278.
Profit or Prophet
The Moral Imperative of Activism
ธรรมจริยาของกิจกรรมรณรงค์ทางการเมือง
-
เรย์
แมคโกเวอร์น
ดรุณี
ตันติวิรมานนท์ แปล
That America is in deep moral and
legal trouble was pretty much obvious to everyone before Edward Snowden
released official documents showing the extent to which the U.S. government has
been playing fast and loose with the Fourth Amendment rights of Americans to be
protected against unreasonable searches and seizures.
การที่อเมริกาตกหล่มลึกยากลำบากทางศีลธรรมและกฎหมาย
เป็นเรื่องที่ทุกคนประจักษ์ชัดอยู่แล้ว ก่อนที่เอ็ดเวิร์ด สโนว์เดน
จะเปิดเผยเอกสารทางการที่แสดงให้เห็นถึงขอบเขตที่รัฐบาลสหรัฐฯ เล่นตลกอย่างรวดเร็วและเพ่นพ่านไปทั่วกับบัญญัติสิทธิข้อที่สี่ของชาวอเมริกัน
ที่ปกป้องไม่ให้มีการค้นหรือจับกุมที่ไร้เหตุผล.
The 1965 Selma-to-Montgomery march
was a key point in the civil rights movement. (File: Wikimedia)
การเดิรรณรงค์ในปี ๒๕๐๘ จากเซลมา สู่
มองต์โกเมอรี เป็นจุดพลิกผันสู่การเคลื่อนไหวสิทธิพลเมือง.
Snowden’s revelations – as explosive
as they are – were, in one sense, merely the latest challenge to those of us
who took a solemn oath to support and defend the Constitution of the United
States against all enemies foreign and domestic. That has been a commitment
tested repeatedly in recent years, especially since the 9/11 attacks.
การเปิดโปงของสโนว์เดน—ที่ระเบิดเถิดเทิง—ในแง่หนึ่ง,
เป็นเพียงการท้าทายครั้งล่าสุดต่อพวกเราที่ได้ปฏิญาณว่าจะสนับสนุนและปกป้องรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐฯ
ต่อต้านศัตรูทั้งปวงทั้งต่างชาติและในประเทศ.
นั่นเป็นพันธสัญญาผูกพันที่ได้ถูกทดสอบครั้งแล้วครั้งเล่าในไม่กี่ปีที่ผ่านมา,
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ตั้งแต่การจู่โจม 9/11.
After all the many troubling
disclosures — from torture to ”extraordinary renditions” to
aggressive war under false pretenses to warrantless wiretaps to lethal
drone strikes to whistleblowers prosecutions to the expanded
“surveillance state” – it might be time to take a moment for
what the Germans call “eine Denkpause,” a “thinking break.” And it is high
time to heed and honor the Noah Principle: “No more awards for predicting rain;
awards only for building arks.”
หลังจากการเปิดเผยที่สะท้อนปัญหามากมาย—ตั้งแต่การทรมาน ถึง “การปล่อยที่เกินธรรมดา”
สงครามก้าวร้าว ภายใต้การเสแสร้งบิดเบือนเพื่อดักฟังโดยไม่มีหมายศาล ถึง เครื่องบินจู่โจมแม่นยำที่ไร้คนขับ
ถึง การดำเนินคดีกับนักเป่านกหวีด ถึง การขยาย “รัฐที่จับตามอง”—มันอาจถึงเวลาแล้ว
ที่จะหยุดสักนิด เพื่อทำอย่างที่คนเยอรมันเรียกว่า “พักไตร่ตรอง”. และมันก็เป็นเวลาที่จะหันกลับไปใส่ใจและเชื่อฟังหลักการของโนอาห์,
“ไม่มีรางวัลสำหรับการพยากรณ์ฝนอีกต่อไป;
มีแต่รางวัลเพื่อการสร้างเรือ”.
This is our summer of
discontent. The question we need to ask ourselves is whether that
discontent will move us to action. Never in my lifetime have there been such
serious challenges to whether the Republic established by the Founders will
survive. Immediately after the Constitutional Convention, Ben Franklin told a
questioner that the new structure created “a Republic, if you can keep it.” He
was right, of course; it is up to us.
นี่คือ ฤดูร้อนแห่งความไม่พอใจ. คำถามที่เราจำเป็นต้องถามตัวเราเอง คือ
ความไม่พอใจนั้นจะขับเคลื่อนให้เราไปสู่ปฏิบัติการหรือไม่. ไม่เคยเลยในชั่วชีวิตของผม ที่มีเรื่องท้าทายขนาดนี้ว่า
สาธารณรัฐที่ปักหลักสร้างฐานโดยท่านผู้ก่อตั้ง จะอยู่รอดได้หรือไม่. ทันที หลังจากการรับรองรัฐธรรมนูญ, เบน
แฟรงคลิน กล่าวกับคนตั้งคำถามว่า โครงสร้างใหม่ที่สร้าง “สาธารณรัฐนี้,
คุณจะรักษามันได้หรือ.” เขาตอบถูก,
แน่นอน; มันขึ้นกับพวกเรา.
So let’s face it. The Obama
White House and its co-conspirators in Congress and the Judiciary have thrown
the gauntlet down at our feet. It turned out that we are the ones we’ve
been waiting for. As Annie Dillard, one of my favorite theologians, has put it,
“There is only us; there never has been any other.” And as one of my
favorite activists/prophets continued to insist, “Do not say there are not
enough of us. There ARE enough of us!”
ดังนั้น ขอให้เราเผชิญกับมัน.
ทำเนียบขาวภายใต้โอบามา และ พวกที่สมรู้ร่วมคิดในคองเกรส และ ฝ่ายตุลาการ
ได้ขว้างถุงมือฟันดาบลงที่เท้าของเรา (เป็นการท้าทาย). มันกลายเป็นว่า พวกเราคือ
คนที่พวกเราได้นั่งรอคอยมานาน. ดังที่
แอนนี ดิลลาร์ด, หนึ่งในนักเทววิทยาที่ผมโปรดปราน, ได้กล่าวไว้, “มีแต่พวกเราเท่านั้น; ไม่เคยมีคนอื่นใดเลย.”
และดังที่หนึ่งในนักกิจกรรม/ศาสดา ที่โปรดปรานของผม ได้ยืนกรานมาตลอด, “จงอย่าบอกว่า
พวกเรามีไม่มากพอ. มีพวกเรามากพอแล้ว!”
Besides threats to basic
constitutional rights and gross violations of international law, there
are other pressing issues for Americans, especially the obscene,
growing chasm between the very rich and the jobless (and often homeless)
poor. There is widespread reluctance, even so, to ask the key questions?
นอกจากภัยคุกคามต่อสิทธิทางรัฐธรรมนูญขั้นพื้นฐาน และ การละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศอย่างอุกอาจ,
ยังมีประเด็นเร่งด่วนอีกมากสำหรับชาวอเมริกัน, โดยเฉพาะอย่างยิ่ง รอยร้าวลามก
ที่ขยายกว้างขึ้น ระหว่างพวกคนรวยมากๆ และ พวกคนจนไร้งาน (และมักไร้ที่อยู่อาศัย). แม้กระนั้นแล้ว ก็ยังมีความรู้สึกอึกอัก
ไม่สู้เต็มใจ ที่จะตั้งคำถามหัวใจ.
Is it right to fire teachers, police
and firefighters; to close libraries; leave students in permanent debt; gut
safety-net programs – all by feigning lack of money? Yet, simultaneously,
is it moral to squander on the Pentagon and military contractors half of the
country’s discretionary income from taxes – an outlay equivalent to what the
whole rest of the world put together spends for defense?
มันถูกไหมที่จะไล่ครู, ตำรวจ และ คนดับเพลิง; ที่จะปิดห้องสมุด;
ปล่อยให้นักศึกษาตกอยู่ในบ่วงหนี้ถาวร; ทึ้งทิ้งโปรแกมประกันสังคม—ทั้งหมดด้วยการเสแสร้งว่า
ขาดแคลนเงิน? แต่, ในเวลาเดียวกัน,
มันถูกศีลธรรมไหมที่จะถลุงกึ่งหนึ่งของรายได้ประเทศจากภาษี ไปกับสัญญาจ้างของเพนตากอนและกองทัพ—จำนวนเงินที่เท่ากับค่าใช้จ่ายทั้งหมดเพื่อการป้องกันประเทศของส่วนที่เหลือของโลก?
It seems we are guided far more by
profits than by prophets. And without prophetic vision, the people perish.
ดูเหมือนว่า พวกเราจะถูกชี้นำโดยกำไร มากกว่า โดยศาสดา. และเมื่อไร้วิสัยท้ศน์ของศาสดา,
ประชาชนย่อมสูญสิ้นย่อยยับ.
Profit Margin / ขอบเขตของกำไร
America’s lucrative war-making
industry operates within a fiendishly self-perpetuating business model: U.S.
military interventions around the world (including security arrangements to
prop up unpopular allies and thus to thwart the will of large segments of
national populations) guarantee an inexhaustible supply of “militants,
insurgents, terrorists or simply ‘bad guys’” – a list that sometimes comes to
include American citizens.
อุตสาหกรรมกำไรงามในการทำสงครามของอเมริกา ดำเนินการภายในโมเดลธุรกิจเพื่อตัวเองดั่งปีศาจโหดร้าย: การแทรกแซงทางการทหารของสหรัฐฯ ทั่วโลก
(รวมทั้งการจัดแจงทางความมั่นคงเพื่อหนุนชูพันธมิตรที่ประชาชนไม่นิยม
อันเป็นการบดขยี้เจตจำนงค์ของประชากรของชาติส่วนใหญ่) ประกันได้ถึง อุปทาน/แหล่งที่ไม่มีวันเหือดแห้งของ
“คนที่ชอบการรบราฆ่าฟัน, กบฏก่อจลาจล, ก่อการร้าย หรือ เพียง ‘พวกอันธพาลคนเลว’”—ทะเบียนรายการที่บางครั้ง ก็เป็นรวมพลเมืองอเมริกันเข้าไปด้วย.
These troublemakers must be hunted
down and vaporized by our remote killing machines, which inflict enough
destruction and stir up enough outrage to generate even more “militants,
insurgents, terrorists or simply ‘bad guys.’”
พวกที่ชอบสร้างความเดือดร้อนเหล่านี้ จะต้องถูกไล่ล่า และ
ทำให้ระเหยหายไป ด้วยเครื่องจักรกลสังหารรีโมท (บังคับขับเคลื่อนทางไกล), ที่ทำลายล้างได้มากพอ
และ ปลุกปั่นให้เกิดความโกรธแค้นมากพอ ที่จะทำให้เกิด “คนที่ชอบการรบราฆ่าฟัน,
กบฏก่อจลาจล, ก่อการร้าย หรือ เพียง ‘พวกอันธพาลคนเลว’” มากยิ่งขึ้น.
And, in turn, the blowback toward
the United States — the occasional terrorist attack — creates enough fear at
home to “justify” the introduction of draconian Third Reich-style “Enabling
Act” legislation not very different from the unconstitutional laws ushering in
the abuses in Germany 80 years ago.
และ, ในทางกลับกัน, ก็เกิดการระเบิดกลับใส่สหรัฐฯ—การจู่โจมแบบก่อการร้ายเป็นครั้งคราว—ได้สร้างความหวาดกลัวมากพอเพื่อ
“สร้างความชอบธรรม” ให้นำวิธีการแบบไรค์ช (รัฐเยอรมัน) ที่สามผ่านทางกฎหมาย “พรบ
พระราชกำหนด” ที่ไม่ต่างจากกฎหมายที่ไม่ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ
ที่นำไปสู่การกระทำทารุณกรรมต่างๆ ในเยอรมันเมื่อ ๘๐ ปีก่อน.
With only muted murmur from
“progressive” supporters, the Obama administration has continued much of the
post-9/11 assault on constitutional rights begun by George W. Bush – and in
regard to Barack Obama’s aggressive prosecutorial campaign against
“leakers,” Obama has taken these transgressions even further.
ฝ่ายผู้สนับสนุน “หัวก้าวหน้า” ที่ได้แต่พึมพำ, รัฐบาลโอบามา
ได้ดำเนินการต่อเนื่อง ในกิจกรรมข่มเหงสิทธิทางรัฐธรรมนูญหลัง 9/11 ซึ่งเริ่มต้นขึ้นโดย ยอร์ช ดับเบิลยู. บุช—และเกี่ยวกับ
การไล่ล่าฟ้องร้องของ บารัค โอบามา เพื่อลงโทษ “พวกรั่วไหล”, โอบามา
ได้กระทำต่อพวกละเมิดเหล่านี้ไปไกลกว่านั้น.
Are we to look on, like the
proverbial “obedient Germans,” as Establishment Washington validates the truth
of James Madison’s warning: “If Tyranny and Oppression come to this land, it
will be in the guise of fighting a foreign enemy.”
พวกเราจะนั่งมอง, อุปมาเหมือน “เยอรมันที่เชื่อฟัง”,
ในขณะที่วอชิงตัน พิสูจน์ให้เห็นว่า คำเตือนของ เจมส์ เมดิสัน เป็นจริง: “หากทรราชย์ และ ผู้กดขี่ มาถึงดินแดนนี้,
มันจะแฝงอยู่ในคราบของการต่อสู้กับศัตรูต่างชาติ”.
Yet, while countless billions of
dollars are spent on “security” against “terrorism,” little attention is
devoted to the truly existential threat from global warming. Can we adults in
good conscience continue to shun the dire implications of climate change?
แต่, ในขณะที่เงินหลายพันล้านดอลลาร์ที่นับไม่ถ้วน
ได้ถูกใช้เพื่อ “ความมั่นคง” สู้กับ “ลัทธิผู้ก่อการร้าย”,
มีความสนใจน้อยมากที่อุทิศให้กับ ภัยคุกคามที่ธำรงอยู่อย่างแท้จริง จากภาวะโลกร้อน. พวกเราผู้ใหญ่ที่มีจิตสำนึกที่ดีอยู่
จะยังสามารถเมินเฉยกับนัยของภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงต่อไปได้ไหม?
This question was again brought home
to me personally on Aug. 6, as our ninth grandchild pushed her way out into a
world with challenges undreamed of just decades ago. When she is my age,
will she rue joining us last Tuesday? I can only hope she will forgive me
and my generation for not having the guts to face down those whose
unconscionable greed continues to rape what seemed to be a rather pure and
pleasant planet when I made my appearance seven short decades ago.
คำถามนี้ กลับมาที่ผมเป็นการส่วนตัวอีกครั้งเมื่อวันที่ ๖
สิงหาคม, ในขณะที่หลานคนที่เก้าของผม ได้ดั้นด้นหาทางออกมาสู่โลกที่เต็มไปด้วยปัญหาท้าทายที่นึกฝันไม่ถึงเมื่อเพียงหลายทศวรรษก่อน. เมื่อเธออายุเท่าผม,
เธอจะลงไปเดินบนถนนร่วมกับพวกเราเมื่อวันอังคารที่แล้วไหม? ผมได้แต่หวังว่า เธอจะให้อภัยผม และ คนรุ่นของผมที่ไม่มีความกล้าพอที่จะคว่ำพวกคนละโมบไร้จิตสำนึก
ที่ข่มขืน สิ่งที่ดูเหมือนเป็นพิภพที่บริสุทธิ์และน่าภิรมย์ เมื่อผมปรากฏตัวขึ้นเมื่อเจ็ดทศวรรษก่อน.
Prophets on the Margin
/ ศาสดาที่ชายขอบ
And, then there is the worship of “free market” idolatry which has savaged America’s Great Middle Class and expanded the ranks of the desperate poor. The late Rabbi Abraham Heschel had challenging words for us: Decrying the agony of the “plundered poor,” Heschel insisted that wherever injustice takes place, “few are guilty, but all are responsible.” He added that, “Indifference to evil is more insidious than evil itself.”
And, then there is the worship of “free market” idolatry which has savaged America’s Great Middle Class and expanded the ranks of the desperate poor. The late Rabbi Abraham Heschel had challenging words for us: Decrying the agony of the “plundered poor,” Heschel insisted that wherever injustice takes place, “few are guilty, but all are responsible.” He added that, “Indifference to evil is more insidious than evil itself.”
และแล้ว ก็มีการบูชาเทวรูป “ตลาดเสรี” ซึ่งได้ทำให้ชนชั้นกลางที่ยิ่งใหญ่ของอเมริกา
กลายเป็นคนป่าเถื่อน และ ขยายตำแหน่งของคนยากจน.
อดีต ศาสนาจารย์ (ยิว) อับราฮัม เฮซเชล
ได้กล่าวท้าทายพวกเราด้วยถ้อยคำเหล่านี้: การประณามเกี่ยวกับความเจ็บปวดทรมานของ
“คนยากจนที่ถูกปล้นสะดม”, เฮซเชล ยืนกรานว่า ไม่ว่าความอยุติธรรมใดๆ ที่เกิดขึ้น, “มีไม่กี่คนที่ทำผิด,
แต่คนทั้งหมดมีส่วนรับผิดชอบ”.
เขาเสริมว่า, “การนิ่งดูดายความชั่ว เป็นการกระทำลับๆ ล่อๆ ที่บ่อนทำลายยิ่งกว่าความชั่วร้ายเองเสียอีก”.
Dr. Martin Luther King, Jr., warned:
“A time comes when silence is betrayal … We must speak with all the humility
that is appropriate to our limited vision, but we must speak…. There is such a
thing as being too late…. Life often leaves us standing bare, naked, and
dejected with lost opportunity…. Over the bleached bones of numerous
civilizations are written the pathetic words: ‘Too late.’”
ดร.มาร์ติน ลูเธอร์ คิง, จูเนียร์, เตือนว่า: “เวลาจะมาถึง เมื่อความเงียบเป็นการทรยศ... พวกเราจะต้องพูดด้วยความนอบน้อมถ่อมตนที่เหมาะสมกับวิสัยทัศน์อันจำกัดของพวกเรา,
แต่พวกเราต้องพูด... มีสิ่งหนึ่ง สายเกินไป...
ชีวิตมักจะปล่อยให้พวกเรายืนโด่, เปล่าเปลือย, และเศร้าสลดห่อเหี่ยวกับโอกาสที่สูญหายไป... บนกระดูกฟอกขาวของอารยธรรมมากมาย มีคำน่าสมเพชจารึกอยู่:
‘สายเกินไป’. ”
Amid these daunting challenges –
endless war, encroachment on liberties, environmental devastation and economic
disparity – there is also the question: Are our churches riding shotgun for the
System.
ท่ามกลางความท้าทายที่น่าครั่นคร้าม—สงครามที่ไม่มีวันสิ้นสุด,
การคุกคามเสรีภาพ, การล้างผลาญสิ่งแวดล้อม และ การแยกขั้วทางเศรษฐกิจ—ยังมีคำถาม: ศาสนจักรของเรา เป็นส่วนหนึ่งในการปกป้องระบบหรือไม่.
As truly historic events unfold in
our country and abroad, I often think of Dietrich Bonhoeffer, the Lutheran
pastor who founded the Confessing Church as an alternative to the overwhelming
number of Catholics and Lutherans who gave priority to protecting themselves by
going along with Hitler. How deeply disappointed Bonhoeffer was at the failure
of the institutional church in Germany to put itself “where the battle rages.”
ในขณะที่เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่แท้จริงคลี่คลายในประเทศของเราหรือในต่างประเทศ,
ผมมักคิดถึง ไดทริช บอนฮูฟเฟอร์, บาทหลวงลูเธอร์ ผู้ก่อตั้ง นิกายสารภาพบาป
ให้เป็นทางเลือกของ นิกายคาทอลิคที่มีอยู่มากมาย และ ชาวลูเธอร์ ที่ให้ความสำคัญกับการปกป้องตนเองด้วยการคล้อยตามฮิตเลอร์. บอนฮูฟเฟอร์ คงจะผิดหวังอย่างลึกซึ้ง ที่สถาบันศาสนจักรในเยอรมันล้มเหลวที่จะวางตัวเอง
“ในที่ๆ สงครามลุกลามอย่างบ้าคลั่ง”.
This is the phrase Martin Luther
himself used centuries before: “If, I profess with the loudest voice and
clearest exposition every portion of the truth of God except precisely that
little point which the world and the devil are at the moment attacking, I am
not confessing Christ, however boldly I may be professing him. Where the battle
rages, there the loyalty of the soldier is proved and to be steady on all the
battlefield, except there, is mere flight and disgrace if one flinches at that
point.”
นี่เป็นวลีที่ มาร์ติน ลูเธอร์ เองได้ใช้เมื่อหลายศตวรรษก่อน: “หาก, ผมปฏิญาณด้วยเสียงดังที่สุด และพร่ำพรรณาทุกส่วนของสัจธรรมของพระเจ้าอย่างชัดถ้อยชัดคำที่สุด
ยกเว้นจุดเล็กจุดน้อยที่ชาวโลก และ ปีศาจ ในขณะนั้น กำลังโจมตีอยู่,
ผมก็ไม่ได้สารภาพต่อพระคริสต์,
ไม่ว่าผมจะปฏิญาณอย่างห้าวหาญอย่างไรต่อพระองค์.
ที่ใดที่สงครามลุกลามบ้าเลือด, ที่นั่น ทหารผู้จงรักภักดีจะถูกพิสูจน์ และเป็นเช่นนั้นในสมรภูมิทั้งหมด,
ยกเว้นที่นั่น, คือ เพียงการหนีและเสียหน้าหากคนหนึ่งผงะถอย ณ จุดนั้น.”
No one has put it better than a
precious new friend I met on a “cruise” in June/July 2011 hoping to reach Gaza
– author and poet Alice Walker – who said: “Activism is my rent for living on
this planet.”
ไม่มีใครกล่าวได้ดีกว่าเพื่อนใหม่ที่ทรงคุณค่าที่ผมพบใน “เรือ”
ในเดือน มิย/กค ๒๕๕๔ ด้วยหวังว่าจะไปให้ถึงกาซา—นักเขียนและ นักกวี อลิซ
วอล์คเกอร์—ผู้กล่าวว่า: “การทำกิจกรรม เป็นค่าเช่าของฉันสำหรับการอาศัยอยู่บนผืนพิภพนี้”.
As some of you know, that attitude
found her a passenger on “The Audacity of Hope” — the U.S. Boat to
Gaza. On July 1, 2011, we made an activist break for the open sea and Gaza
but were able to sail only nine nautical miles out of Athens before the Greek
government, under strong pressure from the White House, ordered its Coast Guard
to intercept us, bring us back to port, and impound our boat.
ดังที่คุณบางคนคงทราบ, ทัศนคติดังกล่าว ทำให้เธอได้ผู้โดยสารเพิ่มอีกคน
ร่วมท่องไปใน “ความก๋ากั่นของความหวัง”—เรือสหรัฐฯ สู่กาซา. ในวันที่ ๑ กค ๒๕๕๔, พวกเราได้เริ่มออกเดินทางรณรงค์สู่ทะเลกว้างและกาซา แต่ล่องไปได้เพียงเก้าไมล์ทะเลจากเอเธนส์
ก่อนที่รัฐบาลกรีก, ภายใต้แรงกดดันอย่างแรงจากทำเนียบขาว, ได้สั่งให้หน่วยตระเวนชายฝั่ง
ดักหยุดพวกเรา, และ นำพวกเรากลับสู่ท่าเรือ, และยึดเรือของพวกเรา.
Okay to be Angry? /
โอเคไหมที่จะโกรธ?
Recalling the anger I felt at the time, I was reminded that, all too often, people are conflicted about whether or not to allow themselves to be angry at such injustice – whether it be in Gaza, on the Aegean, or elsewhere. I had been in that category of doubt, until I remembered learning that none other than Thomas Aquinas had something very useful to say about anger.
Recalling the anger I felt at the time, I was reminded that, all too often, people are conflicted about whether or not to allow themselves to be angry at such injustice – whether it be in Gaza, on the Aegean, or elsewhere. I had been in that category of doubt, until I remembered learning that none other than Thomas Aquinas had something very useful to say about anger.
ย้อนระลึกถึงความโกรธที่ผมรู้สึกตอนนั้น, ผมถูกเตือนว่า,
บ่อยครั้ง, คนมักมีความขัดแย้งว่า ควรจะปล่อยให้ตัวเองโกรธกับความอยุติธรรมเช่นนี้
หรือไม่—ไม่ว่าจะเป็นในกาซา, บนมหาสมุทรเอเจียน, หรือที่ไหนก็ตาม. ผมเคยอยู่ในประเภทนั้นที่มีความสงสัย, จนกระทั่ง
ผมรำลึกถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้จาก โทมัส อควินาส ที่กล่าวบางอย่างที่เป็นประโยชน์ยิ่งเกี่ยวกับความโกรธ.
In the Thirteenth Century, Aquinas
wrote a lot about virtue and got quite angry when he realized there was no word
in Latin for just the right amount of anger — for the virtue of anger. He had
to go back to what Fourth-Century Doctor of the Church John Chrysostom said on
the subject: “He or she who is not angry, when there is just cause for anger,
sins.”
ในศตวรรษที่ ๑๓, อควินาส เขียนมากมายเรื่องคุณธรรม และ
ก็โกรธมากเมื่อเขาประจักษ์ว่า ไม่มีคำในภาษาลาตินสำหรับความโกรธในระดับที่ถูกต้องพอดี—สำหรับคุณธรรมของความโกรธ. เขาต้องย้อนกลับไปหาสิ่งที่แพทย์ของศาสนจักรในศตวรรษที่
๔ จอห์น ไครโซสโตม ที่กล่าวในหัวข้อนี้: “เขา หรือ เธอ
ที่ไม่โกรธ, เมื่อมีเหตุที่ชอบธรรมที่ต้องโกรธ, เป็นบาป”.
Why? Because as John Chrysostom put
it, “Anger respicit bonum justitiae, anger looks to the good of Justice, and if
you can live amid injustice without anger you are unjust.”
ทำไม? เพราะดังที่ จอห์น
ไครโซสโตม เขียนไว้, “ความโกรธ มองหาความดีแห่งความยุติธรรม,
และหากคุณสามารถมีชีวิตท่ามกลางความอยุติธรรมโดยไร้ความโกรธแล้ว คุณไม่มีความยุติธรรม”.
Aquinas added his own corollary; he
railed against what he called “unreasoned patience,” which, he said, “sows the
seeds of vice, nourishes negligence, and persuades not only evil people but
good people to do evil.”
อควินาส ได้เติมความเห็นของเขา;
เขาถากถางสิ่งที่เขาเรียกว่า “ความอดทนที่ไม่มีเหตุผล”, ซึ่งเขาบอกว่า, “หว่านเมล็ดแห่งความชั่ว,
หล่อเลี้ยงความเมินเฉยละเลย, และชักจูงไม่เพียงคนชั่วร้าย แต่ยังยุให้คนดี
ทำชั่วด้วย”.
Frankly, I have not thought of us
activists being virtuous — but maybe we are, at least in our willingness to
channel our anger into challenging and changing the many injustices here and
around the world. There should be no room these days for “unreasoned patience.”
ด้วยความสัตย์ซื่อ, ผมไม่ได้คิดว่าพวกเรานักกิจกรรม/รณรงค์
เป็นผู้ทรงคุณธรรม—แต่พวกเราอาจเป็นก็ได้,
อย่างน้อยในความที่พวกเรายินดีที่จะรวบรวมความโกรธของพวกเราเป็นการท้าทาย และ
เปลี่ยนความอยุติธรรมหลายอย่างที่นี่และรอบโลก.
ทุกวันนี้ ไม่ควรมีที่ว่างสำหรับ “ความอดทนที่ไม่มีเหตุผล”.
One saving grace peculiar not only
to the ancient prophets and theologians but to the Alice Walkers and Medea
Benjamins of today is that they did not get hung up on the all-too-familiar
drive for success. That drive, I think, is a distinctly American trait. We
generally do not want to embark on some significant course of action without
there being a reasonable prospect of success, do we? Who enjoys becoming the
object of ridicule?
สิ่งหนึ่งที่ช่วยป้องกันไม่เพียงแต่ศาสดาและนักเทววิทยาในโบราณกาล
แต่ยังรวมถึง อลิส วอล์คเกอร์ และ มีเดีย เบนจามินส์ ของทุกวันนี้ด้วย คือ
พวกเขาไม่ได้เกาะยึดกับแรงขับกระหายความสำเร็จที่ทุกคนคุ้นเคย. แรงขับนั้น, ผมคิดว่า,
เป็นสันดานชัดเจนของชาวอเมริกันเลยทีเดียว.
โดยทั่วไป พวกเราไม่ต้องการลงเรือ ร่วมปฏิบัติการทำสิ่งใดที่มีนัยสำคัญ โดยไม่มีความหวังว่าจะประสบความสำเร็จที่มีเหตุผลพอ,
ใช่ไหม? ใครชอบกลายเป็นเป้าของการหยอกล้อดูหมิ่น?
The felt imperative to be
“successful” can be a real impediment to acting for Justice. One
prophet/activist from whom I have drawn inspiration is Dan Berrigan. I’d like
to share some of the wisdom that seeps through his autobiography, To Dwell
in Peace.
ความรู้สึกว่า ต้อง “สำเร็จ”
สามารถเป็นอุปสรรคตัวจริงต่อการปฏิบัติการเพื่อความยุติธรรม. ศาสดา/นักกิจกรรมคนหนึ่ง
ที่ผมได้รับแรงบันดาลใน คือ แดน เบอร์ริแกน.
ผมใคร่ขอแบ่งปันภูมิปัญญาที่ซึมซาบผ่านอัตชีวประวัติของเขา, เพื่ออาศัยในสันติสุข.
Berrigan writes that after he, his
brother Phil, and a small group of others had used homemade napalm to burn
draft cards in Catonsville, Maryland, in May 1968 at the height of the Vietnam
War, Dan mused about why he took such a risk:
เบอร์ริแกน เขียนว่า หลังจากที่เขา, พี่ชายของเขาฟิล, และคนอื่นๆ
เป็นกลุ่มเล็กกลุ่มหนึ่ง ได้ใช้ระเบิดนาปาล์มที่ทำเอง เพื่อเผาบัตรเกณฑ์ทหารใน เคตันส์วิลล์,
แมรีแลนด์, ในเดือนพฤษภาคม ๒๕๑๑ ในช่วงสูงสุดของสงครามเวียดนาม,
แดนรำพึงถึงเหตุผลที่เขาร่วมเสี่ยงเช่นนั้น:
“I came upon a precious insight. …
Something like this: presupposing integrity and discipline, one is justified in
entering upon a large risk; not indeed because the outcome is assured, but
because the integrity and value of the act have spoken aloud. …
“ผมได้มาถึงความกระจ่างอันมีค่า. ... บางอย่างประมาณนี้: ก่อนมาถึง ศักดิ์ศรี และ วินัย, บุคคลมีความชอบธรรมที่จะเดินเข้าสู่ความเสี่ยงที่ใหญ่โต; จริงๆ แล้วไม่ใช่เพราะผลพวงมีหลักประกันไว้แล้ว, แต่เพราะศักดิ์ศรีและคุณค่าของการกระทำพูดได้ดังกว่า.
...
“Success or efficiency are placed
where they belong: in the background. They are not irrelevant, but they are far
from central. I was in need of such reflections as we faced the public after
our crime. … All sides agreed — we were fools or renegades or plain crazy. …
“ความสำเร็จ หรือ ความมีประสิทธิภาพ ถูกจัดวางอยู่ในที่ของมัน: ภูมิหลัง. มันไม่ใช่นอกเรื่อง,
แต่มันอยู่ห่างจากใจกลาง.
ผมอยู่ในภาวะที่ต้องการการไตร่ตรองเช่นนี้ ในขณะที่พวกเราเผชิญกับสาธารณชน
หลังจากที่เราได้ก่ออาชญากรรม. ... ทุกฝ่ายยอมรับ—พวกเราเป็นคนโง่ หรือ คนทรยศ
หรือ เพียงคนบ้าๆ บอๆ. ...
“One had very little to go on; and
one went ahead nonetheless. … The act was let go, its truth and goodness were
entrusted to the four winds. Indeed, good consequences were of small matter to
me, compared with the integrity of the action, the need responded to, the
spirits lifted.”
“บุคคลไม่มีอะไรมากที่จะเดินต่อไป; และบุคคลก็เดินหน้า แม้กระนั้น. ... การกระทำคือ การปล่อยวาง, ความจริง
และ ความดีงามของมัน เป็นสิ่งที่ฝากฝังไว้กับลมทั้งสี่ทิศ. จริงๆ แล้ว ผลลัพธ์ที่ดี ไม่ได้มีผลต่อผมนัก,
เมื่อเทียบกับศักดิ์ศรีในปฏิบัติการ, ความจำเป็นที่ต้องตอบสนอง, ที่ทำให้จิตใจฮึกเหิมและอาจหาญ”.
The more recent prophets and
activists I have known have generally been able to do this — to release the
truth of the act to the four winds. And I am sure that helps them avoid taking
themselves too seriously.
ศาสดาและนักกิจกรรมเมื่อเร็วๆ นี้ ที่ผมได้รู้จัก โดยทั่วไป
สามารถทำแบบนี้ได้—ปลดปล่อยสัจจะของการกระทำให้กับลมจากทั้งสี่ทิศ. และผมก็แน่ใจว่า การกระทำเช่นนั้นช่วยให้พวกเขาเลี่ยงการถืออัตตาตัวเองจริงจังเกินไป.
Anticipate the Jut-Jaw
/ คาดการณ์ จุท-จอว์
Here’s how Dan Berrigan recounts the immediate aftermath of the action at Catonsville:
Here’s how Dan Berrigan recounts the immediate aftermath of the action at Catonsville:
ต่อไปนี้ เป็นการเล่าของ แดน เบอร์ริแกน
ทันทีหลังจากปฏิบัติการที่ เคตันส์วิลล์.
“We sat in custody in the back room
of the Catonsville Post Office, weak with relief. … Three or four FBI
honchos entered portentously. Their leader, a jut-jawed paradigm, surveyed us
from the doorway. His eagle-eye lit on Philip. He roared out: ‘Him again! Good
God, I’m changing my religion!’
“พวกเรานั่งภายใต้การควบคุม อยู่ในห้องด้านหลังของไปรษณีย์
เคตันส์วิลล์, รู้สึกอ่อนเพลียและโล่งอก. ... พี่เบิ้ม เอฟบีไอ ๓-๔
คนเข้ามาในห้องอย่างวางก้าม. หัวหน้าของพวกเขา,
สำรวจพวกเราจากทางเข้า.
ตาเหยี่ยวของเขาจับจ้องที่ฟิลลิป.
เขาคำรามว่า: ‘เขาอีกแล้ว! พระเจ้า, ผมจะเปลี่ยนศาสนาของผม!’
“I could think of no greater tribute
to my brother.”
“ผมคิดว่า ไม่มีคำยกย่องอะไรที่จะยิ่งใหญ่กว่านั้น
สำหรับพี่ชายของผม”.
The Berrigans help affirm for me
that this God of ours is a God of laughter, and we are the entertainment. And
that’s just one reason a light touch seems to be required. Will we be
successful? Wrong question. The right one is will we be faithful? Will we
dare to go with the Berrigans to where the battle rages.
ครอบครัว เบอร์ริแกน ช่วยทำให้ผมมั่นใจว่า
พระเจ้าองค์นี้ของพวกเรา เป็นพระเจ้าช่างหัวเราะ,
และพวกเราก็เป็นคนทำให้เกิดความสนุกสนาน.
และนั่นก็เป็นเพียงเหตุผลเดียว ที่ดูเหมือนต้องการการแตะพียงเบาๆ ก็พอ. พวกเราจะสำเร็จไหม? คำถามผิด.
คำถามที่ถูก คือ พวกเราจะยังคงมีศรัทธาอยู่ไหม? พวกเรากล้าพอที่จะไปกับพวกเบอร์ริแกน ในที่ๆ
สงครามลุกโชน?
I am very much looking forward to
being able to refresh my spirit, and also my sense of humor, with some
later-day prophets at the upcoming Conference on the Moral Imperative of
Activism, Aug. 16-17, at the National Kateri Tekakwitha Shrine in Fonda, New
York.
ผมตั้งหน้าตั้งตารอคอยเวลาที่จะชุบวิญญาณความฮึกเหิมและอาจหาญอีกครั้ง,
และอารมรณ์ขันของผมด้วย, กับศาสดาบางคนของปัจจุบัน ในการประชุมที่จะมีขึ้นเร็วๆ
นี้ เรื่อง ธรรมจริยาของกิจกรรมรณรงค์ทางการเมือง, ๑๖-๑๗ สค., ที่ แท่นบูชา คาเตริ
เตคาควิธา แห่งชาติ ในเมือง ฟอนดา, นิวยอร์ก.
Let me close with a poem written by
the German writer Peter Gan in 1935 during the Third Reich. I think it
summons us in a thoughtful way to contemplate who we are and what we are called
to do – today.
ขอให้ผมจบด้วยบทกวี โดยนักเขียนเยอรมัน ปีเตอร์ กาน ในปี ๒๔๗๘
ในช่วง ไรค์ชที่สาม. ผมคิดว่า มันสั่งพวกเราด้วยวิธีที่คิดดีแล้ว
ให้ตรึกตรองว่า เราคือใคร และ เราถูกเรียกร้องให้ทำอะไร—วันนี้.
But first the most important thing: แต่ก่อนอื่น สิ่งที่สำคัญที่สุด:
“What are you doing in these great
times? “คุณกำลังทำอะไรอยู่ในห้วงเวลาที่ยิ่งใหญ่นี้?
“Great, I say, for times seem great “ยิ่งใหญ่,
ฉันพูด, เพราะเวลาดูเหมือนยิ่งใหญ่
to me, when each man driven สำหรับฉัน, เมื่อทุกคนถูกขับเคลื่อน
half to death by the era’s hate, กึ่งหนึ่งสู่ความตายด้วยความเกลียดชังแห่งยุค,
and standing in the place he’s given, และยืนอยู่ในที่ๆ เขาถูกกำหนด,
to me, when each man driven สำหรับฉัน, เมื่อทุกคนถูกขับเคลื่อน
half to death by the era’s hate, กึ่งหนึ่งสู่ความตายด้วยความเกลียดชังแห่งยุค,
and standing in the place he’s given, และยืนอยู่ในที่ๆ เขาถูกกำหนด,
“Must willy-nilly contemplate “จำใจต้องไตร่ตรอง
no less a thing than his own BEING! ไม่ต้องมีสิ่งใดน้อยกว่าความเป็นตัวของเขาเอง!
A little breath, a second’s wait ลมหายใจเล็กน้อย, การรอคอยสักหน่อย
May well suffice – you catch my meaning?” อาจมากพอแล้ว—คุณจับความหมายของฉันไหม?
no less a thing than his own BEING! ไม่ต้องมีสิ่งใดน้อยกว่าความเป็นตัวของเขาเอง!
A little breath, a second’s wait ลมหายใจเล็กน้อย, การรอคอยสักหน่อย
May well suffice – you catch my meaning?” อาจมากพอแล้ว—คุณจับความหมายของฉันไหม?
This
work is licensed under a Creative Commons Attribution-Share Alike 3.0 License
Ray McGovern works with Tell the
Word, the publishing arm of the ecumenical Church of the Saviour in Washington,
DC. During his career as a CIA analyst, he prepared and briefed the President's
Daily Brief and chaired National Intelligence Estimates. He is a member of the
Steering Group of Veteran Intelligence Professionals for Sanity (VIPS).
เรย์ แมคโกเวอร์น ทำงานกับ Tell
the Word, หน่วยโรงพิมพ์ของ Church of the Saviour ในวอชิงตัน, ดีซี.
ในระหว่างอาชีพนักวิเคราะห์ ซีไอเอ,
เขาได้เตรียมและย่อข่าวสารข้อมูลสำหรับประธานาธิบดีเป็นประจำทุกวัน และ
ได้เป็นประธานของ National Intelligence Estimates. เขาเป็นสมาชิกของ Steering Group of
Veteran Intelligence Professionals for Sanity (VIPS).
Very inspiring piece, Mr. McGovern.
Thank you for sharing all the quotes and related insights. You seem confident
that your latest grandchild will reach age 70. According to the reports on
Methane, that's a very optimistic stance. And I have two precious
grandchildren, myself...
The roof should have come off on
9/11... the biggest black operation ever and it is as if 'black ops' cannot,
ever, be written about except by those who devote themselves to that
'segregated' zone of research. This is an enormous blind spot for the
progressive community and remains puzzling as a suppressed debate.
After I was arrested in D.C. for disrupting
an armed services hearing at Congress with Leon (D) Panneta, one of the first
people to thank me was Ray. He walked up to me and said thank you Chuck. They
banned me from the Capital grounds for 6 months, or do not pass go (2years in
jail) Keep On... Obama is the Drone Bomber. Don't taze me bro. Under Bush I was
never pepper sprayed or jailed, but in the streets. Is this the Change We Can
Believe In? Killary/2016?
Excellent Mr. McGovern, I especially
like Aquinas on anger. Somehow it has become unbecoming in this country to show
legitimate anger, it doesn't wash among the ivied educated.
Brilliant Ray! You hit the nail
squarely on its head. Its time for us all grey panthers to get motivated,
organized and ready to stand for principles based on justice, equality and love
of mankind.
Thank you again Ray for speaking
out, and getting dragged out while Hillary sat and said nothing. Shame on her.
She is not our future.
"There Are enough of us".
Join us. Help Wanted for u.s.. Thanks Ray.
Beautiful.
no one expects one act, or even many
acts, of conscience to bring about "success', but having a clear eye on
what the eventual "success" should look like sure helps to bring
about the eventual success.
otherwise, the "act" is
nothing but a psychological masturbation to release one's guilt into four
winds.
It takes millions of acts by millions of people. The deal is
-
Get off of our tushes and DO IT!!!
An excellent article - Mr.
McGovern's norm.
Morel imperative no lying political
representation or corporate greed allowed to rule. All must seek all that's
really good and nothing else with understanding and compassion while the cost
of all real goods are shared as are the benefits. Ownership is over rated as is
capital markets and wage slavery.
Another saw goes: “He who laughs
last laughs best”. This is not meant in a pejorative sense to a or ‘the
creator’.
We truly are though enthralled by
our creations, our logic, and seem to want to be remembered.
To the extent that we wish to have
the advantages of nation hood, position, privilege with the achievement of
symbols as they allow us to extend our power over the world, we in turn
distance ourselves from a cooperative shared world.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น