วันอังคารที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

270. ทางเดียวที่จะให้หลุดพ้นจากโลกแห่งความรุนแรงของเรา คือ อหิงสา


270. The only way to unlock our violence world is non-violence

Stand Your Ground... For a Better World
 by Stephanie Van Hook
ปักหลักจุดยืน...เพื่อโลกที่ดีกว่า
-สเตฟานี แวน ฮุค
ดรุณี ตันติวิรมานนท์ แปล

Poet Maya Angelou once said that courage is “the most important of all the virtues because without courage, you can't practice any other virtue consistently.” It takes courage to “stand your ground” and I am not talking about the law in Florida (or others like it around the country) which cruelly allows a person to commit murder without meaningful legal accountability. Standing your real ground is a powerful act; we can find that ground by refusing to be guided by our fear and refusing to lose sight of the other’s humanity.
กวี มายา อังเกลู ครั้งหนึ่งกล่าวว่า ความกล้าหาญคือ “คุณธรรมที่สำคัญที่สุด เพราะหากไร้ซึ่งความกล้าหาญแล้ว, คุณจะไม่สามารถปฏิบัติคุณธรรมอื่นใดอย่างสม่ำเสมอได้”.  จะต้องใช้ความอาจหาญเพื่อ “ปักหลักจุดยืน” และฉันไม่ได้กำลังพูดถึงกฎหมายในฟลอริดา (หรืออื่นๆเหมือนมันทั่วประเทศ) ที่อนุญาตอย่างโหดร้ายให้บุคคลก่อฆาตกรรมได้โดยปราศจากคำอธิบายทางกฎหมายที่มีความหมายพอ.  การยืนหยัดจุดยืนที่แท้จริงของคุณ เป็นการกระทำที่ทรงพลังยิ่ง, เราสามารถค้นพบฐานนั้นด้วยการปฏิเสธการถูกชี้นำด้วยความกลัวของเราเอง และ ปฏิเสธที่จะมองข้ามความเป็นมนุษย์ของคนอื่นด้วย.
One of the main misconceptions that surround laws like Stand Your Ground is that somehow violence is an adequate, effective response to a threat; that violence is the only form of power that the individual can exercise. However, peace researcher and economist Kenneth Boulding believed that power had more than one face. He acknowledges that there is ‘threat power’, the kind of power released in when one party says to the other, “do what I want or else.” He also notes that there is ‘exchange power’ where one party will say to the other, “you give me what I want and I’ll give you what you want.” The third face of power is ‘integrative power,’ the kind of power released in a nonviolent interaction. In this dialogue a person will say, “I will not shrink out of fear from you, but I will not harm you, either, and this will bring us closer together.” When we draw upon integrative power, we offer our authenticity, our supposed vulnerability of not striking back, and we hold ourselves up in dignity in the face of a threat, injury or insult. This actually has transformative results.
หนึ่งในทัศนะผิดๆ หลักที่อยู่รอบกฎหมายเช่น “ยืนหยัดในพื้นฐานของคุณ” คือว่า บางทีความรุนแรงเป็นการตอบสนองที่พอเพียง, มีประสิทธิผลต่อการคุกคามข่มขู่, ว่า ความรุนแรงเป็นอำนาจเพียงรูปแบบเดียวที่ปัจเจกสามารถใช้ได้.  แต่, นักวิจัยสันติ และ นักเศรษฐศาสตร์ เคนเน็ธ โบลดิ้ง เชื่อว่า อำนาจมีมากกว่าพักตร์เดียว. เขายอมรับว่า มี อำนาจข่มขู่’, อันเป็นประเภทอำนาจที่ปล่อยออกมาเมื่อฝ่ายหนึ่งกล่าวกับอีกฝ่ายว่า, “ทำตามสิ่งที่ผมต้องการ มิฉะนั้น”.   เขายังบอกอีกว่า มี อำนาจแลกเปลี่ยนด้วย เมื่อฝ่ายหนึ่งจะพูดกับอีกฝ่ายว่า, “คุณให้สิ่งที่ผมต้องการ แล้วผมจะให้สิ่งที่คุณต้องการ”.  พักตร์ที่สารทของอำนาจคือ อำนาจผสมผสาน’, อันเป็น ประเภทอำนาจที่ปลดปล่อยออกมาในปฏิสัมพันธ์แบบอหิงสา.  ในการสานเสวนานี้ คนหนึ่งจะพูดว่า, “ฉันจะไม่หดตัวด้วยความกลัวอันมาจากคุณ, แต่ฉันจะไม่ทำร้ายคุณด้วย, และนี่จะทำให้เราเข้าใกล้กันมากขึ้นได้”.   เมื่อเราพึ่งอำนาจผสมผสาน, เราเสนอความจริงใจ, ความเปราะบางที่คาดคะเนได้จากการไม่ตีโต้ตอบกลับ, และเราก็ยืนหยัดอย่างมีศักดิ์ศรีเผชิญหน้ากับการข่มขู่, บาดเจ็บ หรือ การดูหมิ่นเหยียดหยาม.  อันนี้มีอานิสงค์ระดับแปรเปลี่ยนพลิกโฉมได้.
"We are called now to stand our ground for one another in the face of “realists” who say that a less violent world is not realistic."
“ณ เวลานี้ พวกเราถูกเรียกร้องให้ ยึดมั่นในจุดยืนของเราเพื่อกันและกัน ในภาวะเผชิญกับ “พวกของจริง” ที่บอกว่า โลกที่รุนแรงน้อยกว่านี้ ไม่เป็นความจริง”.
Fear is often a product of our imaginations, while case studies of nonviolence show us, time and again, the power of nonviolence is quite real, even if we are conditioned by the mass-media not to believe it. I am thinking of David Hartsough. During the Civil Rights Movement he participated in a lunch counter sit-in in Virginia. He had been sitting for a while, quietly praying, when a segregationist walked up to him, placed a knife at his throat and threatened to harm him if he did not leave. David stood his ground, however, and said, “You do what you feel you have to, brother, and I will try to love you anyway.” The man’s hand began to visibly shake; he dropped the knife and walked out of the restaurant with his eyes tearing up. David did not submit to a threat and he was not moved to respond to his fear in an irrational manner. Yes, it was dangerous; yes it was a risk, but imagine what might have transpired if David chose to respond with violence.
ความกลัวมักเป็นผลผลิตของจินตนาการของเรา, ในขณะที่กรณีศึกษา อหิงสา ได้แสดงให้เราเห็น, ครั้งแล้วครั้งเล่า, ว่า อำนาจแห่งอหิงสา เป็นของจริงทีเดียว, แม้ในยามที่เราถูกสะกดด้วยสื่อสารมวลชน ให้ไม่เชื่อ.  ฉันกำลังคิดถึง เดวิด ฮาร์ตโซห์.   ในช่วงการขับเคลื่อนสิทธิพลเมือง (ผิวดำ) เขาร่วมอยู่ในการนั่งประท้วงบนโต๊ะอาหารยาวในเวอร์จิเนียร์ครั้งหนึ่ง.  เขานั่งอยู่นานสักพัก, สวดมนตร์เงียบๆ, เมื่อพวกแยกผิวเดินเข้ามาหาเขา, เอามีดจ่อที่คอ และ ขู่ว่าจะทำร้ายเขาถ้าไม่ลุกหลีกไป.  เดวิดยืนหยัดในที่ของเขา และพูดว่า, “คุณทำสิ่งที่คุณรู้สึกว่าต้องทำ, พี่ชาย, และยังไงผมก็จะพยายามรักคุณ”.  มือของชายคนนั้นเริ่มสั่นไหวอย่างเห็นได้ชัด, มีดร่วงจากมือ และเดินออกจากร้านอาหาร ด้วยน้ำตาปริ่มนัยน์ตา.  เดวิดไม่ได้สยบต่อคำขู่ และเขาก็ไม่ได้เคลื่อนไหวเพื่อตอบสนองความกลัวของเขาด้วยลักษณะสิ้นคิด.  ใช่ค่ะ, มันอันตรายมาก.  ใช่ค่ะ, มันเสี่ยง, แต่ลองจินตนาการดู อะไรจะเกิดขึ้นหากเดวิดเลือกที่จะโต้ตอบด้วยความรุนแรง.
Another, more recent example of a nonviolent response to a threat happened in a Walmart parking lot in Tennessee. 92 years old at the time, Pauline Jacobi put her groceries in her car and was ready to leave the premises when a man opened up her passenger-side door, entered the car and pointed a gun at her. He demanded that she give him her money or he would shoot her. She refused outright. She instead told him that she was not afraid of death because she “would go straight to heaven.” Pauline then calmly spoke to him for 10 minutes about what she cared about the most before the man broke down in tears and said he wanted to change his life. Before getting out of the car, he was startled when she voluntarily gave him all the money she had--10 dollars. Pauline refused to be coerced by a severe threat and clung to her innate sense of dignity, power and yes, faith. Her act not only saved her life, it brought her closer to her would-be-attacker and transformed his life, not to mention inspiring countless others who hear her story, perhaps even to act with similar courage in the face of such contingencies.
อีกตัวอย่างที่เกิดขึ้นเร็วๆ นี้ ที่ใช้วิธีอหิงสา เกิดขึ้นในโรงจอดรถวอลมาร์ต ในเทนเนสซี.  พอลีน จาโคบี ตอนนั้นอายุ ๙๒ วางถุงข้าวของจ่ายตลาดในรถของเธอ และ กำลังจะเคลื่อนรถออก เมื่อชายคนหนึ่งเปิดประตูด้านผู้โดยสาร, เข้ามาในรถ และ จ้องปืนที่เธอ.  เขาสั่งให้เธอส่งเงินให้เขา มิฉะนั้น เขาจะยิงเธอ.  เธอปฏิเสธทันที.  เธอตอบเขาว่า เธอไม่กลัวความตาย เพราะเธอ “จะตรงไปสวรรค์แน่”.  แล้ว พอลีน ก็พูดกับเขาด้วยความสงบเป็นเวลา ๑๐ นาที เกี่ยวกับสิ่งที่เธอห่วงใยมากที่สุด ก่อนที่ชายคนนั้นจะปล่อยโฮ และ พูดว่า เขาต้องการจะเปลี่ยนแปลงชีวิตของตน.  ก่อนที่จะออกจากรถ, เขาตกตะลึงเมื่อเธอให้เงินทั้งหมดที่เธอมี—๑๐ ดอลลาร์—กับเขาด้วยความสมัครใจ.  พอลีนปฏิเสธที่จะถูกกดดันด้วยการข่มขู่ที่ร้ายแรง และ เกาะยึดกับความรู้สึกภายในแห่งศักดิ์ศรี, อำนาจ และ ถูกต้อง, ความศรัทธา.  พฤติกรรมของเธอไม่เพียงแต่รักษาชีวิตของเธอเอง, มันทำให้เธอเข้าใกล้คนที่เกือบเป็นคนทำร้ายเธอ และ ได้พลิกผันชีวิตของเขาด้วย, อันนี้ไม่ต้องพูดถึงคนนับไม่ถ้วนที่ได้รับแรงบันดาลใจเมื่อได้ฟังเรื่องของเธอ, บางทีอาจได้กระทำการอาจหาญในทำนองเดียวกันเพื่อเผชิญกับเหตุบังเอิญเช่นนี้.
Let’s not forget to mention the extraordinary—though still not isolated—case of 16 year old Malala Yousafzai who was shot in the head by gun-carrying extremists in Pakistan. In her recent address at the United Nations she firmly maintained that violence did not diminish her determination or scare her into passivity:
ขอให้เราไม่ลืมที่จะกล่าวถึงเรื่องเหนือธรรมดา—แม้ว่าจะไม่โดดเดี่ยว—กรณีของ เด็กหญิงอายุ ๑๖ มาลาลา ยูซาฟซาย ผู้ถูกยิงที่หัวโดยชาวปากีสถานหัวรุนแรงติดอาวุธ.  ในการกล่าวที่สหประชาชาติเมื่อเร็วๆ นี้ เธอยืนกรานอย่างหนักแน่นว่า ความรุนแรงไม่ได้ทำให้ความเด็ดเดี่ยวของเธอหดหายไป หรือ ทำให้เธอกลัวจนไม่กล้าทำอะไร:
“They thought that the bullets would silence us. But they failed. And then, out of that silence came, thousands of voices. The terrorists thought that they would change our aims and stop our ambitions but nothing changed in my life except this: Weakness, fear and hopelessness died. Strength, power and courage was born. I am the same Malala. My ambitions are the same. My hopes are the same. My dreams are the same. (...) This is the philosophy of nonviolence (...).”
“พวกเขาคิดว่า กระสุนจะทำให้พวกเราเงียบปิดปาก.  แต่พวกเราล้มเหลว.  และแล้ว, จากความเงียบก็โพล่งออกมา, เสียงนับพัน.  ผู้ก่อการร้ายคิดว่า พวกเราจะเปลี่ยนเป้าหมายของเราได้ และ ยับยั้งความทะเยอทะยานของเรา แต่ไม่มีสิ่งใดที่เปลี่ยนไปในชีวิตของฉัน ยกเว้นสิ่งนี้: ความอ่อนแอ, ความกลัว และ ความสิ้นหวัง ที่ได้ตายลง.  ความเข้มแข็ง, อำนาจ และ ความอาจหาญ ได้ถือกำเนิดขึ้น.  ดิฉันยังเป็นมาลาลาคนเดิม.  ความทะเยอทะยานของดิฉันยังเหมือนเดิม.  ความหวังของดิฉันยังเหมือนเดิม.  ความฝันของดิฉันยังคงเดิม. (...)  นี่คือปรัชญาของอหิงสา (...).”
David, Pauline, Malala: three faces to innumerable daily acts of courage, faces of ordinary people like you and me. They do not possess some exceptional power that is the luck of the draw among human beings. They do not experience less fear than you and I would. No, they have every natural capacity that we have for both violence and nonviolence; for either bitterness and hatred or detachment and creative action as we do.
เดวิด, พอลีน, มาลาลา: สามพักตราของการกระทำในชีวิตประจำวันที่นับไม่ถ้วนแห่งความอาจหาญ, หน้าของคนธรรมดาๆ เช่นคุณและฉัน.  พวกเขาไม่ได้มีอำนาจแปลกประหลาด ซึ่งเป็นเหมือนโชคในการถูกล็อตเตอรีในบรรดามนุษย์ทั้งหลาย.  พวกเขาไม่ได้รู้สึกกลัวน้อยกว่าคุณและฉัน.  ไม่ใช่ค่ะ, พวกเขามีสมรรถนะตามธรรมชาติทุกประการที่พวกเรามี เพื่อกระทำการทั้ง หิงสา และ อหิงสา; เพื่อทั้งปฏิบัติการจากความขมขื่นและเกลียดชัง หรือ จากการปล่อยวางและสร้างสรรค์ อย่างที่พวกเราเป็นกัน.
What their stories show us, if we are willing to hear it, is that the nonviolent response is the only solid ground we have. It creates a common ground where we are all invited to inhabit and move beyond the shaky ground of our violent institutions, laws and systems that tend to allow, if not encourage, people to act on their fears and insecurities. Think about it—has there been a time in your life when you responded to a threat with a threat or with violent force in kind? Ask yourself: Did it lead to the long-term results you expected? Did it make you feel safer? Did it increase your independence? And what about the other person: Did it add to their safety and security, leading to better and more secure community? Ask yourself the same questions about a time when you or someone you know accessed the power of nonviolence.
สิ่งที่เรื่องราวของพวกเขาแสดงให้เราเห็น, หากเรายินดีที่จะเปิดใจฟัง, คือ การโต้ตอบแบบอหิงสา เป็นจุดยืนที่แข็งแรงทนทานเดียวที่เรามี.  มันสร้างพื้นฐานร่วมที่ๆ พวกเราทั้งหมดได้รับการเชื้อเชิญให้เข้าไปอยู่อาศัย และ เคลื่อนออกไปโพ้นพื้นฐานโคลงเคลงโยกเยกของสถาบันหิงสา/ความรุนแรง ของพวกเรา, กฎหมาย และ ระบบที่มักจะยอม, หากไม่ส่งเสริม, ให้คนกระทำการด้วยอำนาจความกลัวและความไม่มั่นคง.  ลองคิดดู—เคยมีไหมในช่วงชีวิตของคุณที่ครั้งหนึ่ง คุณโต้ตอบการข่มขู่ด้วยการข่มขู่กลับ หรือด้วยกำลังความรุนแรงแบบใดแบบหนึ่ง?  ลองถามตัวคุณเองดู: มันได้นำไปสู่ผลระยะยาวดังที่คุณคาดหวังไหม?  มันทำให้คุณรู้สึกปลอดภัยมากขึ้นไหม?  มันเพิ่มอิสรภาพของคุณไหม?  แล้วคุณอื่นๆ เล่า: มันได้เพิ่มความปลอดภัยและความมั่นคงแก่พวกเขา ซึ่งนำไปสู่ชุมชนที่ดีกว่า และ ปลอดภัยกว่าไหม?  ถามตัวคุณเองคำถามเดียวกันเกี่ยวกับครั้งหนึ่งเมื่อคุณ หรือ บางคนที่คุณรู้จัก ได้เข้าถึงอำนาจของอหิงสา.
Let our stories be heard. Security is not a zero-sum, winner-take-all, game. We cannot make others insecure in search of our own safety without consequences. When we realize that we will evolve the kinds of institutions worthy of a human being, institutions that draw upon our natural ability to convert fear into what Gandhi calls “a power that can move the world.” We are called now to stand our ground for one another in the face of “realists” who say that a less violent world is not realistic. In the words of Rabbi Michael Lerner, we have to be the new realists. Let us draw upon our courage and not be disheartened in our struggle toward beloved community.
ขอให้เรื่องราวของพวกเรามีคนได้ยิน.  ความมั่นคงไม่ใช่เกมที่สุทธิเป็นศูนย์, ผู้ชนะรวบกินเรียบ.  เราไม่สามารถทำให้คนอื่นไม่มั่นคง ในขณะที่เราแสวงหาความมั่นคงของเราเอง โดยปราศจากผลพวงภายหลัง.  เมื่อเราตระหนักว่า เราจะวิวัฒนาการสถาบันประเภทที่มีค่าควรแก่มนุษย์, สถาบันที่อาศัยความสามารถตามธรรมชาติของเราเอง ในการแปลงความกลัวให้เป็นสิ่งที่ คานธี เรียกว่า “พลังอำนาจที่สามารถเคลื่อนโลก”.  พวกเราถูกเรียกร้องขณะนี้ ให้ยืนหยัดบนจุดยืนของเรา เพื่อกันและกัน ในการเผชิญหน้ากัน “พวกของจริง” ที่พร่ำบอกว่า โลกที่รุนแรงน้อยกว่านี้ ไม่เป็นความจริง.  ดังคำกล่าวของ แรบบาย ไมเคิง เลอร์เนอร์, พวกเราต้องเป็น พวกของจริงยุคใหม่.  ขอให้พวกเราอาศัยความอาจหาญของเรา และ ไม่พรั่นพรึงหมดหวังในการต่อสู้สู่ความเป็นชุมชนอันเป็นที่รัก.

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-Share Alike 3.0 License

Stephanie is the Executive Director of the Metta Center for Nonviolence (www.mettacenter.org) and serves as the Director of Conflict Resolution Services for the Green Shadow Cabinet. She can be reached at stephanie@mettacenter.org.
สเตฟานี เป็นผู้อำนวยการบริหารของ ศูนย์เมตตาอหิงสา และ เป็น ผอ ฝ่ายบริการแก้ไขปมความขัดแย้ง สำหรับ ครม เงากรีน. 
Published on Monday, July 22, 2013 by Common Dreams

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น