วันอังคารที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

218. สงครามฉกชิงเมล็ดพันธุ์ นำโดย USDA ในนามของ อมนุษย์โกไลแอธ


218. Seed-Grabbing War Led by USDA on behalf of Non-human Goliath

Revealed: How US State Department 'Twists Arms' on Monsanto's Behalf                        
Selling seeds, selling out democracy: US State Department does biotech industry's bidding
 - Jacob Chamberlain, staff writer
เปิดโปง: USDA “บิดแขน” ในนามของ มอนซานโต
ขายเมล็ด, ขายทิ้งประชาธิปไตย: USDA ทำการประมูล/พนันขันต่อของอุตสาหกรรมไบโอเทค
-เจค็อบ แชมเบอร์เลน
ดรุณี ตันติวิรมานนท์ แปล
The U.S. State Department does the bidding of biotech giants like Monsanto around the world by "twisting the arms of countries" and engaging in vast public campaign schemes to push the sale of genetically modified seeds, according to a new report released Tuesday by Food & Water Watch.
USDA ทำการประมูลให้ยักษ์ใหญ่ไบโอเทค เช่น มอนซานโต ทั่วโลก ด้วยการ “หักแขนของประเทศต่างๆ” และ เข้ายุ่งเกี่ยวกับแผนการรณรงค์สาธารณะมหึมา เพื่อผลักดันการขายเมล็ด จีเอ็ม (ตัดแต่งทางพันธุกรรมแล้ว), ตามรายงานข่าวใหม่ที่เผยวันอังคาร โดย กลุ่มเฝ้าระวังอาหารและน้ำ.

 (International Institute of Tropical Agriculture, Nigeria)
The report, Biotech Ambassadors: How the U.S. State Department Promotes the Seed Industry’s Global Agenda, which pulls from over 900 State Department diplomatic cables (obtained via WikiLeaks), reveals an environment wherein US ambassadors act as sales representatives for the global biotech industry.
รายงาน, ทูตไบโอเทค: USDA โปรโมท วาระโลกของอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ อย่างไร, ซึ่งดึงข้อมูลจากสายเคเบิล (ได้จาก WikiLeaks) ของนักการทูต USDA กว่า 900 ราย, เผยสภาพแวดล้อมที่ๆ ทูตสหรัฐฯ ปฏิบัติตัวดั่ง เซลแมน (ผู้แทนการเร่ขาย) สำหรับอุตสาหกรรมไบโอเทคโลก.
U.S. ambassadors and their staffs actively lobby foreign governments to adopt pro-biotechnology policies and laws, create "rigorous public relations campaigns to improve the image of biotechnology" and challenge "commonsense biotechnology safeguards and rules — including opposing genetically engineered (GE) food labeling laws."
บรรดาทูตสหรัฐฯ และ เจ้าหน้าที่ รุกคืบด้วยการล็อบบี้รัฐบาลต่างชาติอย่างแข็งขัน ให้ยอมรับนโยบายและกฎหมายที่เข้าข้าง ไบโอเทค และ สร้าง “การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ที่เคร่งครัด แม่นยำ เพื่อปรับปรุงภาพพจน์ของไบโอเทคโนโลยี” และ ท้าทาย “กฎระเบียบข้อบังคับเพื่อควบคุมไบโอเทคโนโลยี แบบตามสามัญสำนึก”—รวมทั้ง ต่อต้านกฎหมายที่บังคับให้ติดฉลาก จีอี (วิศวพันธุกรรม).
"It really goes beyond promoting the U.S.'s biotech industry and agriculture," said Wenonah Hauter, executive director of Food & Water Watch. "It really gets down to twisting the arms of countries and working to undermine local democratic movements that may be opposed to biotech crops, and pressuring foreign governments to also reduce the oversight of biotech crops."
“มันไปไกลโพ้นกว่า การโปรโมทอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมไบโอเทค ของ สหรัฐฯ”, เวโนนาห์ เฮาเตอร์ กล่าว (ผอ บริหารของ กลุ่มเฝ้าระวังฯ).  “จริงๆ แล้ว มันเป็นการหักแขนของประเทศ (เจ้าถิ่น) และ ทำงานเพื่อกัดเซาะขบวนการประชาธิปไตยท้องถิ่น ที่อาจคัดค้านพืชไบโอเทค, และ กดดันรัฐบาลต่างชาติให้ลดการจับผิดพืชไบโอเทค”.
As FWW reports, the State Department has gone to great lengths to see that biotech companies' desires are met:
ดังที่กลุ่มเฝ้าระวังฯ (หรือ FWW) ได้รายงาน, USDA ได้ยืดแขนออกไปยาวเหยียด เพื่อดูแลให้แน่ใจว่า สมแรงปรารถนาของบรษัทไบโอเทค.
The U.S. State Department’s multifaceted efforts to promote the biotechnology industry overseas: The State Department targeted foreign reporters, hosted and coordinated pro-biotech conferences and public events and brought foreign opinion-makers to the United States on high-profile junkets to improve the image of agricultural biotechnology overseas and overcome widespread public opposition to GE crops and foods.
ความพยายามแบบทศกัณฐ์ (หลายหน้าหลายแขน) ของ USDA เพื่อโปรโมทอุตสาหกรรมไบโอเทคโนโลยีโพ้นทะเล: USDA เล็งเป้าไปที่ผู้รายงานต่างประเทศ, ทำตัวเป็นเจ้าภาพประสานงานการประชุม ฝักใฝ่ไบโอเทค และ กิจกรรมสาธารณะต่างๆ และ นำบรรดานักออกความเห็นในต่างประเทศ ให้มาเที่ยวสหรัฐฯ ในกระบวนที่ตีฆ้องร้องป่าวเป็นข่าวดัง เพื่อปรับปรุงภาพพจน์ของเกษตรกรรมไบโอเทคในโพ้นทะเล และ เอาชนะ การคัดค้านสาธารณะที่แพร่หลาย ต่อ พืชและอาหาร จีอี.
The State Department’s coordinated campaign to promote biotech business interests: The State Department promoted not only pro-biotechnology policies but also the products of biotech companies. The strategy cables explicitly “protect the interests” of biotech exporters, “facilitate trade in agribiotech products” and encourage the cultivation of GE crops in more countries, especially in the developing world.
การรณรงค์ ที่ประสานการโดย USDA เพื่อโปรโมทผลประโยชน์ทางธุรกิจไบโอเทค: USDA โปรโมทไม่เพียง นโยบายเข้าข้างไบโอเทคโนโลยี แต่รวมผลผลิตของบริษัทไบโอเทคด้วย.  ยุทธศาสตร์นี้ ถูกส่งทางเคเบิลอย่างชี้เฉพาะว่า “ปกป้องผลประโยชน์” ของผู้ส่งออกไบโอเทค, “เอื้ออำนวยการค้าในผลิตภัณฑ์เกษตรไบโอเทค” และ ชักจูงให้เพาะปลูกพืช จีอี ในมากประเทศขึ้น, โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกกำลังพัฒนา.
The State Department’s determined advocacy to press the developing world to adopt biotech crops: The diplomatic cables document a coordinated effort to lobby countries in the developing world to pass legislation and implement regulations favored by the biotech seed industry. This study examines the State Department lobbying campaigns in Kenya, Ghana and Nigeria to pass pro-biotech laws.
การสนับสนุนอย่างมุ่งมั่นเด็ดเดี่ยวของ USDA เพื่อกดดันให้โลกกำลังพัฒนา ให้ยอมรับพืชไบโอเทค: เคเบิลการทูต เป็นเอกสารบันทึก ความพยายามที่สานประสาน เพื่อล็อบบี้ประเทศต่างๆ ในโลกกำลังพัฒนา ให้ออกกฎหมาย และ ดำเนินการกฎระเบียบที่เข้าข้างอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ไบโอเทค.  การศึกษานี้ ตรวจสอบการรณรงค์ล็อบบี้ของ USDA ในเคนยา, กานา และ ไนจีเรีย เพื่อให้ออกกฎหมายเข้าข้างไบโอเทค.
The State Department’s efforts to force other nations to accept biotech crop and food imports: The State Department works with the U.S. Trade Representative to promote the export of biotech crops and to force nations that do not want these imports to accept U.S. biotech foods and crops.
ความพยายามของ USDA ในการบังคับประเทศต่างๆ ให้ยอมรับการนำเข้าพืชและอาหารไบโอเทค: USDA ทำงานร่วมกับ ผู้แทนการค้าสหรัฐฯ เพื่อโปรโมทการส่งออกพืชไบโอเทค และ เพื่อบังคับชาติต่างๆ ที่ไม่ต้องการนำเข้าสิ่งเหล่านี้ ให้ยอมรับอาหารและพืชไบโอเทคของสหรัฐฯ.
“It’s not surprising that Monsanto, DuPont, Syngenta, Bayer and Dow want to maintain and expand their control of the $15 billion global biotech seed market, but it’s appalling that the State Department is complicit in supporting their goals despite public and government opposition in several countries,” said Ronnie Cummins, executive director of Organic Consumers Association. “American taxpayer’s money should not be spent advancing the goals of a few giant biotech companies.”
“มันไม่น่าประหลาดใจเลย ที่ มอนซานโต, ดูปองต์, ซินเจนตา, ไบเออร์ และ ดาว ต้องการธำรง และ ขยายอำนาจการควบคุมตลาดเมล็ดพันธุ์ไบโอเทคของโลก ที่มีมูลค่าถึง $15 พันล้าน, แต่มันเป็นเรื่องน่าตระหนกกลัวที่ว่า หน่วยงานรัฐ USDA สุมหัวร่วมกระทำผิดในการสนับสนุนเป้าหมายของพวกบรรษัท ทั้งๆ ที่มีการต่อต้านคัดค้านทั้งจากสาธารณชนและรัฐบาลในหลายๆ ประเทศ”, รอนนี คัมมินส์, ผอ บริหาร ของสมาคมผู้บริโภคอินทรีย์, กล่าว.  “เงินของผู้เสียภาษีชาวอเมริกันไม่ควรจะถูกใช้เพื่อสร้างความก้าวหน้าให้บรรลุเป้าหมายของบรรษัทยักษ์ใหญ่ไบโอเทคเพียงไม่กี่ราย”.
"The biotech agriculture model using costly seeds and agrichemicals forces farmers onto a debt treadmill that is neither economically nor environmentally viable," said Ben Burkett, President of the National Family Farm Coalition.  “An overwhelming number of farmers in the developing world reject biotech crops as a path to sustainable agricultural development or food sovereignty."
“โมเดลเกษตรไบโอเทคที่ใช้เมล็ดพันธุ์แพง และ เคมีภัณฑ์เกษตร ได้บังคับให้เกษตรกรตกอยู่ในวังวนหนี้ ที่ไม่มีทางรอดทั้งด้านเศรษฐกิจและด้านสิ่งแวดล้อม”, เบน เบอร์เก็ตต์, ประธาน เครือข่ายครอบครัวเกษตรแห่งชาติ, กล่าว.  “เกษตรกรจำนวนล้นหลามในประเทศกำลังพัฒนา ได้ปฏิเสธพืชไบโอเทค ในฐานะที่เป็นหนทางสู่การพัฒนาเกษตรที่ยั่งยืน หรือ อธิปไตยทางอาหาร”.
"Thanks, Monsanto. And thanks, State Department. Not only are you selling seeds, you're selling out democracy," Hauter concludes.
“ขอบคุณนะ, มอนซานโต.  และขอบคุณนะ, USDA.  ไม่เพียงแต่พวกคุณกำลังขายเมล็ดพันธุ์, คุณกำลังขายทิ้งประชาธิปไตย”, เฮาเตอร์ สรุป.
_______________________
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-Share Alike 3.0 License
Published on Tuesday, May 14, 2013 by Common Dreams

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น