วันพุธที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

220. ไชโย! เราได้กระดกสู่ความไม่แน่นอนของมนุษย์ ในโลกร้อนที่กู่ไม่กลับ


220.  Bingo! We Tipped into Human Uncertainty in Runaway Global Warming

400 Parts Per Million: Climate Milestone is a Moment of Symbolic Significance on Road of Idiocy
The only way forward is back: to retrace our steps and seek to return atmospheric concentrations to around 350ppm
 by George Monbiot
400 ส่วนในล้าน: หลักไมล์ภูมิอากาศ เป็นเวลาสัญลักษณ์ที่มีนัยสำคัญ บนถนนแห่งความโง่เขลา
ทางเดียวที่จะไปต่อ คือ ถอยหลัง: หวนหาก้าวย่างเก่า และ แสวงหาทางคืนชั้นบรรยากาศสู่ระดับ 350 ppm
โดย  ยอร์จ มอนบิออต
ดรุณี ตันติวิรมานนท์ แปล
Reaching 400ppm is a moment of symbolic significance, a station on the Via Dolorosa of environmental destruction. (Underlying Photo: Corbis)

The data go back 800,000 years: that's the age of the oldest fossil air bubbles extracted from Dome C, an ice-bound summit in the high Antarctic. And throughout that time there has been nothing like this. At no point in the preindustrial record have concentrations of carbon dioxide in the air risen above 300 parts per million (ppm). 400ppm is a figure that belongs to a different era.
ข้อมูลย้อนหลังไป 800,000 ปี: นั่นเป็นปีที่ซากดึกดำบรรพ์เก่าแก่ที่สุดของฟองอากาศที่สกัดจาก โดมซี, ยอดน้ำแข็งสูงสุดที่แดนที่สูงของแอนตาคติค/ขั้วโลกเหนือ.  และตลอดเวลาที่ผ่านมา ไม่มีอะไรเหมือนสิ่งที่เกิดขึ้นตอนนี้.  ไม่มีเวลาไหนในยุคก่อนอุตสาหกรรมที่มีบันทึกความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศว่าได้ขึ้นสูงเกิน 300 ppm.  ตัวเลข 400 ppm อยู่ในยุคอื่น.
The difference between 399ppm and 400ppm is small, in terms of its impacts on the world’s living systems. But this is a moment of symbolic significance, a station on the Via Dolorosa of environmental destruction. It is symbolic of our failure to put the long-term prospects of the natural world and the people it supports above immediate self-interest.
ความแตกต่างระหว่าง 399ppm และ 400ppm เล็กน้อย, ในแง่ของผลกระทบต่อระบบมีชีวิตของโลก.  แต่นี่เป็นห้วงเวลาแห่งสัญลักษณ์ที่มีนัยสำคัญ, เป็นสถานีบนวิถี เวีย โดโลโรซา แห่งการทำลายล้างสิ่งแวดล้อม.  มันเป็นสัญลักษณ์แห่งความล้มเหลว ที่วางโอกาสระยะยาวของโลกธรรมชาติ และ มวลชนที่ได้พึ่งพาอาศัยอยู่ เหนือ ผลประโยชน์ส่วนตัวเฉพาะหน้า.
The only way forward now is back: to retrace our steps and seek to return atmospheric concentrations to around 350ppm, as the 350.org campaign demands. That requires, above all, that we leave the majority of the fossil fuels which have already been identified in the ground. There is not a government or an energy company which has yet agreed to do so.
ทางเดียวที่จะไปต่อ คือ ถอยหลัง: หวนหาก้าวย่างเก่า และ แสวงหาทางคืนชั้นบรรยากาศสู่ระดับ 350 ppm, ดังที่ การรณรงค์ 350.org ได้เรียกร้อง.  นั่นต้องการ, เหนือสิ่งอื่นใด, ให้เราปล่อยซากดึกดำบรรพ์ส่วนใหญ่ที่ถูกระบุขึ้น ให้อยู่ใต้ดิน.  ยังไม่มีรัฐบาลใด หรือ บริษัทพลังงานใด ที่ยอมทำเช่นนั้น.
Recently, Shell announced that it will go ahead with its plans to drill deeper than any offshore oil operation has gone before: almost 3km below the Gulf of Mexico. At the same time, Oxford University opened a new laboratory in its department of earth sciences. The lab is funded by Shell. Oxford says that the partnership "is designed to support more effective development of natural resources to meet fast-growing global demand for energy." Which translates as finding and extracting even more fossil fuel.
เมื่อเร็วๆ นี้, (น้ำมัน) เชลล์ ได้ประกาศว่า จะดินหน้าตามแผนของมันเพื่อขุดเจาะให้ลึกกว่าปฏิบัติการนอกชายฝั่งเดิม: เกือบ 3 กม ใต้อ่าวเม็กซิโก.  ในขณะเดียวกัน, มหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ด ได้เปิดห้องแล็ปใหม่ในคณะธรณีวิทยาของมัน.  ห้องแล็ปนี้ได้ทุนสนับสนุนจากเชลล์.  อ๊อกฟอร์ดบอกว่า หุ้นส่วนนี้ “ถูกออกแบบเพื่อสนับสนุนให้การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ มีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการ/อุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของโลกในด้านพลังงาน”.  ซึ่งแปลว่า ค้นหาและสกัดเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ให้มากยิ่งขึ้น.
The European Emissions Trading Scheme, which was supposed to have capped our consumption, is now, for practical purposes, dead. International climate talks have stalled; governments such as ours now seem quietly to be unpicking their domestic commitments. Practical measures to prevent the growth of global emissions are, by comparison to the scale of the challenge, almost nonexistent.
โครงการค้าการปล่อยก๊าซยุโรป, ซึ่งควรจะทำหน้าที่ปิดฝาการบริโภคของเรา, ตอนนี้ในความเป็นจริง, ตายแล้ว.  การเจรจาด้านภูมิอากาศระหว่างประเทศ ได้หยุดนิ่ง; บรรดารัฐบาล เช่น ของเรา ตอนนี้ ดูเหมือนกำลังหวนกลับไปผูกพันกับสัญญาในบ้านเงียบๆ.  มาตรการเชิงปฏิบัติเพื่อกีดกันการขยายตัวของการปล่อยก๊าซของโลก, เมื่อเทียบกับระดับท้าทาย, เกือบไม่มีเลย.
The problem is simply stated: the power of the fossil fuel companies is too great. Among those who seek and obtain high office are people characterised by a complete absence of empathy or scruples, who will take money or instructions from any corporation or billionaire who offers them, and then defend those interests against the current and future prospects of humanity.
พูดง่ายๆ ปัญหาคือ : อำนาจของบริษัทเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ยิ่งใหญ่มากเกินไป.  ในบรรดาผู้ที่ตะเกียกตะกายไต่เต้าให้ถึงตำแหน่งสูงๆ เป็นผู้คนที่ไร้ความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น หรือ หิริโอตัปปะอย่างสิ้นเชิง, ผู้รับเงิน หรือ ใบสั่งจากบรรษัทใดๆ หรือ เศรษฐีพันล้านคนไหน ที่ยื่นให้, แล้วก็ปกป้องผลประโยชน์ผู้อุปถัมภ์นั้นๆ ต่อต้าน โอกาสของมนุษยชาติในปัจจุบันและอนาคต.
This new climate milestone reflects a profound failure of politics, in which democracy has quietly been supplanted by plutocracy. Without a widespread reform of campaign finance, lobbying and influence-peddling and the systematic corruption they promote, our chances of preventing climate breakdown are close to zero.
หลักไมล์ภูมิอากาศใหม่นี้ สะท้อนถึงความล้มเหลวอย่างลึกล้ำของการเมือง, ที่ซึ่งประชาธิปไตยได้ระบอบคนมีเงินแย่งชิงไปครองเงียบๆ.  เมื่อปราศจากการปฏิรูปในการรณรงค์ด้านการเงินในวงกว้างและแพร่หลาย, การล็อบบี้ และ อิทธิพลหยุมหยิม และ การทุจริตในกลไก-ระบบ ที่พวกเขาส่งเสริม, โอกาสของพวกเราที่จะสกัดกั้นไม่ให้ภูมิอากาศพังทลาย เกือบศูนย์.
So here stands our political class at a waystation along the road of idiocy, apparently determined only to complete the journey.
ดังนั้น ณ จุดนี้ ที่ชนชั้นการเมืองของเรายืนอยู่ เป็นสถานีระหว่างทาง บนถนนแห่งความโง่เขลา, เห็นชัดว่า พวกเขามุ่งมั่นที่จะไปให้สุดทาง.
© 2013 The Guardian
George Monbiot is the author of the best selling books The Age of Consent: a manifesto for a new world order and Captive State: the corporate takeover of Britain. He writes a weekly column for the Guardian newspaper. Visit his website at www.monbiot.com
Published on Friday, May 10, 2013 by The Guardian

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น