322. GDP Misguided Humanity to Calamity, Must Be
Replaced!
How economic
growth has become anti-life
ทำไมการเติบโตทางเศรษฐกิจจึงกลายเป็นการปราบปรามชีวิต
An obsession with growth has
eclipsed our concern for sustainability, justice and human dignity. But people
are not disposable – the value of life lies outside economic development
ความหลงใหลยึดติดอยู่กับการเติบโต/ขยายตัว
ได้บดบังความห่วงใยของเราต่อความยั่งยืน, ความเป็นธรรม และ
ศักดิ์ศรีของมนุษย์.
แต่ประชาชนไม่ใช่สิ่งที่จะทิ้งขว้างทดแทนกันได้—ค่าของชีวิตตั้งอยู่นอกการพัฒนาทางเศรษฐกิจ.
'Economic growth begins when seeds
are genetically modified and patented, leading to farmers having to buy seeds every
season'. Photograph: Raminder Pal Singh/EPA
‘การเติบโตทางเศรษฐกิจเริ่มขึ้นเมื่อเมล็ดถูกตัดแต่งทางพันธุกรรมและจดสิทธิบัตร,
ซึ่งนำไปสู่การที่เกษตรกรต้องซื้อเมล็ดทุกๆ ฤดูกาล’
Limitless growth is the fantasy of
economists, businesses and politicians. It is seen as a measure of progress. As
a result, gross domestic product (GDP), which is supposed to measure the
wealth of nations, has emerged as both the most powerful number and dominant
concept in our times. However, economic growth hides the poverty it creates
through the destruction of nature, which in turn leads to communities lacking
the capacity to provide for themselves.
การเติบโตที่ไม่มีขอบเขต
เป็นการฝันเฟื่องของนักเศรษฐศาสตร์, นักธุรกิจ และ นักการเมือง. มันถูกจัดให้เป็นมาตรวัดของความก้าวหน้า. ผลคือ, จีดีพี, ซึ่งคาดหมายให้วัดความมั่งคั่งของประชาชาติ,
ได้โผล่ขึ้นมาเป็นทั้งตัวเลขที่ทรงพลัง และ กรอบคิดที่ครอบงำในยุคสมัยของเรา.
แต่การเติบโตทางเศรษฐกิจได้ซ่อนความยากจนที่มันได้สร้างขึ้นด้วยการทำลายล้างธรรมชาติ,
ซึ่งยังผลให้หลายๆ ชุมชนขาดความสามารถในการหาเลี้ยง พึ่งพาตนเอง.
The concept of growth was put
forward as a measure to mobilise resources
during the second world war. GDP is based on creating an artificial and
fictitious boundary, assuming that if you produce what you consume, you do not
produce. In effect , “growth” measures the conversion of nature into cash, and
commons into commodities.
Thus nature’s amazing cycles of
renewal of water and nutrients are defined into nonproduction. The peasants of
the world, who provide 72% of the food, do not produce;
women who farm or do most of the housework do not fit this paradigm of growth
either. A living forest does not contribute to growth, but when trees are cut
down and sold as timber, we have growth. Healthy societies and communities do
not contribute to growth, but disease creates growth through, for example, the
sale of patented medicine.
กรอบคิดของการเติบโตได้ผลักดันมาตรวัด
เพื่อขับเคลื่อนทรัพยากรในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง. จีดีพี
ตั้งอยู่บนฐานของการสร้างขอบเขตจอมปลอมและหลอกลวง, โดยสมมติว่า
หากคุณผลิตสิ่งที่คุณบริโภค, ถือว่า คุณไม่ได้ผลิตอะไรเลย. ผลคือ, “การเติบโตไ
วัดการแปรรูปธรรมชาติให้เป็นเม็ดเงิน, และ สมบัติร่วม ให้เป็น สินค้า. ดังนั้น วัฏจักรที่น่าทึ่งของธรรมชาติ
ในการหมุนเวียนน้ำและสารอาหาร ถูกนิยามให้เป็น ไร้การผลิต. ชาวไร่ชาวนาของโลก, ผู้ให้ 72% ของอาหาร,
ไม่ได้ผลิตอะไร, ผู้หญิงที่ทำงานในไร่นา หรือ ทำงานส่วนใหญ่ในครัวเรือน ไม่มีพื้นที่ในกระบวนทัศน์ของการเติบโตด้วย. ป่าไม้ที่มีชีวิต ไม่ถือว่าทำประโยชน์อะไรแก่การเติบโต,
แต่เมื่อไร ต้นไม้ถูกตัด และ ขายเป็นไม้ซุง, จึงนับว่า เรามีการเติบโต. สังคมและชุมชนสุขภาพดี แข็งแรง
ไม่ได้ทำประโยชน์แก่การเติบโต, แต่เชื้อโรค สร้างการเติบโต เช่น
ด้วยการขายยาที่มีสิทธิบัตร.
Water available as a commons shared
freely and protected by all provides for all. However, it does not create
growth. But when Coca-Cola sets up a plant, mines the water and fills plastic
bottles with it, the economy grows. But this growth is based on creating
poverty – both for nature and local communities. Water extracted beyond
nature’s capacity to renew and recharge creates a water famine. Women are
forced to walk longer distances looking for drinking water. In the village of
Plachimada in Kerala, when the walk for water became 10 kms, local tribal woman
Mayilamma
said enough is enough. We cannot walk further; the Coca-Cola plant must shut
down. The movement that the women started eventually
led to the closure of the plant.
น้ำ อยู่ในฐานะสมบัติร่วม ที่ใช่แบ่งปันกันได้อย่างเสรี
และ ปกป้องโดยคนทั้งปวง เพื่อให้คนทั้งปวง. แต่ มันไม่ทำให้เกิดการเติบโต. แต่เมื่อโคคา-โคลาตั้งโรงงานขึ้น, ขุดเจาะทำเหมืองน้ำ
แล้วเติมใส่ขวดพลาสติก, เศรษฐกิจเติบโต. แต่การเติบโตนี้
ตั้งอยู่บนการทำให้เกิดความยากจน—แก่ทั้งธรรมชาติ และ ชุมชนท้องถิ่นต่างๆ.
การดูดน้ำเกินความสามารถของธรรมชาติในการหมุนเวียนหรือเติมน้ำใหม่
ทำให้เกิดการขาดแคลนหิวโหยน้ำ. บังคับให้ผู้หญิงต้องเดินทางไกลมากขึ้นเพื่อหาแหล่งน้ำดื่ม. ในหมู่บ้าน ปลาจิมาดา ในรัฐเกราลา,
เมื่อต้องเดินหาน้ำไกลถึง ๑๐ กม, หญิงชนเผ่าท้องถิ่น มายิลัมมา กล่าวว่า
พอกันที. เราไม่สามารถเดินไกลกว่านี้ได้,
โรงงานโคคา-โคลา จะต้องปิด.
การเคลื่อนไหวที่ผู้หญิงเริ่ม ในที่สุด นำไปสู่การปิดโรงงาน.
'Water extracted beyond nature’s
capacity to renew and recharge creates a water famine'. Photograph: Joe
McNally/Getty
In the same vein, evolution has
gifted us the seed. Farmers have selected, bred, and diversified it – it is the
basis of food production. A seed that renews itself and multiplies produces
seeds for the next season, as well as food. However, farmer-bred and
farmer-saved seeds are not seen as contributing to growth. It creates and
renews life, but it doesn't lead to profits. Growth begins when seeds are
modified, patented and genetically
locked, leading to farmers being forced to buy more every season.
ในทำนองเดียวกัน, วิวัฒนาการได้ให้ของขวัญเป็นเมล็ดพันธุ์แก่พวกเรา. ชาวไร่ชาวนาได้คัดเลือก, ผสมพันธุ์,
และทำให้มันหลากหลาย—มันเป็นพื้นฐานของการผลิตอาหาร. เมล็ดที่หมุนเวียนตัวเอง และ เพิ่มทวีคูณจำนวนเมล็ดในฤดูกาลหน้า,
ตลอดจนอาหาร. แต่ เมล็ดที่ชาวไร่ชาวนาได้ผสมพันธุ์
และ เก็บรักษาไว้ ไม่ถูกจัดว่า ให้ประโยชน์อะไรแก่การเติบโต. มันสร้างและหมุนเวียนชีวิต,
แต่มันไม่นำไปสู่กำไร. การเติบโตเริ่มต้น
เมื่อเมล็ดถูกตัดแต่ง, ถูกจดสิทธิบัตร และ กักขังพันธุกรรม,
นำไปสู่การบังคับชาวไร่ชาวนา ให้ต้องซื้อมากขึ้นๆ ทุกๆ ฤดู.
Nature is impoverished, biodiversity
is eroded and a free, open resource is transformed into a patented commodity.
Buying seeds every year is a recipe
for debt for India’s poor peasants. And ever since seed monopolies have
been established, farmers debt has increased. More than 270,000 farmers caught
in a debt trap in India have
committed suicide since 1995.
ธรรมชาติถูกทำให้ยากจนลง,
ความหลากหลายทางชีวภาพ ถูกกัดเซาะ และ ทรัพยากรเปิดเสรี ถูกพลิกผันเป็นสินค้าตึตรวนด้วยสิทธิบัตร. การซื้อเมล็ดพันธุ์ทุกๆ ปี เป็นสูตรสร้างหนี้
สำหรับชาวไร่ชาวนาที่ยากจนของอินเดีย.
และตั้งแต่นั้นมา การผูกขาดเมล็ดได้สถาปนาขึ้น,
หนี้ชาวไร่ชาวนาเพิ่มขึ้น.
ชาวไร่ชาวนากว่า 270,000 คน
ติดกับดักหนี้ในอินเดีย และได้ฆ่าตัวตายตั้งแต่ปี ๒๕๓๘ เป็นต้นมา.
Poverty is also further spread when
public systems are privatised. The privatisation of water, electricity, health,
and education does generate growth through profits . But it also generates
poverty by forcing people to spend large amounts of money on what was available
at affordable costs as a common good. When every aspect of life is
commercialised and commoditised, living becomes more costly, and people become
poorer.
ความยากจนได้แพร่ระบาดไปไกลกว่านั้น
เมื่อระบบสาธารณะถูกเปลี่ยนเป็นนอกระบบ (ธุรกิจเอกชน). การแปลง การบริการ น้ำ, สุขภาพ, และการศึกษา
ให้เป็นธุรกิจเอกชน ได้ทำให้เกิดการเติบโตด้วยการทำกำไร. แต่มันก็ทำให้เกิดความยากจนด้วย
โดยบังคับให้ประชาชนต้องใช้เงินจำนวนมาก
ซื้อสิ่งที่เคยหาซื้อได้ด้วยราคาที่จ่ายไหว ในฐานะที่เป็นสมบัติร่วม. เมื่อทุกๆ ด้านของชีวิต ถูกทำให้เป็นสินค้า
เพื่อการพาณิชย์, การยังชีพ กลายเป็นแพงมากขึ้น, และ ประชาชนก็ยากจนลง.
Both ecology and economics have
emerged from the same roots – "oikos", the Greek word for household.
As long as economics was focused on the household, it recognised and respected
its basis in natural resources and the limits of ecological renewal. It was
focused on providing for basic human needs within these limits. Economics as
based on the household was also women-centered. Today, economics is
separated from and opposed to both ecological processes and basic needs. While
the destruction of nature has been justified on grounds of creating growth,
poverty and dispossession has increased. While being non-sustainable, it is
also economically unjust.
ทั้งนิเวศ และ เศรษฐกิจ อุบัติจากรากศัพท์เดียวกัน--"oikos", คำภาษากรีกสำหรับ
ครัวเรือน. ตราบเท่าที่เศรษฐกิจ
เน้นอยู่ที่ครัวเรือน, มันยอมรับและเคารพพื้นฐานของมันในทรัพยากรธรรมชาติ และ
ขอบเขตจำกัดของการหมุนเวียนเชิงนิเวศ. มันเน้นที่การอำนวยสนองความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ภายในขอบเขตเหล่านี้. เศรษฐกิจ ในฐานะที่มีพื้นฐานบนครัวเรือน
ก็มีผู้หญิงเป็นศูนย์กลางด้วย. ทุกวันนี้,
เศรษฐกิจ ได้แยกจาก และ ต่อต้าน ทั้งกระบวนการนิเวศ และ ความต้องการพื้นฐาน. ในขณะที่ การทำลายล้างธรรมชาติ
ได้ถูกทำให้เกิดความชอบธรรม โดยอ้างว่า เป็นการสร้างความเติบโต, ความยากจน และ
การตกขอบก็เพิ่มมากขึ้น.
ในขณะที่ไม่ยั่งยืน, มันก็ไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจด้วย.
The dominant model of economic
development has in fact become anti-life. When economies are measured only in
terms of money flow, the rich get richer and the poor get poorer. And the rich
might be rich in monetary terms – but they too are poor in the wider context of
what being human means.
โมเดลที่ครอบงำการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
อันที่จริง ได้กลายเป็นการปราบปรามชีวิต.
เมื่อระบบเศรษฐกิจถูกวัดแค่ในรูปของ การไหลของเงินตรา, คนรวยย่อมรวยขึ้น
และ คนจน ยากจนลง. และคนรวย
อาจรวยเม็ดเงิน—แต่ ก็ยากจนด้วย ในบริบทกว้างของความหมายของการเป็นมนุษย์.
Meanwhile, the demands of the
current model of the economy are leading to resource wars oil wars, water wars,
food wars. There are three levels of violence involved in non-sustainable
development. The first is the violence against the earth, which is expressed as
the ecological crisis. The second is the violence against people, which is
expressed as poverty, destitution and displacement. The third is the violence
of war and conflict, as the powerful reach for the resources that lie in other
communities and countries for their limitless appetites.
ในขณะเดียวกัน, การเรียกร้องของโมเดลเศรษฐกิจปัจจุบัน
ได้นำไปสู่สงครามแย่งชิงทรัพยากร เช่น สงครามน้ำมัน, สงครามน้ำ, สงครามอาหาร. มีความรุนแรง ๓
ระดับเกี่ยวข้องอยู่ในการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืน.
ประการแรก คือ ความรุนแรงต่อโลก, ซึ่งแสดงออกในวิกฤตนิเวศ. ประการที่สอง คือ ความรุนแรงต่อประชาชน,
ซึ่งแสดงออกเป็น ความยากจน, ความทุกข์ยากลำเค็ญ และ การถูกไล่ที่. ประการที่สาม คือ ความรุนแรง (ติดอาวุธ)
ของสงครามและความขัดแย้ง, ในฐานะที่เป็นการยื่นออกไปด้วยแสนยานุภาพ เพื่อฉกตะครุบทรัพยากรที่อยู่ในเขตแดนของชุมชนและประเทศอื่น
เพื่อปรนเปรอตัณหาที่ไร้ขอบเขตของตนเอง.
Increase of money flow
through GDP has become disassociated from real value, but those who accumulate
financial resources can then stake claim on the real resources of people –
their land and water, their forests and seeds. This thirst leads to them
predating on the last drop of water and last inch of land on the planet. This
is not an end to poverty. It is an end to human rights and justice.
การเพิ่มกระแสการไหลของเม็ดเงินผ่าน จีดีพี
ได้กลายเป็นแปลกแยกจากค่าที่แท้จริง, แต่พวกที่ได้สะสมทรัพยากรการเงิน สามารถจะวางเดิมพันขันต่อ
ทวงยึดเอาทรัพยากรของจริงของประชาชนได้—ที่ดินและน้ำของพวกเขา, ป่าไม้ และ
เมล็ดของพวกเขา. ความหิวกระหายนี้
ได้นำพวกเขา ให้ออกล่า รีดไถ ถึงน้ำหยดสุดท้าย และ
ที่ดินตารางนิ้วสุดท้ายบนพิภพ.
นี่ไม่ใช่จุดจบของความยากจน.
มันเป็นจุดจบของสิทธิมนุษยชนและความเป็นธรรม.
Nobel-prize winning economists
Joseph Stiglitz and Amartya Sen have admitted that GDP does
not capture the human condition and urged the creation of different
tools to gauge the wellbeing of nations. This is why countries like Bhutan have
adopted the gross
national happiness in place of gross domestic product to calculate
progress. We need to create measures beyond GDP, and economies beyond the
global supermarket, to rejuvenate real wealth. We need to remember that the
real currency of life is life itself.
นักเศรษฐศาสตร์ชนะรางวัลโนเบล โจเซฟ สติกลิตซ์ และ อมาร์ตยา
เซน ได้ยอมรับว่า จีดีพี ไม่ได้เก็บข้อมูลเกี่ยวกับสภาวะของมนุษย์ และ เร่งเร้าให้สร้างเครื่องมือที่ต่างออกไป
เพื่อวัดความอยู่ดีมีสุขของประชาชาติ. นี่เป็นเหตุผลที่
ทำไม ประเทศเช่น ภูฏาน ได้ยอมรับ ค่ามวลความสุขประชาชาติ แทน
ค่ามวลผลิตภาพภายในประเทศ-จีดีพี-ในการคำนวณความก้าวหน้า. เราจำเป็นต้องสร้างมาตรที่ต่างจาก จีดีพี
ที่สกุลมูลค่าแห่งชีวิตที่แท้จริง คือ ตัวชีวิตเอง.
• Vandana Shiva is a guest
of the Festival Of Dangerous Ideas,
Sydney Opera House, this weekend.
วันทนา ศิวะ เป็นแขก ของ เทศกาลแห่งความคิดที่อันตราย, ณ
โรงอุปรากรซิดนีย์, ในสุดสัปดาห์นี้.
theguardian.com,
Friday 1 November 2013 04.22 GMT
http://www.theguardian.com/commentisfree/2013/nov/01/how-economic-growth-has-become-anti-life,
11-4-13
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น