วันพุธที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

227. การสถาปนาไบโอเทค และ จีเอ็มโอ ในไทย


227.  Institutionalization of Biotechnology and GMO in Thailand

Appendix 1: Thailand's GMOs Chronology
Compiled by Darunee Tantiwiramanond, 5-29-13
Date
Events
1983
๒๕๒๖
Inauguration of Thailand's National Center for Genetic Engineering and Biotechnology (NCGEB, now BIOTEC)
ตั้ง ไบโอเทค (เดิม ศูนย์วิศวพันธุกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ...คงเปลี่ยนชื่อเพื่อกลบเกลื่อน ไม่ให้เป็นสายล่อฟ้า, ดูบทความ [3])
1985
๒๕๒๘
Establishment of BIOTEC's Plant Genetic Engineering Unit (PGEU) in Nakhon Pathom
ก่อตั้ง หน่วยวิศวพันธุกรรมพืช ใน ไบโอเทค ที่นครปฐม
1986
๒๕๒๙
BIOTEC commissioned a status report on the prospects of biotechnology in agriculture stated the need for the country's biosafety regulatory system
ไบโอเทคให้ทำรายงานสถานภาพของโอกาสของเทคโนโลยีชีวภาพในเกษตร ระบุว่า ประเทศจำเป็นต้องมีระบบการควบคุม ความปลอดภัยทางชีวภาพ
1990
๒๕๓๓
A feasibility study on biosafety by BIOTEC
ไบโอเทค ทำการศึกษาความเป็นไปได้เรื่อง ความปลอดภัยทางชีวภาพ
1990
๒๕๓๓
Biosafety Subcommittee was established under BIOTEC
ไบโอเทค ตั้งอนุกรรมการ ความปลอดภัยทางชีวภาพ
April 1992
๒๕๓๕
BIOTEC appointed an ad hoc subcommittee to draft Thailand's first biosafety guidelines
ไบโอเทค แต่งตั้งอนุกรรมการเฉพาะกิจ ให้ร่างแนวทางสำหรับความปลอดภัยทางชีวภาพ เป็นครั้งแรก
June 1992
๒๕๓๕
Complete draft of biosafety guidelines (for laboratory and for field test)
ร่างเสร็จ (สำหรับการทดสอบในห้องแล็บและในสนาม)
January 1993
๒๕๓๖
National Biosafety Committee (NBC) established with BIOTEC as secretariat, followed by establishment of Institutional Biosafety Committees (IBCs) at various research institutes.
ตั้ง คณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพแห่งชาติ (NBC) มี ไบโอเทค เป็นเลขาธิการ, ตามด้วยการตั้ง คณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพเชิงสถาบัน (IBCs) ณ สถาบันวิจัยต่างๆ
1993
๒๕๓๖

First application for importing transgenic plant for field test on seed production (Calgene's Flavr Savr tomato)
ครั้งแรก—ทดสอบภาคสนามของพืชข้ามสายพันธุ์ที่สั่งเข้ามา เพื่อการผลิตเมล็ด (มะเขือเทศ Flavr Savr ของ Calgene)
1994
๒๕๓๗
A list of 40 prohibited transgenic plants added to the 1964 Plant Quarantine Act
เติม ๔๐ รายการของพืชข้ามสายพันธุ์ ใส่ พรบ พืชกักกัน พ.ศ. ๒๕๐๗
1994
๒๕๓๗
Flavr Savr tomato granted permission for field test
มะเขือเทศ Flavr Savr ได้รับอนุมัติให้ทำการทดลองภาคสนาม
1995
๒๕๓๘
Application of Monsanto's Bt cotton.
ใช้ ฝ้าย บีที ของมอนซานโต
1995
๒๕๓๘
Establishment of DNA Fingerprinting Unit, BIOTEC in NakhornPathom, Thailand
ตั้งหน่วย พิมพ์ลายนิ้วมือ ดีเอ็นเอ ณ ไบโอเทค นครปฐม
Mar. 1996
๒๕๓๙
Bt cotton field test experiment started in northeastern Thailand.
เริ่มทดลองภาคสนาม ฝ้ายบีที ในภาคอีสาน
1997
๒๕๔๐
Establishment of Plant Biosafety Subcommittee under NBC
จัดตั้ง อนุกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพของพืช ภายใต้ NBC
1998
๒๕๔๑
Establishment of Food Biosafety Subcommittee under NBC
จัดตั้ง อนุกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพของอาหาร ภายใต้ NBC
1998
๒๕๔๑
Establishment of Microbial Biosafety Subcommittee under NBC
จัดตั้ง อนุกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพของจุลินทรีย์ ภายใต้ NBC
1999
๒๕๔๒
Trade dispute between Thailand and some EU countries over detention of tuna in oil from Thailand. Other trade dispute cases follow suit.
ขัดแย้งทางการค้า ระหว่างประเทศไทยและบางประเทศอียู เกี่ยวกับการกักปลาทูนาในน้ำมัน จากประเทศไทย.  กรณีขัดแย้งทางการค้า อื่นๆ ตามมา.
1999
๒๕๔๒
Subcommittee for Policy on Trade of Biotechnology Products set up under the Committee for International Economic Policy
จัดตั้งอนุกรรมการ นโยบายการค้าด้านผลิตภัณฑ์จากเทคโนโลยีชีวภาพ ภายใต้ คณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
1999
๒๕๔๒
Amendment of the 1964 Plant Quarantine Act to strengthen regulation of transgenic plants
แก้ไข พรบ กักกันพืช พ.ศ. ๒๕๐๗ เพื่อกระชับกฎระเบียบของพืชข้ามสายพันธุ์
Sep. 1999
๒๕๔๒
A report "Status of GMOs in Thailand" published by BIOTEC
ไบโอเทค ตีพิมพ์ “สถานภาพ จีเอ็มโอ ในประเทศไทย”
Sep. 1999
๒๕๔๒
First public hearing on GMOs organized by Department of Agriculture (DOA) held in Bangkok
ประชาพิจารณ์ ครั้งแรก เรื่อง จีเอ็มโอ จัดโดย กรมการเกษตร (DOA) ในกทม
Oct. 1999
๒๕๔๒
First survey in Bangkok by BIOTEC on public awareness and attitude towards GMOs
ไบเทคทำการสำรวจ ครั้งแรก ในกทม ถึงความตื่นตัวและท้ศนคติของสาธารณชน ต่อ จีเอ็มโอ
Dec. 1999
๒๕๔๒
Inauguration of Thailand Biodiversity Center (TBC) as the potential national focal point for the Cartagena Protocol on Biosafety (Thailand has not yet signed the protocol). NBC's secretariat (including subcommittees) moved to TBC.
เปิด ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพประเทศไทย (TBC) ที่อาจเป็น ศูนย์ประสาน สำหรับ Cartagena Protocol on Biosafety (พิธีสาร คาร์ทาจีนาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ, ซึ่งประเทศไทยยังไม่ได้ลงนาม).  เลาขาธิการของ NBC (รวมทั้งอนุกรรมการทั้งหลาย) ย้ายไปที่ TBC.
2000
๒๕๔๓
Establishment of DNA Technology Laboratory (former part of DNA Fingerprinting Unit), with a mandate to detect GMOs on service basis, among other tasks.
จัดตั้ง ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยี ดีเอ็นเอ (เดิมเป็นส่วนหนึ่งของ หน่วยพิมพ์ลายนิ้วมือ ดีเอ็นเอ), ซึ่งมีอาณัติในให้บริการตรวจ จีเอ็มโอ และกิจอื่นๆ.
2000
๒๕๔๓
Establishment of two separate GMOs detection laboratories in Department of Agriculture and Department of Medical Science
จัดตั้ง สองห้องปฏิบัติการที่แยกขาดกัน เพื่อการตรวจ จีเอ็มโอ ในกรมการเกษตร และ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
2000
๒๕๔๓
Thailand Food and Drug Administration (FDA) commissioned a work group to consider labeling method for GM foods
อย มอบหมายกลุ่มทำงาน ให้พิจารณาวิธีการติดฉลาดอาหาร จีเอ็ม
Mar. 2000
๒๕๔๓
Ministry of Agriculture and Cooperatives' declaration on import prohibition of 40 transgenic plants (revised) with exceptions for grains of GM corn and soy bean
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศห้ามการสั่งเข้าพืชข้ามสายพันธุ์ ๔๐ รายการ (ฉบับแก้ไข) ยกเว้น ธัญพืช ข้าวโพด และ ถั่วเหลือง จีเอ็ม
April 2000
๒๕๔๓
Trade dispute between Thailand and Kuwait / Saudi Arabia over tuna in oil (suspected to be made from GM soya bean)
กรณีขัดแย้งทางการค้าระหว่างไทยและคูเวต / ซาอุ เรื่อง ปลาทูนาในน้ำมัน (สงสัยว่า ทำจากถั่วเหลือง จีเอ็ม)
Oct. 2000
๒๕๔๓
A National Subcommittee on Biosafety Policy proposed to the National Committee on Conservation and Utilization of Biodiversity (NCCUB), with TBC as secretariat office.
อนุกรรมการนโยบายความปลอดภัยทางชีวภาพแห่งชาติ ได้เสนอต่อ คณะกรรมการอนุรักษ์และใช้ความหลากหลายทางชีวภาพแห่งชาติ (NCCUB), โดย TBC เป็นเลขาธิการ.
Jan. 2001
๒๕๔๔
Trade dispute between Thailand and Egypt over tuna in oil reached its peak. Both party agreed to sign MOU.
กรณีขัดแย้งทางการค้าระหว่างไทยและอียิปต์ เรื่อง ปลาทูนาในน้ำมัน ถึงจุดสุดยอด.  ทั้งสองฝ่ายยอมเซ็น MOU.
Feb. 2001
๒๕๔๔
A draft of GMOs policy approved by the Subcommittee for Policy on Trade of Biotechnology Products
อนุกรรมการนโยบายการค้าผลิตภัณฑ์จากเทคโนโลยีชีวภาพ อนุมัติ ร่างนโยบาย จีเอ็มโอ
Mar. 2001
๒๕๔๔
BIOTEC starts a series of consultation meeting with stakeholders on GMOs issue
ไบโอเทค เริ่มการประชุมหารือต่อเนื่อง กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในประเด็น จีเอ็มโอ
8 Apr. ’02
๒๕๔๕
Minister of Health signed the GMO labeling regulation
กระทรวงสาธารณสุข ลงนามใน กฎระเบียบการติดฉลาก จีเอ็มโอ
10 May’02
๒๕๔๕
The GMO labeling regulation was noted and became effective
รับรอง กฎระเบียบการติดฉลาก จีเอ็มโอ และมีผลบังคับใช้
10 May’03
๒๕๔๖
The GMO labeling regulation is enforced
บังคับใช้ กฎระเบียบการติดฉลาก จีเอ็มโอ
Ref: [9] Tanticharoen, M., Valyasevi, R., Donavanik, J., & Thanapaisal, T. (2003). Recent major developments of biotechnology in Thailand. Paper presented at the A Paper Distributed at the Consultative Meeting of Asia Cooperation Dialogue in Biotechnology, October.

2001-2002
๒๕๔๔-๔๕
Thai media coverage of GE papaya was low
สื่อไม่ค่อยสนใจ มะละกอ จีอี
July 2004
กค ๒๕๔๗
Greenpeace charged that GE papaya had been distributed beyond the confines of the field trial under the negligence of the DOA (Dept of Agri).  DOA responded by charging two Greenpeace campaigners with trespassing, theft, and destruction of property.
ข่าวครึกโครม เมื่อ กรีนพีซ กล่าวโทษ กรมการเกษตรว่า ปล่อยเมล็ดมะละกอข้ามสายพันธุ์ออกจากสถานีทดลอง ท่าพระ  ส่วนกรมการเกษตรตั้งข้อหา บุกรุก ลักทรัพย์ และทำลายทรัพย์สิน
Sep 2004
กย ๒๕๔๗
Agriculture Minister confirmed the GM seed leak. PM Thaksin ordered the destruction of all field trials in the country, following a cabinet decision to place a moratorium on all confined field trials in Thailand in addition to the 2001 ban on open field trials.
รมต เกษตร ยืนยันเมล็ดจีเอ็มรั่ว. นายกฯ ทักษิณ สั่งให้ทำลายการทดลองทั่วประเทศ หลังจากมติ ครม  ระงับการทดลอง เพิ่มจากการห้ามทดลองในทุ่งเปิด พ.ศ. ๒๕๔๔
2005
๒๕๔๘
Greenpeace and DOA battle in Thai courtrooms.  Not much news coverage.
กรีนพีซ และ กรมการเกษตร ขึ้นศาล  ข่าวจึงเงียบ
2005
๒๕๔๘
PM Thaksin chaired Nat’l Policy on Biotechnology Committee submitted draft on Nat’l Policy on Biotechnology (though the policy specific to the application of genetic engineering is still pending in 2007)
นายกฯ ทักษิณ เป็นประธาน คณะกรรมการนโยบายเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ เสนอร่าง นโยบายเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (แม้ว่า นโยบายเฉพาะเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้วิศวพันธุกรรม จะยังแขวนรออยู่ ในปี ๒๕๕๐)
2005
๒๕๔๘
A draft of the National Biosafety Law, ultimately overseen by the Ministry of Natural Resources and Environment, was completed in 2005 and has been under public review since that date (as of 2007)
ร่างกฎหมายความปลอดภัยทางชีวภาพแห่งชาติ ที่กระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมดูแลอยู่ เสร็จสิ้นลง และผ่านประชาพิจารณ์จนถึงเวลารายงาน (๒๕๕๐)
19 Sep ’06
๒๕๔๙
Coup d’etat ousted Thaksin regime, delayed legislation on biotechnology. But the interim postcoup govt. put Dr. Thira Sutabutra, biotech advocate, as Minister of Agric., who made several attempts to lift the moratorium throughout 2007.
รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ เลื่อนพิจารณากฎหมายไบโอเทค.  แต่รัฐบาลชั่วคราว ได้ให้ ดร.ธีระ สูตบุตร—นิยมไบโอเทค--เป็น รมต เกษตร, เขาได้พยายามตลอด พ.ศ. ๒๕๕๐ ที่จะยกเลิกข้อห้ามการทดลองเปิด
28 Aug. ’07
๒๕๕๐
Thira was scheduled to submit a proposal to the Thai cabinet to lift the ban. Greenpeace dumped roughly 10 metric tons of papaya in front of the Ministry of Agriculture building. The protest delayed the meeting, but Thai consumers show no support, even ‘‘backfire’’ on the Greenpeace activity.
เป็นข่าวครึกโครม เมื่อกรีนพีซ ขัดขวาง ครม ที่กำลังจะยกเลิกข้อห้ามการทดลองภาคสนาม ใน สค และ ธค ก่อนการเลือกตั้ง   กค ก่อน ธีระ ได้เสนอให้ยกเลิกข้อห้าม กรีนพีซ ได้ประท้วงหน้ากระทรวงเกษตรอย่างมโหฬาร ทำให้เลื่อนการประชุม  แต่สาธารณชน/ผู้บริโภคไทยไม่ได้ให้การสนับสนุน ทำให้เกิดการ ตีตลบกลับ ต่อกิจกรรมของกรีนพีซ
25 Dec ’07
๒๕๕๐
Thira’s proposal to lift the ban was turned down again, but cabinet put forth a compromise resolution that will allow limited field trials in government-secured facilities. Each application must be approved by the cabinet and will be open for public review.
ครม ไม่รับข้อเสนอของธีระอีก, แต่ประนีประนอมด้วยการยอมให้ทดลองภาคสนามอย่างจำกัดขอบเขต ในที่ของรัฐบาล.  การกระทำแต่ละครั้ง ต้องได้รับการอนุมัติจาก ครม และ ต้องเปิดให้มีประชาพิจารณ์
Ref: [7] Davidson, S. N. (2008). Forbidden fruit: transgenic papaya in Thailand. Plant physiology, 147(2), 487-493.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น