Agriculture Leans on Japanese Women
By Suvendrini Kakuchi
เกษตรกรรมพึ่งอิงหญิงญี่ปุ่น
-สุเวนดรินี
กากุชิ
ดรุณี ตันติวิรมานนท์ แปล
Members of Girls Farm, based in Japan’s Yamagata Prefecture,
are changing the image of agriculture. Credit: Girls Farm
TOKYO, Jun 26 2013 (IPS) - Yukako
Harada, an energetic 29-year-old, is part of a small but determined band of
women farmers working hard to revitalise Japan’s moribund agricultural sector,
which is feeling the crunch of an ageing population and a flood of cheap imports.
ยูกาโกะ
ฮาราดะ, ผู้เต็มไปด้วยพลังอายุ 29,
เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มหญิงเกษตรกรเล็กๆ แต่มุ่งมั่น
ที่ทำงานหนักเพื่อคืนชีวิตชีวาแก่ภาคเกษตรที่ใกล้จะสูญพันธุ์ของญี่ปุ่น,
ซึ่งกำลังรู้สึกถึงวิกฤตของประชากรชราภาพและสินค้าราคาถูกที่ทะลักเข้ามา.
From accounting for half the
country’s economic output just after World War II, agricultural production has
shrunk down to just 1.2 percent of the world’s second largest economy,
generating only 39 percent of Japan’s food needs.
จากที่เคยสร้างผลผลิตเป็นครึ่งหนึ่งของเศรษฐกิจประเทศ
หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง, การผลิตทางเกษตรได้หดตัวลงเหลือเพียง 1.2% ของเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลก,
ซึ่งผลิตตอบสนองความต้องการอาหารของญี่ปุ่นได้เพียง 39%.
“It’s time for a makeover, to save
Japanese farms,” Harada told IPS. “And the only way to do this is to get youth
and more women involved in agriculture.”
“ถึงเวลาเปลี่ยนแปลงแล้ว,
เพื่อรักษาฟาร์มของชาวญี่ปุ่น”, ฮาราดะ กล่าว.
“และทางเดียวที่จะทำเช่นนี้ คือ
ให้เยาวชนและผู้หญิงเข้าร่วมในภาคเกษตรมากขึ้น”.
In 2010, Harada, who was born in
Tokyo, joined the Girls Farm, a project launched in Yamagata Prefecture,
located in the Tohoku region of Honshu Island, by a local female farmer keen to
change the stodgy image of Japanese agriculture.
ในปี
2010, ฮาราดะ, เกิดในโตเกียว, เข้าร่วมกับฟาร์มหญิงสาว, อันเป็นโครงการที่เริ่มในจังหวัด
ยามากาตะ, ในภาคโตโฮกุ ของเกาะฮอนชู
Here, 400 km west of Tokyo, fertile
land produces rice, watermelons and grapes. Thanks to Girls Farm, the region is
quickly becoming the poster child of a new and improved agricultural system, as
images of smiling young women working happily in the fields dispel the
stereotype of farming as a gender-biased and backbreaking activity.
ณ
ที่นี้, ห่างจากตะวันตกของโตเกียว 400 กม, ดินอุดมสมบูรณ์ ผลิตข้าว, แตงโม และ องุ่น. ต้องขอบคุณฟาร์มหญิงสาว, ภูมิภาคนี้
ได้กลายเป็นเด็กโตเร็วของระบบเกษตรใหม่ชนิดปรับปรุง อย่างรวดเร็ว,
เป็นภาพของหญิงสาวยิ้มแย้ม ทำงานด้วยความสุขในไร่นา ขจัดภาพเหมารวมของการเกษตร
ที่ว่าเป็นกิจกรรมลำเอียงทางเพศสภาพ และ งานหนักจนหลังหัก.
According to Professor Masao
Fukunaga, an economist specialising in rural development, there is a renewed
interest in farming not so much as a profit-generating activity but as a mental
release from the stresses of city life, as well as growing awareness of the
need to boost the country’s food security.
ตามคำของ
ศ.มาซาโอะ ฟูกูนากะ, นักเศรษฐศาสตร์เชี่ยวชาญด้านพัฒนาชนบท,
มีการฟื้นความสนใจในการเกษตร ไม่เชิงเป็นกิจกรรมทำกำไร
แต่เป็นการปลดปล่อยความเครียดจากชีวิตในเมือง, ตลอดจนความตื่นตัวสู้ขึ้น
ที่จำเป็นต้องเชิดชูความมั่นคงทางอาหารของประเทศ.
To capitalise on this trend, experts
say that the government must not only implement policies to support domestic
farmers, but also carve out a special place for women agricultural workers to
help revive the industry.
เพื่อเก็บเกี่ยวแนวโน้มนี้,
ผู้เชี่ยวชาญบอกว่า รัฐบาลต้องไม่เพียงดำเนินนโยบายที่สนับสนุนเกษตรกรในประเทศ,
แต่ต้องแยกพื้นที่พิเศษ เพื่อให้คนงานเกษตรหญิง เพื่อฟื้นชีพอุตสาหกรรมนี้.
Japan’s food self-sufficiency rate,
in terms of caloric intake, continues to hover at 39 percent, a steep
drop from its former 73 percent in 1965. In comparison, the United States
registers a self-sufficiency rate of 100 percent.
อัตราความพอเพียงในตัวของญี่ปุ่น,
ในแง่แคลอรีที่กินเข้าไป, ขึ้นๆ ลงๆ อยู่ที่ 39%, อันเป็นการทิ่มหัวลงจากอดีต
73% ในปี ๒๕๐๘.
เปรียบเทียบกับสหรัฐฯ ซึ่งลงทะเบียน อัตราความพอเพียงในตัว 100%.
Rice production, heavily subsidised
by the government, is the only crop that can feed Japan’s population of 127 million
without relying on imports of staples like wheat, meat and vegetables.
การผลิตข้าว,
ซึ่งได้รับเงินอุดหนุนอย่างหนักหน่วงจากรัฐบาล, เป็นเพียงพืชเดียวที่เลี้ยงประชากร
127 ล้านคนของญี่ปุ่นได้ โดยไม่ต้องพึ่งการสั่งข้าวของอาหารหลักอื่น เช่น
ข้าวสาลี, เนื้อ และ ผัก.
In 1999, 2.8 million households were
involved in commercial farming enterprises; today that number has fallen by
200,000 families, who are now heavily dependent on non-farming income.
ในปี
๒๕๔๒, มี 2.8
ล้านครัวเรือนที่ร่วมในกิจการเกษตรพาณิชย์; ทุกวันนี้
ตัวเลขเหลือเพียง 200,000,
ซึ่งต้องพึ่งรายได้จากอาชีพนอกเกษตรอย่างมาก.
In total, the agricultural industry
comprises just over one percent of the country’s gross domestic product (GDP),
which touched six trillion dollars in 2011.
โดยรวม,
อุตสาหกรรมเกษตร คิดเป็นเพียงกว่า 1% ของ จีดีพี ของประเทศ,
ซึ่งมีมูลค่าเกือบหกล้านล้านดอลลาร์ ในปี ๒๕๕๔.
This situation, experts say, is the
result of a national policy that ignored agriculture in favour of industrial
development – through the auto manufacturing and electronics sectors – to turn
Japan’s devastated post-war economy into a high-tech exporter nation, and the
third largest economy in the world after the United States and China.
สถานการณ์นี้,
ผู้เชี่ยวชาญกล่าว, เป็นผลจากนโยบายชาติ ที่ละเลยภาคเกษตร เข้าข้างการพัฒนาอุตสาหกรรม—เช่น
ภาคส่วนการผลิตรถยนต์ และ อิเล็กทรอนิกส์—เพื่อพลิกผันเศรษฐกิจที่พังพินาศหลังสงคราของญี่ปุ่น
ให้เข้าสู่ประเทศส่งออกไฮเทค, และเป็นระบบเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับสาม
ตามหลังสหรัฐฯ และ จีน.
The downside of that march into
material prosperity, according to Yoshie Oguno at the ministry of agriculture,
fisheries and forestry, was that it bulldozed a huge part of the agricultural
sector.
ข้อเสียของการเดินหน้าสู่ความมั่งคั่งทางวัตถุนี้,
ตามความเห็นของ โยชิเอะ โอกูโน ที่กระทรวงเกษตร, ประมง และ ป่าไม้, คือ
การคุกคามภาคเกษตรส่วนใหญ่มาก.
Urbanisation spread rapidly, vast
areas of rural farmlands were converted into factories, and family farms –
averaging one to 1.5 hectares – were left in the care of ageing parents as
their children moved to the cities in search of better paying jobs in more
lucrative fields.
การสร้างเมืองขยายตัวรวดเร็ว,
พื้นที่เกษตรชนบทแปลงมหาศาล ถูกเปลี่ยนเป็นโรงงาน, และ ฟาร์มครอบครัว—โดยเฉลี่ย 1-1.5 เฮคเตอร์—ถูกปล่อยทิ้งไว้ให้พ่อแม่แก่ชราดูแล
ในขณะที่ลูกหลานอพยพเข้าเมืองเพื่อหางานที่ให้รายได้ดีกว่าในสาขาอาชีพที่ทำกำไรงามกว่ามาก.
Data from the ministry of
agriculture suggest that in the 1960s, an average of seven million people per
month migrated from rural to urban areas.
ข้อมูลจากกระทรวงเกษตร
แนะว่า ในทศวรรษ ๒๕๐๓, ประชาชนเฉลี่ย 7 ล้านคน/เดือน
อพยพจากชนบทสู่เมือง.
But now, the prospect of footing
huge bills for food imports to feed a massive ageing population is pushing the
government to invest heavily in solutions to reverse this trend.
แต่ตอนนี้,
การคาดการณ์ว่า จะต้องจ่ายเงินสูงมากเพื่อสั่งเข้าอาหาร
เพื่อเลี้ยงประชากรชราภาพมหาศาล
กำลังผลักดันให้รัฐบาลลงทุนอย่างหนักในทางแก้ไขเพื่อพลิกผันแนวโน้มนี้.
It recently poured 50 billion
dollars into efforts to promote awareness on women farmers’ right to land
ownership and income, cutting against the grain of traditional farming culture
where farm titles are held by the husband or father in a family.
รัฐบาลได้ทุ่มเงิน
50
พันล้านดอลลาร์
ในกิจกรรมส่งเสริมความตื่นตัวเรื่องสิทธิของเกษตรกรหญิงในการถือกรรมสิทธิ์ที่ดินและรายได้,
เป็นการทะลวงแก่นของวัฒนธรรมเกษตรดั้งเดิม ที่โฉนดที่ดินจะเป็นชื่อของสามี หรือ
บิดาในครอบครัวหนึ่งๆ.
“This is the only way to go if we
are going to attract the younger generation who expect gender equality,” Oguno
told IPS.
Professor Tomoko Ichida, an expert
on farming populations, told IPS that simply improving women’s income could
have a positive impact on the limping sector.
“นี่เป็นทางเดียวเท่านั้น
หากเราต้องการดึงดูดคนรุ่นใหม่ที่คาดหวังความเท่าเทียมเชิงเพศสภาพ”, โอกูโน
กล่าว. ศ.โตโมโกะ อิชิดะ,
ผู้เชี่ยวชาญด้านประชากรเกษตร, กล่าวว่า เพียงแค่ส่งเสริมรายได้ของผู้หญิง
ก็สร้างผลกระทบเชิงบวกกับภาคส่วนที่อ่อนปวกเปียกนี้ได้”.
“My research has shown that women
farmers are good at innovation. They are bringing new value-added products –
jams and pickles made from fruit and vegetables, or small restaurants, for
example – into the market, which have become popular with Japanese consumers,”
she said.
“งานวิจัยของฉันแสดงให้เห็นว่า
เกษตรกรหญิงเป็นนักนวัตกรรมที่ดี.
พวกเธอนำสู่ตลาดผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่มีมูลค่าเพิ่ม—แยมและของดองทำจากผลไม้และผัก,
หรือ ร้านอาหารเล็กๆ, เป็นต้น, ซึ่งได้กลายเป็นที่นิยมในบรรดาผู้บริโภคญี่ปุ่น”,
เธอกล่าว.
Government data released in 2011
showed that more than three-quarters of new agribusiness ventures – the
ministry recorded 10,000 start-ups in 2010 – were headed by women, highlighting
the shifting gender dynamics in an industry that was, until a few years ago,
controlled by men, with women only entitled to a meagre share of joint family
income.
ข้อมูลของรัฐบาลที่เปิดเผยในปี
๒๕๕๔ ได้แสดงให้เห็นว่า กว่า ¾ ของกิจการเกษตรใหม่ๆ—ซึ่งตัวเลขของกระทรวงบันทึกว่า
มากกว่า 10,000 ในปี ๒๕๕๓—มีผู้หญิงนำ,
อันเป็นการสะท้อนการขยับตัวของพลวัตเชิงเพศสภาพในอุตสาหกรรมที่,
จนเมื่อไม่กี่ปีก่อน, ควบคุมโดยผู้ชาย,
และผู้หญิงก็มีสิทธิ์เพียงเล็กน้อยในส่วนแบ่งของรายได้ร่วมของครอบครัว.
Yoshiko Kaido, 61, hailing from the
Tokyo suburb of Ibaraki, won a Mayor’s award for her jam-making business in
2003. “I now have my own income that is separate from the family farm,” she
told IPS. “It makes farming far more worthwhile.”
โยชิโกะ
กาอิโด, อายุ 61, มาจาก อิบารากิ ชานเมืองของโตเกียว, ได้รับรางวัลนายกเทศมนตรี
สำหรับธุกิจแยมของเธอในปี ๒๕๔๖.
“ตอนนี้ฉันมีรายได้ของฉันเองที่แยกจากฟาร์มครอบครัว”, เธอกล่าว. “มันทำให้การทำเกษตรคุ้มมากยิ่งขึ้น”.
While farm workers are keen to see
results right away, experts caution that the change will not take place
overnight.
“The going is still tough,” Harada
told IPS. The most recent official data indicates that 60 percent of female
agribusiness owners earned less than 30,000 dollars annually.
ในขณะที่คนงานเกษตรต่างอยากเห็นผลงานฉับพลัน,
ผู้เชี่ยวชาญเตือนว่า การเปลี่ยนแปลงจะไม่เกิดขึ้นในชั่วข้ามคืน. “ยังยากอยู่”, ฮาราดะ กล่าว. ข้อมูลทางการล่าสุดชี้ว่า 60% ของธุรกิจเกษตรที่มีผู้หญิงเป็นเจ้าของ ทำเงินได้น้อยกว่า 30,000 ดอลลาร์/ปี.
Seminars on business management have
become a popular means of creating self-sufficiency among women business
owners, but experts say a lot more needs to be done to encourage the youth, who
accounted for six percent of the agricultural workforce in 2011.
การสัมมนาเรื่องการจัดการธุรกิจ
ได้กลายเป็นหนทางยอดนิยมของการสร้างความพอเพียงในตัวเองในระหว่างเจ้าของธุรกิจหญิง,
แต่ผู้เชี่ยวชาญบอกว่า ยังมีงานอีกมากที่จำเป็นต้องทำ เพื่อชักจูงเยาวชน,
ซึ่งมีอยู่ 6% ของแรงงานภาคเกษตรในปี ๒๕๕๔.
Despite some shortfalls, the tides
seem to be turning, and if the government lays its plans carefully, it could
usher in a new era in which women buoy up a productive and lucrative
agricultural sector.
ทั้งๆ
ที่มีอุปสรรค, กระแสน้ำดูเหมือนจะหวนกลับ, และหากรัฐบาลวางแผนอย่างระมัดระวัง,
จะสามารถประคับประคองสู่ยุคใหม่ ที่ผู้หญิงจะลอยตัว ลืมตาอ้าปากได้ในภาคเกษตรที่มีผลิตภาพและทำกำไรงามได้.
Japan
and Africa Share Lessons / ญี่ปุ่นและอัฟริกาแบ่งปันบทเรียน
The process of agricultural transformation underway in Japan offers crucial lessons for African farmers, according to Connie Magomu Masaba, an agricultural expert from Uganda who participated in a recent international conference in Japan on economic development in Africa.
กระบวนการพลิกโฉมเกษตรกรรมที่กำลังเกิดขึ้นในญี่ปุ่น
ได้ให้บทเรียนสำคัญแก่เกษตรกรชาวอัฟริกัน, ดังความเห็นของ คอนนี มาโกมู มาซาบา,
ผู้เชี่ยวชาญเกษตรจากอูกานดา ที่เข้าร่วมในการประชุมนานาชาติในญี่ปุ่น
เรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจในอัฟริกา.
As
Japan sets its sights on the African continent as a crucial market for
exports and a vital source of natural resources, closer ties between the two
regions are inevitable.
ในขณะที่ญี่ปุ่นทอดสายตาไปยังทวีปอัฟริกา
ในฐานะที่เป็นตลาดสำคัญเพื่อการส่งออก และ แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ,
ความสัมพันธ์ระหว่างสองภูมิภาคที่แนบแน่นขึ้นย่อมหลีกเลี่ยงไม่ได้.
As
these links are forged, rural communities are keen to have their voices
heard, so they can inform the trade and development agenda. This is
particularly crucial in African countries, where more than 85 percent of
rural farming populations live at the subsistence level.
ในขณะที่สร้างความเชื่อมโยงเหล่านี้, ชุมชนชนบทก็อยากให้คนอื่นได้ยินเสียงของพวกเขา,
เพื่อพวกเขาจะได้แจ้งเกี่ยวกับกิจการค้าและวาระการพัฒนา.
นี่เป็นเรื่องสำคัญยิ่งโดยเฉพาะในประเทศอัฟริกา, ที่ๆ กว่า 85% ของประชากรเกษตรชนบท อาศัยอยู่ในระดับยังชีพ.
The
recent summit provided a forum for women farmers to share ideas and
strategies for boosting the agricultural sector while also securing a better
deal for women.
การประชุมสุดยอดเมื่อเร็วๆ นี้
ได้เป็นเวทีสำหรับเกษตรกรหญิงให้แบ่งปันความคิดและยุทธศาสตร์เพื่อยกระดับในภาคเกษตร
ในขณะเดียวกันก็ต่อรองให้ได้ข้อตกลง/เงื่อนไขที่ดีสำหรับผู้หญิง.
“The
way…to reduce poverty is by fostering value-added agribusiness in Africa,
which means protecting the rights of rural farm owners including women,”
Masaba told IPS.
“วิธีการ...เพื่อลดความยากจน
คือ ให้การอุปถัมภ์ต่อธุรกิจเกษตรมูลค่าเพิ่มในอัฟริกา,
ซึ่งหมายถึงปกป้องสิทธิ์ของเจ้าของฟาร์มชนบท รวมทั้งผู้หญิง”, มาซาบา กล่าว.
Masaba
is the manager of the Kalangala Oil Palm Growers Trust (KOPGT), an initiative
designed to produce vegetable oil that now employs 600 women and is managed
by Uganda’s ministry of agriculture, animal industry and fisheries, located
close to Lake Victoria.
มาซาบา เป็นผู้จัดการของ
ทรัสต์น้ำมันปาล์มกาลังกาลา (KOPGT),
อันเป็นโครงการที่ออกแบบเพื่อผลิตน้ำมันพืช ที่ตอนนี้จ้างผู้หญิง 600 คน และ จัดการโดย กระทรวงเกษตร, อุตสาหกรรมสัตว์ และ การประมง
ของอูกานดา, ซึ่งอยู่ใกล้ทะเลสาบวิคตอเรีย.
Euralia
Nabbosa is one of the project’s beneficiaries. Since joining in 2006, she has
acquired 10 acres of land plus an extra three acres for her children, and is
no longer forced to make do with simply eking out a living.
ยูราเลีย นับโบซา
เป็นผู้ได้รับประโยชน์จากโครงการคนหนึ่ง.
ตั้งแต่เข้าร่วมในปี ๒๕๔๙, เธอได้ซื้อที่ดินเพิ่ม ๑๐ เอเคอร์ และ
อีกสามเอเคอร์พิเศษสำหรับลูกๆ ของเธอ,
และก็ไม่ต้องถูกบังคับให้ต้องทนต่อสภาพการขุดคุ้ยกินเพื่อยังชีพ.
She
is also one of only very few women to have entered the male-dominated palm
oil sector.
เธอเป็นหนึ่งในหญิงไม่กี่คนที่เข้าสู่ภาคน้ำมันปาล์มที่มีผู้ชายเป็นใหญ่.
Supported
by a grant from the International Fund for Agricultural Development (IFAD),
the project incorporates 1,600 farmers registered with the KOPGT, who supply
their yields to Oil Palm Uganda Limited that supplies edible oil for national
demand and export.
ด้วยเงินทุนสนับสนุนจากกองทุนระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาเกษตร,
โครงการได้ผนวกรวมเกษตรกร 1,600 คนที่ลงทะเบียนกับ KOPGT, ที่ส่งผลผลิตของพวกเธอให้ บริษัทน้ำมันปาล์มอูกานดา
ที่เป็นแหล่งผลิตน้ำมันพืชใช้กินสำหรับประเทศและส่งออก.
All
the farmers (1600 FARMERS, 600 ARE WOMEN percent of whom are women) earn
around 390 dollars per month and work in a system where the selling price is
based on negotiations between them and the purchasing company.
เกษตรกรทั้งหมด (เกษตรกร 1,600 คน, 600 เป็นผู้หญิง) ทำเงินได้ประมาณ 390 ดอลลาร์/เดือน
และทำงานในระบบที่ราคาขายตั้งอยู่บนฐานการต่อรองระหว่างพวกเธอกับบริษัทที่ซื้อ.
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น