Published
on Wednesday, April 11, 2012 by Common Dreams
Study: Autism Linked to Industrial
Food, Environment
การศึกษา ออติซึม
(อาการคิดหมกมุ่น) ถูกเชื่อมโยงกับอาหารผลิตจากโรงงาน และสิ่งแวดล้อม
Report cites prevalence of
high-fructose corn syrup in US diet as possible contributor to alarming
epidemic
- Common Dreams staff
รายงานได้ระบุว่า
ปริมาณน้ำตาลฟรุคโต๊สสูงของน้ำหวานที่ทำจากข้าวโพดในโภชนาการของสหรัฐฯ อาจเป็นต้นเหตุของการก่อเกิดโรคระบาดที่น่าตกใจ
- คอมมอนดรีม
A new study by Clinical Epigenetics, a peer-reviewed journal
that focuses largely on diseases, has found that the rise in autism in the
United States could be linked to the industrial food system, specifically the
prevalence of high-fructose corn syrup (HFCS) in the American diet. The study,
published yesterday online, explores how mineral deficiencies could impact how
the human body rids itself of common toxic chemicals like mercury and
pesticides. The report comes just after a different report, from the Centers
for Disease Control and Prevention, documented a startling rise in autism in the United States.
การศึกษาใหม่โดย Clinical Epigenetics (โรคระบาดทางพันธุกรรม)
ซึ่งเป็นวารสารที่ผ่านการทบทวนวิจารณ์โดยเพื่อนร่วมอาชีพ ที่มุ่งเน้นเรื่องโรค
ได้พบว่า โรคออติซึมที่เพิ่มขึ้นในสหรัฐฯ อาจเชื่อมโยงกับระบบอาหารจากอุตสาหกรรม
โดยชี้เฉพาะไปที่ปริมาณน้ำตาลฟรุคโต๊สที่สูงของน้ำหวานที่ทำจากข้าวโพด
(HFCS) ในโภชนาการของสหรัฐฯ งานศึกษานี้ ได้ถูกตีพิมพ์ออนไลน์เมื่อวานนี้
สำรวจว่า การขาดแร่ธาตุ สามารถมีผลกระทบอย่างไร
ต่อการทำงานของร่างกายในการขจัดสารเคมีที่เป็นพิษ เช่น ปรอท และยาฆ่าแมลง รายงานนี้ออกมาหลังรายงานอีกชิ้น
จากศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค ที่บันทึกการเพิ่มขึ้นจำนวนผู้ป่วยเป็นออติซึมอย่างน่าตกใจในสหรัฐฯ
An autistic child (photo: Help with Autism)
The report's key findings:
ผลของการศึกษา
·
Autism and related disorders affect
brain development. The current study sought to determine how environmental and
dietary factors, like HFCS consumption, might combine to contribute to the
disorder.
- ออติซึมและอาการไร้ระเบียบอื่นๆ มีผลกระต่อการพัฒนาของสมอง งานศึกษาปัจจุบันพยายามหาว่า ปัจจัยสิ่งแวดล้อมและโภชนาการ เช่น การบริโภค HFCS อาจรวมกันส่งผลให้เกิดความสับสนไร้ระเบียบ
·
Consumption of HFCS, for example, is
linked to the dietary loss of zinc, which interferes with the elimination of
heavy metals from the body. Many heavy metals like mercury, arsenic and cadmium
are potent toxins with adverse effects on brain development in the young.
- การบริโภคสารเช่น HFCS เชื่อมโยงกับการสูญเสียธาตุอาหารสังกะสี กลายเป็นสารที่แทรกแซงกลไกการขจัดธาตุโลหะหนักจากร่างกาย ธาตุโลหะหนัก เช่น ปรอท สารหนู และแคดเมียม มีพิษที่มีผลเสียหายต่อการพัฒนาสมองในเด็ก
·
HFCS consumption can also impact
levels of other beneficial minerals, including calcium. Loss of calcium further
exacerbates the detrimental effects of exposure to lead on brain development in
fetuses and children.
- การบริโภค HFCS สามารถส่งผลกระทบต่อระดับของแร่ธาตุอื่นๆ ที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย รวมทั้งแคลเซียม การสูญเสียแคลเซียม จะยิ่งเพิ่มความเสียหายต่อการพัฒนาสมอง เมื่อตัวอ่อนในครรภ์และเด็กสัมผัสกับตะกั่ว
·
Inadequate levels of calcium in the
body can also impair its ability to expel organophosphates, a class of
pesticides long recognized by the EPA and independent scientists as especially
toxic to the young developing brain.
- เมื่อร่างกายมีระดับแคลเซียมไม่เพียงพอ ก็จะทำลายความสามารถของร่างกายในการขับไล่สารฟอสเฟสอินทรีย์ ซึ่งเป็นยาฆ่าแมลงจำพวกหนึ่ง ที่ถูกสำนักป้องกันสิ่งแวดล้อม (EPA) และนักวิทยาศาสตร์อิสระ ขึ้นบัญชีดำไว้นานแล้ว ว่า เป็นพิษต่อการพัฒนาสมองในวัยเยาว์
* *
*
Clinical Epigenetics: Abstract
บทคัดย่อ
The number of children ages 6 to 21 in the United States
receiving special education services under the autism disability category
increased 91 % between 2005 to 2010 while the number of children receiving
special education services overall declined by 5 %. The demand for special
education services continues to rise in disability categories associated with
pervasive developmental disorders. Neurodevelopment can be adversely impacted
when gene expression is altered by dietary transcription factors, such as zinc
insufficiency or deficiency, or by exposure to toxic substances found in our
environment, such as mercury or organophosphate pesticides. Gene expression
patterns differ geographically between populations and within populations. Gene
variants of paraoxonase-1 are associated with autism in North America, but not
in Italy, indicating regional specificity in gene-environment interactions. In
the current review, we utilize a novel macroepigenetic approach to compare
variations in diet and toxic substance exposure between these two geographical
populations to determine the likely factors responsible for the autism epidemic
in the United States.
จำนวนเด็กอายุ
6 ถึง 21 ปี ในสหรัฐฯ ที่ได้รับบริการศึกษาพิเศษภายใต้ประเภท
ความพิการด้านออติซึม ได้เพิ่มสูงขึ้นเป็น 91
% ในระหว่างปี 2005 ถึง 2010 ในขณะที่
จำนวนเด็กทั้งหมดที่กำลังรับบริการศึกษาพิเศษ ลดลง 5
% ความต้องการต่อบริการศึกษาพิเศษ
เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในประเภทคนพิการ ที่เชื่อมโยงกับพัฒนาการของความไร้ระเบียบที่มีอยู่แพร่หลาย การพัฒนาประสาท สามารถถูกกระทบกระเทือนได้จนเสียหาย
เมื่อการแสดงออกของยีนส์/พันธุกรรม ถูกสับเปลี่ยนโดยปัจจัยที่มาพร้อมกับอาหาร เช่น
มีธาตุสังกะสีไม่เพียงพอ หรือขาดแคลน
หรือด้วยการสัมผัสกับสารพิษที่พบในสิ่งแวดล้อมของเรา เช่น ปรอท หรือ
ยาฆ่าแมลงฟอสเฟสอินทรีย์
แบบแผนของการแสดงออกของพันธุกรรม แตกต่างกันตามภูมิศาสตร์
ระหว่างกลุ่มประชากร และภายในกลุ่มประชากร
ตัวแปรพันธุกรรม paraoxonase-1
เชื่อมโยงกับออติซึมในอเมริกาเหนือ
แต่ไม่ใช่ในอิตาลี
ชี้ให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะของภูมิภาคในปฏิสัมพันธ์ของพันธุกรรม-สิ่งแวดล้อม ในบทความทบทวนนี้ เราใช้แนวทาง epigenetic มหภาค ในการเปรียบเทียบความแตกต่างในโภชนาการ และการสัมผัสสารพิษ
ระหว่างกลุ่มประชากรในสองภูมิประเทศ เพื่อตัดสินว่า
ปัจจัยใดที่น่าจะเป็นต้นเหตุของการแพร่ระบาดของออติซึมในสหรัฐฯ
* *
*
Institute for Agriculture and Trade
Policy: Study Links Autism with Industrial Food, Environment
สถาบันนโยบายเกษตรและการค้า: ศึกษาความเชื่อมโยงระหว่างออติซึมกับอาหารผลิตจากโรงงาน
สิ่งแวดล้อม
The epidemic of autism in children
in the United States
may be linked to the typical American diet according to a new study published
online in Clinical Epigenetics by Renee Dufault, et. al. The study explores how
mineral deficiencies—affected by dietary factors like high fructose corn syrup
(HFCS)—could impact how the human body rids itself of common toxic chemicals
like mercury and pesticides.
โรคระบาดออติซึมในเด็กในสหรัฐฯ
อาจเชื่อมโยงกับโภชนาการธรรมดาๆ ของชาวอเมริกัน ตามรายงานที่เพิ่งตีพิมพ์ออนไลน์ใน
Clinical Epigenetics โดย เรนี ดูฟอลท์ และคณะ การศึกษาได้สำรวจว่า การขาดแร่ธาตุ—ที่เป็นผลจากปัจจัยโภชนาการ
เช่น HFCS—มีผลต่อกระบวนการของร่างกายในการขจัดสารเคมีพิษร่วม
เช่น ปรอทและยาฆ่าแมลง ได้อย่างไร
The release comes on the heels of a
report by the Centers for Disease Control and Prevention (CDC) that estimates
the average rate of autism spectrum disorder (ASD) among eight year olds is now
1 in 88, representing a 78 percent increase between 2002 and 2008. Among boys,
the rate is nearly five times the prevalence found in girls.
การเผยแพร่งานศึกษาชิ้นนี้
ตามหลังติดๆ กับรายงานจาก ศูนย์การควบคุมและป้องกันโรค
ที่ประเมินอัตราเฉลี่ยของอาการออติซึม ในเด็กอายุ ๘ ปี ว่าปัจจุบัน มี 1 ใน 88 คน
ซึ่งคิดเป็นอัตราเพิ่มสูงขึ้น 78% ในระหว่างปี 2002
และ 2008 ในเด็กชาย
มีอัตราสูงกว่าในเด็กหญิงถึง 5 เท่าตัว
“To better address the explosion of autism, it’s critical
we consider how unhealthy diets interfere with the body’s ability to eliminate
toxic chemicals, and ultimately our risk for developing long-term health
problems like autism.” said Dr. David Wallinga, a study co-author and physician
at the Institute for Agriculture and Trade Policy (IATP).
“เพื่อแก้ไขการปะทุของออติซึมได้ดีขึ้น จำเป็นอย่างยิ่งที่เราจะต้องเข้าใจว่า อาหารขยะ
ได้แทรกแซงความสามารถของร่างกายของเราในการกำจัดสารเคมีพิษอย่างไร
ซึ่งในที่สุดมันได้ส่งผลให้เรามีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพระยะยาว เช่น
ออติซึม” ดร.เดวิด วอลลินกากล่าว
(ทีมศึกษา และแพทย์ที่สถาบันนโยบายเกษตรและการค้า)
ดรุณีแปล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น