วันพุธที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

222. วิทยาศาสตร์การแพทย์เพื่อรักษาชีวิตคนก่อนทำกำไร หรือ ทำกำไรก่อนช่วยชีวิตคน


222. Medical Science to Save Life before Profit, or to Profit before Save Life

Angelina Jolie's Cancer Testing and Corporate Control of Human Genes
The BRCA tests the actress had may be unavailable to thousands because they are held under patents
 - Andrea Germanos, staff writer
การตรวจมะเร็งของแองเจลินา โจลี และ การควบคุมพันธุกรรมมนุษย์โดยบรรษัท
วิธีตรวจ BRCA ที่ดาราใช้ อาจไม่เปิดให้คนนับพัน เพราะเป็นลิขสิทธิ์
-แอนเดรีย เยอร์มาโนส
ดรุณี ตันติวิรมานนท์ แปล
Actress Angelina Jolie's announcement on Tuesday that she underwent a double mastectomy following genetic testing underscores the broad implications of an upcoming U.S. Supreme Court decision on whether corporations can own human genes.
ดาราแองเจลินา โจลี ประกาศเมื่อวันอังคารว่า เธอได้เข้ารับการผ่าตัดเอาเต้านมออกสองครั้ง หลังจากการตรวจพันธุกรรม เป็นการเน้นย้ำถึงความหมายโดยนัยที่ครอบคลุมกว้างขวาง ของคำตัดสินของศาลสูงสุดที่กำลังจะมาถึง ว่า บรรษัทสามารถเป็นเจ้าของพันธุกรรมของมนุษย์ได้หรือไม่.
 Foreign Secretary William Hague with UN High Commissioner for Refugees Angelina Jolie at the G8 Foreign Ministers meeting in London, 11 April 2013. (Photo: Foreign and Commonwealth Office)

Jolie announced that she had a double mastectomy after genetic testing revealed she carried “a ‘faulty’ gene, BRCA1, which sharply increases [the] risk of developing breast cancer and ovarian cancer.”   The mother of six, whose own mother died after a nearly 10-year battle with cancer at 56, made the decision to have the surgery “to be proactive and to minimize the risk as much [she] could.”
โจลี ประกาศว่า เธอได้รับการผ่าตัดเต้านมซ้ำสอง หลังจากการตรวจทางพันธุกรรม เผยว่า เธอเป็นพาหะของพันธุกรรม “ผิดแผก”, BRCA1, ซึ่งเป็นต้นเหตุเพิ่มความเสี่ยงของการพัฒนาไปเป็นมะเร็งเต้านมและมะเร็งมดลูกได้”.  โจลีเป็นแม่ลูกหก, แม่ของเธอตายหลังจากต่อสู้กับมะเร็งเกือบ 10 ปี เมื่ออายุได้ 56 ปี, ได้ตัดสินใจที่จะเข้าผ่าตัด “เป็นการรุก และ ลดความเสี่ยงให้มากที่สุดเท่าที่เธอจะทำได้”.
In an op-ed in Tuesday's New York Times, Jolie writes:
ใน op-ed ของนิวยอร์กไทมส์ วันอังคาร, โจลีเขียนว่า.
Breast cancer alone kills some 458,000 people each year, according to the World Health Organization, mainly in low- and middle-income countries. It has got to be a priority to ensure that more women can access gene testing and lifesaving preventive treatment, whatever their means and background, wherever they live. The cost of testing for BRCA1 and BRCA2, at more than $3,000 in the United States, remains an obstacle for many women.
ลำพังมะเร็งเต้านมฆ่า 458,000 ชีวิตทุกปี, ตามรายงานของ WHO, ส่วนมากในประเทศรายได้ต่ำและปานกลาง.  จะต้องให้ความสำคัญในการสร้างหลักประกันว่า ผู้หญิงเข้าถึงการตรวจพันธุกรรม และ การรักษาต้นทางที่ถนอมชีวิต ได้มากขึ้น, ไม่ว่าพวกเธอจะมีฐานะ ภูมิหลังอย่างไร, ไม่ว่าจะอาศัยอยู่ที่ไหน.  ต้นทุนสำหรับการตรวจ  BRCA1 และ BRCA2, ที่สูงกว่า $3,000 ในสหรัฐฯ, ยังคงเป็นอุปสรรคสำหรับผู้หญิงหลายคน.
That testing is done only by Salt Lake City-based Myriad Genetics because they own the patents for those genes, patents the ACLU and the Public Patent Foundation (PUBPAT) say are unconstitutional and invalid because "genes are the foundation of life" and should not be under corporate control.  The U.S. Supreme Court is weighing in on that fight.
การตรวจนี้ มีแค่ที่ Myriad Genetics ที่อยู่ในเมือง Salt Lake City เพราะพวกเขาเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ของพันธุกรรม/ยีนส์ เหล่านั้น, แต่ ACLU และ PUBPAT (มูลนิธิลิขบัตรสาธารณะ) บอกว่า เป็นลิขสิทธิ์ที่ไม่ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ และ ใช้การไม่ได้ เพราะ “ยีนส์ เป็นพื้นฐานของชีวิต” และ ไม่พึงอยู่ภายใต้อำนาจการควบคุมของบรรษัท.  ศาลสูงสุดสหรัฐฯ กำลังชั่งน้ำหนักในศึกนี้.
As we reported,
ดังที่เราได้รายงานไป,
The defendant in the case Association for Molecular Pathology v. Myriad Genetics, Inc. is claiming to "own" two genes related to hereditary breast and ovarian cancer, BRCA 1 and BRCA 2. Myriad Genetics argues that the genes become their "invention" once they are "isolated," or removed from the cell and therefore they have the right to stop anyone from using these genes, whether for clinical or research purposes.
จำเลยในกรณี สมาคมพยาธิวิยาระดับโมเลกุล พบ Myriad Genetics, Inc. อ้างว่า “เป็นเจ้าของ” ยีนส์ 2 ตัว ที่เกี่ยวพันกับกรรมพันธุ์/การส่งถ่ายมะเร็งเต้านมและมดลูก, BRCA 1 และ BRCA 2.  Myriad Genetics แย้งว่า ยีนส์ดังกล่าว ได้กลายเป็น “สิ่งประดิษฐ์” ของพวกเขา ทันทีที่พวกมันถูก “แยก”, หรือ เอาออกจากเซล และ ดังนั้น พวกเขามีสิทธิ์ที่จะยัยยั้งไม่ให้ผู้ใดใช้ยีนส์เหล่านี้, ไม่ว่าจะเพื่อวัตถุประสงค์ทางคลินิก หรือ วิจัย.
"The Patent Office's policy of granting companies complete control over portions of our bodies is both morally offensive and a clear violation of the law," said the suit's co-counsel Daniel B. Ravicher, executive director of the Public Patent Foundation (PUBPAT). "Genes are the foundation of life, they are created by nature, not by man, and that is why we were here today at the Supreme Court to make sure they are not controlled by corporations through the patent system."
“นโยบายของสำนักงานสิทธิบัตร ในการอนุญาตให้บริษัทมีอำนาจเบ็ดเสร็จในการควบคุมบางส่วนของร่างกายของเรา เป็นเรื่องทั้งน่าสะอิดสะเอียนทางศีลธรรม และ เป็นการละเมิดกฎหมายอย่างชัดเจน”, เดเนียล ราวิเชอร์, ทนายร่วม และ ผอ.บริหารของ มูลนิธิสิทธิบัตรสาธารณะ.  “ยีนส์ เป็นรากฐานของชีวิต, มันถูกสร้างโดยธรรมชาติ, ไม่ใช่ฝีมือคน, และนี่คือเหตุผลที่พวกเรามาอยู่ที่นี่วันนี้ ที่ศาลสูงสุด เพื่อทำให้แน่ใจว่า มันจะไม่ถูกบรรษัทควบคุมผ่านระบบลิขสิทธิ์”.
Thomas Hedges added that Myriad's ownership of the genes "guarantees monopoly control over research into cancer. It discourages many other researchers from exploring treatment, something that could ultimately stunt our capacity for medical advances."  The monopoly also provides insured profits for Myriad.
โธมัส ฮิวจ์ส เสริมว่า ความเป็นเจ้าของยีนส์ ของ Myriad “เป็นหลักประกันการผูกขาดการวิจัยเรื่องมะเร็ง.  มันทำให้นักวิจัยอื่นๆ ท้อแท้ที่จะสำรวจหาทางรักษา, บางอย่างที่อาจหยุดยั้งสมรรถนะของเราในการพัฒนาการแพทย์ให้ก้าวหน้าในที่สุด”.  การผูกขาดก็ยังเป็นหลักประกันกำไรสำหรับ Myriad.
Jolie references the high cost of the testing, and Ellen Matloff, director of cancer genetic counseling at the Yale Cancer Center, has said:
โจลี อ้างถึงราคาแสนแพงของการตรวจ, และ เอลเอล แมทลอฟฟ์, ผอ. ที่ปรึกษาพันธุกรรมมะเร็ง ที่ศูนย์มะเร็ง เยล, กล่าวว่า.
I think that this patent, which has jacked up the prices and made testing more difficult in many circumstances, may be preventing hundreds and maybe thousands and thousands of people from learning that they are at high risk for these terrible disease.
ฉันคิดว่า สิทธิบัตรนี้, ซึ่งถีบราคาให้สูงลิ่ว และ ทำให้การตรวจยากขึ้นในหลายๆ โอกาส, อาจกีดขวางคนหลายร้อย และ อาจหลายพัน จากการเรียนรู้ว่า ตนเองมีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นโรคร้ายนี้.
Yale Alumni Magazine adds:
แมกกาซีน ศิษย์เก่าเยล เสริมว่า.
 “The patenting of genes is probably the one issue that affects every human being in the entire world,” Ellen Matloff says. “Male, female; black, white, Hispanic; sick, healthy—we all have genes. What this will do to the future of medicine is so grave that a few people have to step forward and put their necks out.”
“การจดสิทธิบัตรของยีนส์ คงเป็นประเด็นหนึ่งที่กระทบมนุษย์ทุกคนในโลกทั้งหมด”, เอลเลน แมทลอฟฟ์ กล่าว.  “ชาย, หญิง; ดำ, ขาว, ฮิสปานิก; ป่วย, แข็งแรง—พวกเราทั้งหมดมียีนส์.  สิ่งที่เจ้านี่จะทำต่ออนาคตของการแพทย์ เป็นเรื่องร้ายแรงมาก จนบางคนจะต้องก้าวออกมาและยื่นคอออกไป”.
A decision in the lawsuit in expected this summer.
คำตัดสิน คาดว่าจะออกมาในฤดูร้อนนี้.
______________________
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-Share Alike 3.0 License
Published on Tuesday, May 14, 2013 by Common Dreams

1 ความคิดเห็น:

  1. ขออภัยที่แปลผิดคำว่า patent ควรเป็น "สิทธิบัตร" ซึ่งมีเงื่อนไขซับซ้อนกว่า "ลิขสิทธิ์"

    ตอบลบ