'Monopoly': Calling the
Global Financial Sector What It Is
by Sasha Breger Bush
“การผูกขาด”
ชื่อที่แท้จริงของสถาบันการเงินโลก
-ซาช่า เบรเกอร์ บุ๊ช
New York Times columnists Protess and Scott report that
Barclays Bank is paying some US$450 million to regulators in the US and UK to
“resolve accusations” surrounding its manipulation of a key interest rate, the
London Inter-Bank Offer Rate (Libor), during the first years of the ongoing
global financial crisis. According to
the article, the Libor rate is used as a benchmark rate to price some US$350
trillion in financial products worldwide each year, from credit cards to
derivatives and student loans.
นักเขียนนิวยอร์คไทม์ โปรเตสส์ และสก๊อตต์ รายงานว่า
ธนาคารบาร์เคลส์ กำลังจ่ายเงินประมาณ $450 ล้าน แก่คนควบคุมในสหรัฐฯ และอังกฤษ เพื่อ “แก้การกล่าวหา”
เรื่องการชักใยปรับอัตราดอกเบี้ยสำคัญ นั่นคือ Libor (แปลตามอักษรว่า อัตราที่เสนอโดยระหว่างธนาคารในลอนดอน)
ในระหว่างปีแรกๆ ของภาวะวิกฤตเศรษฐกิจโลกที่กำลังดำเนินอยู่ ตามบทข่าว อัตรา Libor ถูกใช้เป็นอัตราบรรทัดฐานเพื่อกำหนดราคาผลิตภัณฑ์ทางการเงินทั่วโลกแต่ละปี
ที่มีมูลค่าประมาณ US$350 ล้านล้าน
ตั้งแต่บัตรเครดิตถึงบัตร/การกู้อื่นๆ และเงินกู้ของนักศึกษา
The Financial Times reports that the investigation now spans
12 regulators—from the US to Europe and Japan—and 20 banks, including the
multinational giants JP Morgan, Citigroup, Bank of America, UBS and Deutsche
Bank. The general idea is that the big banks—so far only Barclays has admitted
wrongdoing—misreported the rates at which they borrowed from other banks,
influencing the LIBOR rate so as to profit the banks. Barclays has also
admitted to allowing consultations between various bank departments, and
between itself and other banks, before reporting its rates to Libor, an illicit
practice.
ไฟแนนเชียลไทม์ รายงานว่า
การตรวจสอบตอนนี้ได้แพร่ไปถึงผู้ควบคุม ๑๒ คน—จากสหรัฐฯ ถึงยุโรป และญี่ปุ่น—และอีก
๒๐ ธนาคาร รวมทั้งบรรษัทข้ามชาติยักษ์ JP Morgan, Citigroup, Bank of
America, UBS และ
Deutsche Bank ความเห็นทั่วไป คือ ธนาคารใหญ่ๆ—ตอนนี้มีแค่ บาร์เคลส์
ได้ยอมรับผิด—บิดเบือนการรายงานอัตราที่พวกเขายืมมาจากธนาคารอื่น สร้างอิทธิพลปรับอัตรา LIBOR ให้พวกตนได้กำไร บาร์เคลส์ ได้ยอมรับว่า
ได้อนุญาตให้มีการปรึกษากันระหว่างหน่วยงานต่างๆ ของธนาคาร และระหว่างตัวเองกับธนาคารอื่นๆ ก่อนที่จะรายงานอัตราของมันเองให้ LIBOR
ซึ่งเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย
In most accounts, blame for such unsavory practices are
spread around from bank managers and employees seeking higher profits and lower
losses, to regulators who were asleep at the wheel, to the secretive and opaque
process by which the Libor rate is set.
Yet, behind the regulators and the greedy bankers, lies the ‘m’ word
that no one dares utter in the business presses—monopoly. The global financial
system is increasingly run by a few big firms operating in a highly
uncompetitive market place and wielding enormous power, often behind a veil of
secrecy, (intentional) regulatory blindness, and technical complexity.
การกล่าวโทษส่วนใหญ่ พุ่งไปที่การกระทำผิดเช่นนี้ ที่แผ่ขยายในหมู่จากผู้จัดการและลูกจ้างธนาคาร
ที่ต้องการเพิ่มกำไรและลดการสูญเสีย
ไปที่ผู้ควบคุมที่นอนหลับที่พวงมาลัยรถ ไปที่กระบวนการกำหนดอัตรา LIBOR ที่ลี้ลับและไม่โปร่งใส แต่ เบื้องหลังผู้ควบคุมและนายธนาคารตะกละ
คือ อักษร ‘m’ ที่ไม่มีใครกล้าเอ่ยเอื้อนในกระบวนการธุรกิจ—monopoly (การผูกขาด) ระบบการเงินโลกถูกบริหารโดยบริษัทใหญ่ๆ เพียงไม่กี่แห่ง
มากขึ้นทุกวัน ในตลาดที่ไม่มีการแข่งขันอย่างสูง พวกเขากุมอำนาจมหาศาล มักจะอยู่หลังผ้าคลุมแห่งความลี้ลับ การควบคุม (อย่างไม่ตั้งใจ) จุดบอด และความซับซ้อนเชิงเทคนิค
As any introductory economic textbook shows, imperfectly
competitive marketplaces (e.g. monopoly, monopsony, oligopoly and oligopsony)
are defined by the ability of a few firms, or only one firm, to manipulate
prices and other exchange terms. As
markets concentrate, and free competition is replaced by collusion and
superprofits, firms gain the market power to influence market rules and prices
in their own interest. Indeed, any
college freshman in a traditional economics department could foresee that
growing concentration in global credit markets would result in price
distortions, to the detriment of consumers and other less powerful actors. And, some might also be able to cite a few
examples of the manner in which market power confers political power, another
dangerous dimension of monopolistic market structures frequently noted in the
Marxist tradition, among others (think, say, of Goldman Sach’s ability to staff
the US Treasury and Federal Reserve).
ดังที่แสดงในหนังสือเรียน เศรษฐศาสตร์ขั้นต้น ว่า
ตลาดที่มีการแข่งขันไม่สมบูรณ์แบบ (เช่น การผูกขาด ผูกขาดโดยบุคคล? การปกครองโดยกลุ่มคนเล็กๆ และ ???) ถูกนิยามเป็น
ความสามารถของไม่กี่บริษัท หรือเพียงบริษัทเดียว
ในการชักใย/ปั่นราคาและอัตราการแลกเปลี่ยนอื่นๆ
เมื่อตลาดเริ่มกระจุกตัว การแข่งขันอย่างเสรี ถูกแทนที่ด้วยการสุมหัว
สมรู้ร่วมคิด และ พวกบริษัทที่ได้ซุปเปอร์กำไร ได้ชิงอำนาจของตลาด มีอิทธิพลข่มกฎกติกาตลาดและราคา
เพื่อรักษาผลประโยชน์ของตนเอง จริงๆ นะ
นักศึกษาปี ๑ ที่เรียนเศรษฐศาสตร์แบบเดิม จะคาดการณ์ได้ว่า
การกระจุกตัวมากขึ้นในตลาดเครดิตโลก จะยังผลให้เกิดการบิดเบือนราคา
ซึ่งส่งผลเสียหายต่อผู้บริโภค และบุคคลอื่นๆ ที่มีอำนาจน้อยกว่า และบางคนอาจอ้างตัวอย่างประกอบได้
ถึงวิธีการที่อำนาจตลาดจับมือกับอำนาจทางการเมือง อันเป็นมิติอันตรายของโครงสร้างตลาดผูกขาด
ที่มักจะกล่าวขานถึงในแนวมาร์กซิส
และตัวอย่างอื่นๆ (เช่น การที่ Goldman Sach แทรกซึมจนมีคณะทำงานอยู่ใน
การคลังและทุนสำรองของสหรัฐฯ)
Reintroducing the concept of monopoly into public discourse
is critical for seeing patterns of injustice in the global economy,
continuities that are otherwise obscured by national, geographic, partisan and
sectoral distinctions. And not just in the financial context. The word “monopoly” helps to understand why
it is that Greek citizens suffer austerity even as financial institutions get
rescue packages, just as it helps us to understand how it is that Starbucks
could rake in record profits from its coffee sales even as world prices fell to
record lows during 1998-2002. The word
“monopoly” helps us to see why our pigs and cattle are raised in confinement
with antibiotics and without any trace of humanity, just as it helps us to see
why small farmers in India are killing themselves by the tens of
thousands. The word “monopoly” untangles
the Mexican tortilla crisis, just as it unravels the overthrow of Arbenz in
Guatemala and Mossadeq in Iran. The word
“monopoly” helps us to understand why it is that Presidents Bush and Obama have
such a similar economic agenda, despite their playing for two different
political teams. And, just today, the
word “monopoly” helped me to understand how it is that it is illegal for me to
collect rainwater in my backyard here in Denver.
การนำกรอบคิด การผูกขาด
กลับมาใช้ในวาทกรรมสาธารณะ เป็นสิ่งสำคัญยิ่ง เพื่อให้เห็นแบบแผนของความ อยุติธรรม
ในเศรษฐกิจโลก ความต่อเนื่องที่ถูกบดบัง
ด้วยการแยกให้เห็นความแตกต่างตามชาติ ภูมิศาสตร์ พรรค และภาคส่วน มันไม่เพียงแต่ในบริบทของการเงิน คำว่า “ผูกขาด” ช่วยให้เราเข้าใจว่า
ทำไมพลเมืองกรีกต้องทนทุกข์กับนโยบายรัดเข็มขัด
ในขณะที่สถาบันการเงินได้รับเงินช่วยเหลือ
เหมือนกับที่มันช่วยให้เราเข้าใจว่า ทำไม Starbucks ยังคงสามารถกอบโกยกำไรมหาศาลจากการขายกาแฟ
ในขณะที่ราคาโลกตกต่ำในระหว่าง 1998-2002
คำว่า “ผูกขาด” ช่วยให้เราเห็นว่า
ทำไม หมูและวัวของเรา ต้องถูกเลี้ยงในคอกกักกัน ป้อนด้วยยาปฏิชีวนะ
และปราศจากมนุษยธรรมแม้แต่นิด
เหมือนกับที่มันช่วยให้เราเห็นว่า ทำไม ชาวนาเล็กๆ
ในอินเดียกำลังฆ่าตัวตายนับหมื่น คำว่า “ผูกขาด”
ช่วยให้เห็นกระบวนที่ทำให้เกิดวิกฤตทอร์ทิลยา (อาหารหลักพอๆ
กับโรตีของคนอินเดีย) เหมือนกับที่มันเปิดโปงการล้มล้าง Arbenz ในกัวเตมาลา และ Mossadeq ในอิหร่าน
คำว่า “ผูกขาด” ช่วยให้เราเข้าใจว่า ทำไมประธานาธิบดีบุ๊ช และ โอบามา มีวาระเศรษฐกิจที่เหมือนกัน
ทั้งๆ ที่เล่นอยู่คนละทีม และ
เหมือนในวันนี้ คำว่า “ผูกขาด”
ช่วยให้ฉันเข้าใจว่า มันเป็นอย่างไร ที่การรองน้ำฝนหลังบ้านของฉันในเดนเวอร์
เป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย
Justice demands that we call things what they are—indeed, we
must name the system to change it. In
this context, the “m” word allows clarity of thought and analysis in the face
of often overwhelming economic complexity. The “m” word allows us to strip the
economy of its competitive veil, allows us to de-robe the trusts and combines
of the 21st century. The “m” word prevents us from lapsing into the view that
all of these injustices—from antibiotic resistance to farmer suicide to coup
d’etat—must be treated separately by different movements and different
peoples. The “m” word allows us to see
the architecture of the global economy for what it is—a playground for the new
robber barons, a collection of corporate fiefdoms, an integrated system of
monopolies, with all of the typical injustices that such arrangements usher
forth.
ความยุติธรรมสั่งให้เราเรียกสิ่งต่างๆ
ตามความเป็นจริงของพวกมัน—เราจะต้องเรียกชื่อระบบ เพื่อเปลี่ยนแปลงมัน ในบริบทนี้ คำ “m” จะทำให้เกิดความชัดเจนในความคิดและการวิเคราะห์
เมื่อเผชิญกับความซับซ้อนด้านเศรษฐกิจที่ล้นหลาม
คำ “m”
อนุญาตให้เราดึงผ้าคลุมการแข่งขันในระบบเศรษฐกิจออก อนุญาตให้เราตบแต่งมันใหม่ด้วยความเชื่อถือและการรวมตัวกันของศตวรรษที่
๒๑ คำ “m” ป้องกันพวกเราไม่ให้หลงคิดไปว่า
ความอยุติธรรมทั้งหลาย—ตั้งแต่การดื้อยาปฏิชีวนะ จนถึง การฆ่าตัวตายของชาวนา
ถึงการปฏิวัติ—จะต้องดูเป็นเรื่องๆ แยกจากกัน โดยการเคลื่อนไหวต่างๆ
และคนกลุ่มต่างๆ คำ “m” อนุญาตให้เราเห็นสถาปัตยกรรมของระบบเศรษฐกิจโลก
อย่างที่มันเป็น—สนามเล่นสำหรับพวกโจรผู้ร่ำรวยมหาศาล ซึ่งเป็นกลุ่มบรรษัทศักดินา อันเป็นระบบผสมผสานของการผูกขาด ที่ประคับประคองรูปแบบการจัดการที่ประมวลความอยุติธรรมทั้งหมด
Sasha Breger Bush is a Lecturer at the Josef Korbel School
of International Studies at the University of Denver. Her new book, Derivatives and Development: A
Political Economy of Global Finance, Farming and Poverty, is due out this month
from Palgrave Macmillan. Email: sbreger@du.edu
ซาชา เบรเกอร์ บุ๊ช เป็นอาจารย์ ที่คณะการศึกษาระหว่างประเทศ
มหาวิทยาลัยเดนเวอร์ หนังสือใหม่ของเธอ Derivatives
and Development: A Political Economy of Global Finance, Farming and Poverty (ผลิตภัณฑ์การเงิน และ การพัฒนา: เศรษฐศาสตร์การเมืองของการเงิน การเกษตร และความยากจนของ โลก)
จะออกวางตลาดเดือนนี้
Published on Thursday, June 28, 2012 by Common Dreams
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น