268. Haze Annual Festival in Thailand
Haze in North Thailand:
who, what, why, where and how?
by Mark Ord, 7
March 2012, at 2:43 pm
เมฆหมอกในภาคเหนือของไทย: ใคร,
อะไร, ทำไม, ที่ไหน และ อย่างไร?
-มาร์ค อ๊อด, ๗
มีนาคม ๒๕๕๕
ดรุณี
ตันติวิรมานนท์ แปล
Haze, smog, smoke, dust: at this time of year —
every year — the local and international media becomes full of concerned
articles on northern Thailand’s air quality, and the government pretends to be
concerned and claims to be doing something about it. We’re not certain — and
indeed doubt — if this year’s statistics are worse than previous year’s but it
is certain that come the hot, dry season in March and April, the
sky up in these parts can get pretty opaque.
เมฆหมอก, ควันพิษ, ควันไฟ,
ฝุ่น: ทุกปี ณ เวลานี้, สื่อท้องถิ่นและนานาชาติ
จะเต็มไปด้วยบทความแสดงความห่วงใยถึงคุฯภาพของอากาศในภาคเหนือของไทย,
และรัฐบาลก็แกล้งทำเป็นห่วงใย และ อ้างว่า ได้ทำอะไรบางอย่างแล้ว. เราไม่แน่ใจ—และจริงๆ แล้วสงสัย—ว่า สถิติปีนี้
จะแย่กว่าปีที่แล้ว แต่ที่แน่ๆ มีนา และ เมษา จะร้อนและแห้ง, ท้องฟ้าในภาคนี้ก็มัวสลัว.
Doi Suthep, around 3km away, from Doi Suthep
Road, two weeks ago. Haze has worsened since.
ภาพดอยสุเทพ
จากถนนดอยสุเทพที่ห่างประมาณ ๓ กม, เมื่อสองสัปดาห์ก่อน. เมฆหมอกแย่ลงตั้งแต่นั้นมา.
Now at various times of year much of Southeast
Asia can be prone to less than perfect air conditions and wherever you are in
the region you won’t get the clear blue skies and crystal clear vistas you get
during say clear days in the rainy season. This is due to various reasons: much
of Malaysia, including KL, suffers from smoke wafting
across the South China Sea from seasonal fires in Borneo and Sumatra,
and large cities such as Bangkok and Saigon suffer from air pollution thanks
to exhaust fumes at the best of times. A lack of rain means potentially
irritating dust particles in the air even in the most unpolluted of areas and
yes, of course, there’s the smoke from burning paddy fields.
ตอนนี้
ณ เวลาต่างๆ กันตลอดปี พื้นที่ส่วนใหญ่ของอุษาคเนย์
จะมีแนวโน้มที่จะมีอากาศที่ไม่พึงประสงค์ และไม่ว่าคุณจะอยู่ที่ไหนในภูมิภาคนี้
คุณจะไม่มีท้องฟ้าใสสีคราม และ วิสัยทัศน์ที่ใสดั่งผลึกแก้ว ที่คุณได้รับ เช่น
ในวันสดใสของฤดูฝน. นี่เพราะหลายสาเหตุ: ส่วนใหญ่ของมาเลเซีย, รวมทั้ง
กัวลาลัมเปอร์, ต้องทนทุกข์ทรมานกับลมที่หอบหมอกควันข้ามทะเลจีนใมต้
จากไฟป่าฤดูกาลในบอร์เนียวและสุมาตรา, และ ในเมืองใหญ่ๆ เช่น กรุงเทพ และ ไซ่ง่อน
ต้องทนทุกข์ทรมานกับอากาศเป็นพิษ ต้องขอบคุณ ท่อไอเสีย ที่ให้มากที่สุด. การขาดฝน หมายถึง อนุภาคฝุ่นละอองที่อาจเป็นที่น่ารำคาญ
ในอากาศ แม้แต่ในพื้นที่ๆ ไม่มีมลพิษที่สุด และ ถูกต้อง, แน่นอน, มีควันจากการเผาไหม้ในนาข้าว.
Chiang Mai mountain top view, November. This is
merely standard afternoon heat haze.
วิวจากยอดเขาในเชียงใหม่,
พฤศจิกายน.
นี่เป็นเพียงบ่ายมาตรฐานท่ามกลางหมอกเมฆร้อน.
In the case of North Thailand it is a
combination of all these factors. Geography has a lot to do with it. Towns and
cities in the north are located in
valleys, surrounded by paddy-fields and generally sandwiched between mountain
ranges. Larger conurbations such as Chiang Mai do have increasing traffic
congestion problems, but at this time of year farmers also burn off
stubble ready for the coming rains and rice planting — and these
narrow valleys do make perfect bowls for this smog, dust and smoke to sit in.
According to official statistics, the worst air pollution at present is in Phrae and perennially affected Mae Hong Song province, neither of which have
much industry or many cars.
ในกรณีของภาคเหนือของไทย
ปัจจัยต่างๆ รวมกัน. ภูมิศาสตร์เป็นปัญหามาก. เมืองเล็ก
เมืองใหญ่ในภาคเหนือล้วนตั้งอยู่ในหุบเขา, ห้อมล้อมด้วยนาข้าว และ โดยทั่วไป
หนีบอยู่ระหว่างเทือกเขา.
เมืองสมัยใหม่ขนาดใหญ่กว่า เช่น เชียงใหม่ มีปัญหารถติดเพิ่มขึ้น,
แต่ในช่วงเวลานี้ของปี ชาวนาก็กำลังเผาตอฟาง เตรียมพร้อมสำหรับฝนที่กำลังมา และ
ฤดูกาลปลูกข้าว—และหุบเขาแคบๆ เหล่านี้ ก็เป็นชาม/แอ่งที่ดีเยี่ยมสำหรับเก็บสุม หมอกควัน
และ ฝุ่น. ตามสถิติทางการ,
มลภาวะในอากาศที่เลวร้ายที่สุดขณะนี้ คือ แพร่ และ ทุกๆ ปี ตลอดมา ในแม่ฮ่องสอน,
ทั้งสองจังหวัดไม่มีอุตสาหกรรมหรือรถยนต์มากนัก.
Early morning cold season mountain mist at Mae
Fah Luang, Chiang Rai.
วิวยามเช้าในหน้าหนาวของภูเขาที่ปกคลุมด้วยหมอกที่แม่ฟ้าหลวง,
เชียงราย
Wildfires are a problem at
this time of year and consequently some controlled burning of national
park forests is necessary and while the burning of agricultural land —
such as rice stubble — is officially illegal no-one seems to take much notice;
on a ride from Chiang Mai to Pai at this time last year we saw mile
after mile of burning roadside vegetation where government workers were taking
the easy way out by simply setting fire to verges instead of cutting it by
hand. Now if provincial road department crews don’t take any notice how
can you expect farmers to?
ไฟป่า เป็นปัญหาหนึ่งในช่วงเวลานี้แห่งปี
และ ผลคือ จำเป็นที่อุทยานป่าไม้ ได้ทำการควบคุมบ้าง และ
ในขณะที่การเผาในที่ดินเกษตร—เช่น ตอฟาง—เป็นการผิดกฎหมาย ดูเหมือนไม่มีใครสนใจ; ในการนั่งรถจากเชียงใหม่ สู่ ปาย ในตอนนี้ปีกลาย เราเห็นไฟไหม้พืชข้างทางยาวตลอดทางหลายไมล์
ส่วนคนงานรัฐบาล ก็ใช้วิธีง่ายๆ ด้วยการทำให้มันค่อยๆ มอด
แทนที่จะดับมันด้วยมือ. เอาหล่ะ
หากคนงานของกรมทางหลวงระหว่างจังหวัด ไม่สนใจกฎหมาย
แล้วเราจะคาดหวังให้ชาวนาเชื่อฟังได้อย่างไร?
I can see for miles... rainy season view from
Doi Tung.
วิวหน้าหนาวจากดอยตุง...ผมมองเห็นไปไกลหลายไมล์
You may have noticed we haven’t mentioned the slash
and burn agriculture traditionally practiced by hill-tribes yet, even
though this is one of the usual suspects. It’s easy for lowland Thai
agro-businesses or government officials to point the finger at the Lisu or Akha but these days many of the
hill-tribe groups in northern Thailand don’t actually practise slash
and burn anymore. So many government projects, royal schemes and NGO
initiatives have worked to reduce initially opium production but also slash and
burn, that between the tea and coffee plantations, cherry orchards and
strawberry greenhouses you’d probably be pushed to find any slash and burn in
most of Chiang Mai or Chiang Rai provinces these days.
คุณอาจสังเกตเห็นว่า
เราไม่ได้พูดถึงเกษตรเลื่อนลอย ที่เป็นประเพณีของชาวเขา,
แม้ว่าเป็นผู้ต้องสงสัยหนึ่ง.
มันง่ายที่ธุรกิจเกษตรไทยในพื้นที่ราบ หรือ ข้าราชการรัฐบาล จะชี้นิ้วไปที่
ลีซู หรือ อาข่า แต่ทุกวันนี้ กลุ่มชาวเขาในภาคเหนือของไทย
ไม่ได้ทำไร่เลื่อนลอยอีกแล้ว.
โครงการรัฐบาลมากมาย, โครงการพระราชดำริ และ โครงการริเริ่มโดยเอ็นจีโอ
ได้ทำงานเพื่อลดการผลิตฝิ่นในยุคแรก รวมทั้งการทำไร่เลื่อนลอย,
แต่ในระหว่างสวนชาและกาแฟ, เรือนกระจกเชอร์รี และ สตอรเบอร์รี คุณคงจะได้เห็นการทำไร่เลื่อนลอยในส่วนใหญ่ของจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย.
Akha tea plantations near Mae Salong -- not
much slash and burn up here.
ภาพสวนชาอาข่า
ใกล้แม่สะลอง--ไม่ค่อยมีไร่เลื่อนลอยที่นี้
Before placing the blame it might be good for
the Thai government to actually take some practical steps to reduce air
pollution instead of empty promises (and endless talk of absurd cloud seeding
schemes), and actually enforce the no burning laws, have a word with
their own council workers and look at the black smoke churned out by thousands
of tuk tuks and songthaews across the region.
ก่อนที่จะกล่าวโทษใคร คงจะดีสำหรับรัฐบาลไทย
ที่จะหาขั้นตอนปฏิบัติการ เพื่อลดมลพิษในอากาศ แทนที่จะสัญญาแค่ลมปาก
(และพูดไม่หยุดเกี่ยวกับการทำฝนเทียมไร้สาระ), และเริ่มบังคับใช้กฎหมายห้ามเผาอย่างจริงๆ
จังๆ, คุยกับคนงานในสภาของตน และ ดูที่ควันดำที่ปล่อยออกมาจาก ตุ๊กๆ และสองแถว
หลายพันคันทั่วภูมิภาคนี้.
There have been years when Mae Hong Son, Pai
and even Chiang Mai airports have been closed due to poor visibility. While we
don’t seem to have reached that stage quite yet — though we are still only
early March — yes, the air is pretty thick. Climb up Doi Suthep and
you’ll get a view of brown haze. So without over-dramatizing, if it’s clear
mountain air you’re after, then it’s probably better to wait until the rains
start before heading up this way.
มีหลายปี เมื่อ
สนามบินในแม่ฮ่องสอน, ปาย และ แม้แต่เชียงใหม่ ที่ต้องปิด
เพราะวิสัยทัศน์แย่มาก.
ในขณะที่เราดูเหมือนจะยังไม่ถึงขั้นนั้น—แม้ว่า นี่เป็นเพียงต้นมีนาคม—ใช่ครับ,
อากาศค่อนข้างหนา. การปีนขึ้นดอยสุเทพ
แล้ว คุณจะเห็นวิวหมอกเมฆสีน้ำตาล.
ดังนั้น โดยไม่ต้องพูดมาก, หากเป็นอากาศสดใสบนเขาที่คุณตามหา,
ก็รอจนกว่าฝนเริ่มตก คงดีกว่าปีนขึ้นเขาเช่นนี้.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น