302. The World Is Beautiful or Hateful Depends on
Our Personal Choice of Being
Healing the Interior Wound of
Separation Is the Key to a Sustainable World
สมานแผลภายในของการแปลกแยก
เป็นกุญแจสู่โลกที่ยั่งยืน
“ผมจินตนาการว่า
เหตุผลหนึ่งที่ผู้คนนัวเนียอยู่กับความเกลียดของตนอย่างดื้อรั้น
ก็เพราะพวกเขารู้สึกว่า, เมื่อไรความเกลียดนั้นหายไป,
พวกเขาจะถูกบังคับให้เผชิญหน้า จัดการกับความปวดร้าวของตนเอง” - เจมส์ บอลด์วิน, กองไฟครั้งต่อไป
When I read James Baldwin’s words, I
intuitively sense a deep truth. It is nearly impossible to live in the world
today without feeling at some point in our lives a feeling of not being good
enough, ostracized, or excluded. This is a painful feeling not in a physical
sense but rather internally, a result of a deep subconscious feeling of
separation or disconnection from the whole causing an interior wound of
separation in all of us. When the pain remains unrealized, it results in
deep suffering, which may manifest feelings of frustration, anxiety,
loneliness, anger and, eventually, hate. Of what we aren’t exactly sure. But it
is manifested in many ways.
เมื่อผมอ่านคำของเจมส์ บอลด์วิน,
ผมสัมผัสรู้โดยสัญชาตญาณถึงสัจธรรมระดับลึก.
มันเกือบเป็นไปไม่ได้ที่จะมีชีวิตอยู่ในโลกทุกวันนี้โดยปราศจากความรู้สึก
ในบางขณะในชีวิตของเราว่า เราดีไม่พอ, ถูกเนรเทศ, หรือถูกกีดกัน. นี่เป็นความรู้สึกเจ็บปวดไม่เพียงทางกาย
แต่ลึกเข้าไปภายใน, ผลจากความรู้สึกของจิตใต้สำนึกลึกๆ แห่งการแปลกแยก หรือ
หลุดจากองค์รวม ซึ่งเป็นเหตุทำให้เกิดแผลภายในของการแปลกแยกที่มีอยู่ในพวกเราทั้งหมด. เมื่อความเจ็บปวดนี้
ยังอยู่ในสภาพที่ไม่ถูกตระหนักรู้, ผลคือความทุกข์ลึกๆ,
ซึ่งอาจแสดงตัวเป็นความรู้สึกอึดอัด, พะว้าพะวง, โดดเดี่ยว, โมโห และ, ในที่สุด,
เกลียดชัง.
ซึ่งเป็นสิ่งที่เราเองก็ไม่รู้ว่าเป็นอะไรกันแน่. แต่มันเผยโฉมหน้าออกมาได้หลายทาง.
If we feel that we are fundamentally
separated from others, we know that we cannot depend on anyone else for
survival, further reinforcing the idea we are alone. Greed arises. The wound is
so heavy that we long for distraction, which we can find plenty of in the form
of mindless television, food that tastes great but has little nutrition,
shopping, meaningless sex as a poor substitute for real intimacy, or just about
anything that keeps us from analyzing this painful feeling. Boredom
arises. As time goes on, we find ourselves getting angry over some of the
smallest offenses – things like someone cutting you off on the freeway, making
you late for an appointment, or getting passed over for an upgrade to first
class on a flight. Each of these examples remind us of the deficit in nourishment
that peels the scab on our interior wound of separation. Over time, the pain
grows as the anger can turn into hate, which is then turned on whichever
unfortunate soul crosses us next.
หากเรารู้สึกว่า โดยรากฐาน เราถูกแยกออกจากผู้อื่น, นั่นคือ,
เรารู้ว่า เราไม่สามารถพึ่งพาใครอื่นได้เลยเพื่อความอยู่รอด,
นั่นเป็นการตอกย้ำความคิดที่ว่า เราอยู่ตามลำพังคนเดียว. ความโลภย่อมเอ่อขึ้นมา. บาดแผลนั้นหนักหนามากจนเราโหยหาเครื่องเบี่ยงเบนความสนใจ,
ซึ่งเราสามารถหาได้มากมายในรูปของความไร้สติไตร่ตรองใน โทรทัศน์,
อาหารที่เอร็ดอร่อยแต่ไม่มีคุณค่าทางอาหาร, ช็อปปิ้ง,
การสมสู่ที่ไร้ความหมายอันเป็นเครื่องทดแทนชั้นเลวของความสนิทสนมที่แท้จริง,
หรืออะไรก็ได้ที่ทำให้เราไม่ต้องวิเคราะห์เจ้าความรู้สึกที่แสนเจ็บปวดนั้น. ความเบื่อหน่ายเอ่อขึ้นมา. ในขณะที่เวลาผันผ่านไป,
เราพบว่าตัวเองโมโหโกรธากับสิ่งบาดหมางเล็กที่สุดใดๆ –เช่น
เมื่อบางคนขับรถปาดหน้าคุณในถนนฟรีเวย์, ทำให้คุณไปสายไม่ตรงตามนัดหมาย, หรือถูกแซงคิวการอัพเกรดเป็นตั๋วบินชั้นหนึ่ง. แต่ละตัวอย่างเหล่านี้ เตือนเราถึงอาการขาดสารอาหารหล่อเลี้ยง
ที่แกะสะเก็ดบนแผลภายในของการแปลกแยก.
เวลาผ่านไป,
ความเจ็บปวดเติบใหญ่ขึ้นในขณะที่ความโกรธสามารถเปลี่ยนไปเป็นความเกลียด,
ซึ่งก็จะสาดใส่ใครก็ตามที่โชคไม่ดีที่มาสะกิดแผลของเรา.
We are not born with this wound.
Indeed, every child is born with not only a desire to connect but a real
physical need for connection, a need so strong that the baby could die if it is
left void of any physical connection. It is why women receive
added hormones during and after pregnancy that help create that
emotional connection and desire to nurture their children. As children
grow older though, they encounter a world full of people already living with
the wound of separation and quickly learn that most people outside the family –
and for the most unfortunate, inside the family as well – are at best
indifferent to them and at worst a threat to survival. As those children’s
desire for connection to others is continually rejected, they too begin to
develop their own wound of separation, building walls to protect themselves
from the unkind world.
เราไม่ได้เกิดมาพร้อมกับบาดแผลนี้. อันที่จริง, เด็กทุกคนเกิดมาพร้อมกับไม่เพียงแรงปรารถนาที่จะเชื่อมโยง
แต่ความจำเป็นจริงๆ ที่จะต้องเชื่อมโยงต่อกัน,
ความต้องการนี้เข้มข้นมากขนาดที่ทารกอาจตายได้หากถูกทอดทิ้งในโพรงที่ไม่มีการเชื่อมโยงทางกายภาพเลย. นี่เป็นเหตุผลที่ทำไม
ผู้หญิงจึงได้รับฮอร์โมนเพิ่มขึ้นในระหว่างและหลังจากการตั้งครรภ์ ที่ช่วยสร้างความเชื่อมโยงทางอารมณ์และแรงปรารถนาที่จะบำรุงเลี้ยงดูลูกๆ
ของตน. แต่ในขณะที่เด็กๆ โตขึ้น,
พวกเขาเจอกับโลกที่เต็มไปด้วยผู้คนที่มีชีวิตอยู่กับบาดแผลของการแปลกแยก และ
ก็เรียนรู้อย่างรวดเร็วจากผู้คนนอกครอบครัวของตน—และสำหรับคนที่โชคร้ายที่สุด, คนในครอบครัวก็เป็นเช่นนั้นด้วย—ว่า
อย่างดีที่สุด ก็ไม่แยแสกับพวกเขา และอย่างแย่ที่สุด คุกคามความอยู่รอด. เมื่อความปรารถนาของเด็กๆ เหล่านั้น
ที่ต้องการเชื่อมต่อกับคนอื่นๆ ถูกเมิน, พวกเขาด้วย
ก็เริ่มพัฒนาบาดแผลของการแปลกแยกของตัวเองขึ้นด้วยการสร้างกำแพงเพื่อปกป้องตัวเองจากโลกที่ไม่อารี.
This is not who we are as a
species as evidenced by anyone who can observe the behaviors of a healthy
child. In truth, we
are all connected at a fundamental level. We all desire, more than anything
else to be seen, heard, and accepted for who we really are in all of our
diversity. We all have gifts that we desire to give to others. Through them, we
obtain meaning for ourselves. There is a new and more beautiful world that
longs to be born, but it will take each of us to go within to heal our own
wounds of separation and then help others to heal theirs by being kind to all
people in all situations, to look all people in the eye as the
divine beings they truly are and recognize them as our brothers and sisters. If
we can’t find the way, we need only take our cues from young children who are
never far removed from our true loving nature. In our hearts, we know a more
beautiful world is possible. Manifesting it comes down to a personal choice between love and fear. I choose
love. Which do you choose?
นี่ไม่ใช่พวกเราในฐานะที่เป็นสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์หนึ่ง
ตามหลักฐานอย่างที่ใครก็ตามย่อมสังเกตเห็นได้ในพฤติกรรมของเด็กที่สมบูรณ์ปกติ. ในความสัจจริง,
พวกเราล้วนเชื่อมโยงต่อกันในระดับฐานราก. เราทั้งหมดปรารถนา,
เหนือสิ่งอื่นใด ให้คนอื่นเห็น, ได้ยิน, และยอมรับเรา ในลักษณะที่เราเป็นจริงๆ
ท่ามกลางความหลากลายของพวกเรา.
พวกเราล้วนมีพรสวรรค์ที่เราต่างปรารถนาที่จะมอบให้คนอื่นๆ. ผ่านพวกเขา,
เราได้รับความหมายสำหรับตัวเราเอง.
มีโลกใหม่และสวยงามกว่า ที่รอคอยเวลาคลอด,
แต่จะเป็นไปได้ต่อเมื่อพวกเราแต่ละคน ย้อนกลับเข้าไปภายในตัวเอง ทำการเยียวยา
สมานแผลแห่งการแปลกแยกของตนเอง และ ช่วยคนอื่นๆ ให้สมานแผลของพวกเขา
ด้วยความเมตตาต่อคนทั้งปวงในทุกสถานการณ์, มองดูคนทั้งปวงประหนึ่งว่าพวกเขาเป็นเทพที่พวกเขาเป็นจริงๆ
และยอมรับพวกเขาในฐานะพี่น้องหญิงชาย.
หากเราไม่สามารถหาหนทาง, ก็ขอให้เพียงแต่สังเกตจากเด็กเล็ก
ผู้ไม่เคยอยู่ห่างไกลจากธรรมชาติความรักที่แท้จริงของเรา. ในหัวใจของเรา, เรารู้ว่า โลกที่สวยงามกว่านี้
เป็นไปได้. การที่มันจะเผยตัวออกมาได้นั้น
เป็นการเลือกส่วนบุคคล ระหว่าง ความรัก และ ความกลัว. ผมเลือกความรัก. คุณล่ะ เลือกทางไหน?
Comments:
CJ John
March 18, 2013 7:43 pm
This article is magnificently
spot-on to what is ailing this world. Your final lines, ” In our hearts, we
know a more beautiful world is possible. Manifesting it comes down to a
personal choice between love and fear.” is EXACTLY what I have felt all my
life, but it wasn’t until I understood that fear comes from ego that I was able
to untangle my confused mind.
[...] Healing the Interior Wound of
Separation is the Key to a Sustainable World – Sustainable Man offers this
perspective on the human need for connection, and what is threatened when it is
lacking. [...]
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น