื่อนพลังน้ำตามแผน.  จุดสีฟ้าอ่อนและเข้ม แสดงขนาดของอ่างเก็บน้ำ.

The other areas selected are marked with these green spots. Some dams are unacceptable, like the Chacorão, because it is in the Mundurukú indigenous territory.
บริเวณอื่นๆ ที่ถูกเลือก เป็นจุดสีเขียว.  บางเขื่อนเรายอมรับไม่ได้, เช่น Chacorão, เราะมันอยู่ในเขตแดนชนพื้นเมืองดั้งเดิมเผ่า มุนดูรูกุ.

Q: But the government says it won’t flood any indigenous territory.
ถามแต่รัฐบาลบอกว่า จะไม่ท่วมจมเขตแดนชนพื้นเมืองดั้งเดิมใดๆ.
A: That’s because it hasn’t put that on the table or included it in the 10-year plan for energy expansion, because it is worried about a backlash. But the Mundurukú are aware of it, which is why they are reacting.
ตอบ:  นั่นเพราะมันยังไม่ได้วางอันนั้นบนโต๊ะ หรือ รวมใส่ในแผน ๑๐ ปีเพื่อการขยายพลังงาน, เพราะมันกังวลว่าจะมีกระแสตีกลับ.  แต่ชาว มุนดูรูกุ ตื่นตัวเรื่องนี้ดี, ซึ่งเป็นเหตุผลว่า ทำไมพวกเขาจึงมีปฏิกิริยาต่อต้าน.

Q: What other hydropower plants are rejected under the criteria outlined by the WWF model?
ถามเขื่อนพลังงานน้ำอื่นๆ อะไรอีกที่ถูกปฏิเสธภายใต้ดัชนี ที่โมเดล WWF ได้ตั้งกรอบไว้?
A: The Escondido dam, also because it will flood around 1,000 square kilometres, to generate 1,248 MW. That is twice the area to be flooded by the Belo Monte dam, which will generate nearly 10 times more energy.
ตอบ:  เขื่อน เอสคอนดิโด ก็จะจมท่วมพื้นที่ประมาณ ๑,๐๐๐ ตร.กม. เพื่อผลิตพลังงาน ๑,๒๔๘ เมกกะวัตต์.  นั่นเป็นเนื้อที่สองเท่าของที่จะท่วมจมโดย เขื่อน เบโลมอนเต, ซึ่งจะผลิตพลังงานได้มากกว่าเกือบ ๑๐ เท่า.
Between these two are the Salto Augusto and São Simão dams, which are also problematic because they are in the Juruena National Park.
ระหว่าง ๒ เขื่อนนี้ คือ เขื่อน Salto Augusto และ São Simão, ซึ่งเป็นตัวปัญหา เพราะมันอยู่ในอุทยานแห่งชาติ Juruena.
All four of them are in the big central bloc that must be preserved.
ทั้งสี่เขื่อน อยู่ในป่าใจกลางผืนใหญ่ ที่ต้องสงวนไว้.
Q: But would the government agree to negotiate about the [6,133 MW] São Luiz do Tapajós dam, which is strategic?
ถามแต่รัฐบาลจะยอมเข้าร่วมเจรจาต่อรองเกี่ยวกับ เขื่อน São Luiz do Tapajós [6,133 MW], ซึ่งเป็นเขื่อนยุทธศาสตร์ไหม?
A: No, the [Brazilian government’s] Empresa de Pesquisa Energética (EPE) [Energy Research Company] has made it clear that, although it considers our tool to be excellent, it is not open to negotiations on the São Luiz or the Jatobá dams.
ตอบ:  ไม่, บริษัทวิจัยพลังงาน (EPE) ของรัฐบาลบราซิล ได้บอกชัดว่า, แม้มันจะคิดว่าเครื่องมือของเราสุดยอด, มันก็ไม่ยอมต่อรองในเขื่อน São Luiz หรือ เขื่อน Jatobá.
With these dams, and others that will have a smaller impact, half of the basin’s potential could be achieved without compromising the biological and cultural diversity of the big central bloc. There is room for negotiating.
ด้วยเขื่อนเหล่านี้, และอื่นๆ ที่จะสร้างผลกระทบน้อยกว่า, ศักยภาพครึ่งหนึ่งของลุ่มน้ำจะสัมฤทธิ์ผลได้ โดยไม่ต้องสังเวยความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรมของใจกลางป่าผืนใหญ่นั้น.  ยังมีที่ว่างให้ต่อรองได้.

Q: The president of EPE, Mauricio Tolmasquim, said he supported the use of the tool in order to “preserve as much as possible” in the hydroelectric programme. Are there signs that the government is willing to negotiate?
ถามประธานของ EPE, Mauricio Tolmasquim, กล่าวว่า เขาสนับสนุนการใช้เครื่องมือเพื่อ “สงวนมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้” ในโปรแกมไฟฟ้าพลังน้ำ.  รัฐบาลมีสัญญาณอะไรไหมว่ายินดีที่จะเจรจาต่อรองด้วย?
A: Looking at the Tapajós watershed as a whole, important elements are missing for EPE to preserve as much as possible. Mainly because not all of the environmental permits are in federal jurisdiction, and without clear coordination between the states and the central government, contradictory decisions are produced.
ตอบ:  เมื่อดูที่องค์รวมของ ลุ่มน้ำทาปาโฮส์, EPE ขาดองค์ประกอบสำคัญ ในการสงวนมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้.  เหตุผลหลักคือ ใบอนุญาตสิ่งแวดล้อมไม่ได้อยู่ในอาณัติของรัฐบาลกลางทั้งหมด, และเมื่อปราศจากการประสานงานที่ชัดเจนระหว่างรัฐต่างๆ และ รัฐบาลกลางแล้ว, การตัดสินใจที่ขัดแย้งกันย่อมเกิดขึ้นได้.
I’m less optimistic with respect to the possibility of the government negotiating a hydroelectric programme in Tapajós. I think it still prefers one battle at a time, even if that is gradually hurting its image.
ผมไม่ค่อยมีความหวังนักถึงความเป็นไปได้ในการเจรจาต่อรองกับรัฐบาลถึงโปรแกมไฟฟ้าพลังงานน้ำในทาปาโฮส์.  ผมคิดว่า มันยังคงต้องการทำศึกตอนนี้, แม้ว่านั่นจะเป็นการค่อยๆ ทำร้ายภาพพจน์ของตัวมันเอง.
But one battle at a time, without knowing where you are heading, does not help the lives of those who depend on free-flowing rivers and the conservation of critical areas like the central bloc of the Tapajós basin.
แต่การทำศึกหนึ่งทีละครั้ง, โดยไร้ความรู้ว่าคุณกำลังมุ่งไปทางทิศไหน, ไม่ได้ช่วยชีวิตของประชาชนที่ต้องพึ่งพาอาศัยสายน้ำที่ไหลรินอย่างเสรี และในการอนุรักษ์พื้นที่สำคัญ เช่น ใจกลางของลุ่มน้ำ ทาปาโฮส์.
On the other hand, we have seen that a broad, strategic debate is awakening more and more interest on the part of companies and financiers.
ในทางตรงข้าม,  เราได้เห็นวิวาทะยุทธศษสตร์ในวงกว้าง กำลังปลุกเร้าความสนใจในส่วนของบริษัทและแหล่งการเงินมากขึ้นเรื่อยๆ.

Q: But indigenous people, especially the Mundurukú, want to veto the dams. Do you think it is possible to convince them to negotiate?
ถามแต่ชนเผ่าพื้นเมืองดั้งเดิม, โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มุนดูรูกุ, ต้องการจะวีโต้เขื่อน.  คุณคิดว่า เป็นไปได้ไหม ที่จะชักจูงให้พวกเขาเข้าร่วมเจรจาด้วย?
A: We are in the process of approaching the indigenous leaders. There are many villages, some of which are very far apart, and the Mundurukú are facing the huge challenge of how to organise themselves in the face of a major works project that affects their territory and involves powerful interests.
ตอบ:  เรากำลังอยู่ในกระบวนการเข้าหาผู้นำชนเผ่าดั้งเดิม.  มีหลายหมู่บ้าน, บางแห่งห่างไกลกันมาก, และ ชาวมุนดูรูกุ กำลังเผชิญกับสิ่งท้าทายขนานใหญ่ว่า จะจัดกระบวนพวกเขาเองอย่างไร ในขณะที่โครงการขนาดใหญ่ที่ส่งผลต่อดินแดนของพวกเขา และเกี่ยวกับผลประโยชน์ที่ทรงอำนาจ ประชิดตัว.
They have to inform themselves, communicate, create participative spaces, deliberate.
พวกเขาได้ส่งข่าวกันในหมู่ของพวกเขา, สื่อสาร, สร้างพื้นที่การมีส่วนร่วม, และได้ปรึกษาหารือกัน.
But the negotiation will depend, obviously, on the government’s willingness to agree to a dialogue, which must start with discussing the application of International Labour Organisation Convention 169, on prior, informed consent for local communities, but would have to go far beyond that.
แต่ มันชัดเจนอยู่ว่า การต่อรองย่อมขึ้นอยู่กับความยินยอมของรัฐบาลที่จะตกลงเข้าร่วมเจรจาแลกเปลี่ยน, ซึ่งต้องเริ่มต้นด้วยการอภิปรายถึงการประยุกต์ใช้ อนุสัญญา ILO 169 เกี่ยวกับ การให้ข้อมูล และได้รับความยินยอมก่อน สำหรับชุมชนท้องถิ่น, แต่คงต้องไปไกลกว่านั้นด้วย.

Q: Wouldn’t it help to have consistent development plans for the affected territory?
ถามมันจะช่วยไหมหากมีแผนการพัฒนาที่ถูกต้องสำหรับเขตแดนที่ได้รับผลกระทบ?
A: But they have to be drawn up long before the works begin, not like what happened in the case of Belo Monte, which is already 30 percent built, while the development plan just began to be drafted.
ตอบ:  แต่มันต้องเขียนขึ้นก่อนที่จะลงมือทำงาน, ไม่ใช่เหมือนกับที่เกิดขึ้นในกรณีของ เบโลมอนเต, ที่ได้สร้างไปแล้ว ๓๐ เปอร์เซ็นต์, ในขณะแผนพัฒนาเพิ่งเริ่มร่างขึ้น.
Related IPS Articles

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น