วันเสาร์ที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2555

29. การพัฒนาที่ยั่งยืน / Sustainable Development


จะประเมินการพัฒนาที่ยั่งยืนได้อย่างไร: กระบวนคิดเชิงแทรกแซงแบบยุโรป
-สอดส่องสังคม (Social Watch) อิตาลี
How to assess the sustainability of development: lines of European intervention
-Gianfranco Bologna, Giulio Marco / Social Watch Italy

หนทางสู่การประชุมสหประชาชาติเรื่องการพัฒนาที่ยั่งยืน (UNCSD) ที่จะเกิดขึ้นในเดือนมิถุนายน 2012 ณ กรุงริโอ เดอ จาไนโร, 20 ปีหลังจากการประชุมพิภพสุดยอด (Earth Summit) ที่มีชื่อเสียงในปี 1992, เป็นการต่อยอดสร้าง “โอกาสที่น่าตื่นเต้นอันเป็นการมาบรรจบกันอย่างสร้างสรรของผลงานเชิงวิทยาศาสตร์ที่ดีที่สุด, ทฤษฎีและปฏิบัติที่อุทิศตัวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน.   ในช่วง 20 ปีนี้ มีการศึกษาวิจัยที่ลึกล้ำขึ้นและรวมตัวกันมากขึ้นในเรื่อง การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมโลก (GEC), หัวข้อแกนกลางสำหรับวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆ ในระบบพิภพ และโปรแกมวิจัยที่ทรงเกียรติของมัน (ที่บรรจบเข้ามาในการเป็นหุ้นส่วนเชิงวิทยาศาสตร์ด้านระบบพิภพ, ที่องค์การวิทยาศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ICSU-สภาวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศ เป็นผู้สนับสนุน).  วิทยาศาสตร์ความยั่งยืน ก็ได้ถูกสรรสร้างขึ้นด้วยการมาบรรจบกันของหลากสาขาวิชาระดับล้ำยุค (จากเศรษฐศาสตร์นิเวศและนิเวศอุตสาหรรม ถึง นิเวศฟื้นฟูและชีววิทยาอนุรักษ์, และไปถึงวิทยาศาสตร์ระบบพิภพ).
The route to the United Nations Conference on Sustainable Development (UNCSD) to be held in June 2012 in Rio de Janeiro, twenty years after the famous 1992 Earth Summit, is building an “exciting opportunity for a constructive confluence of the best scientific production, theory and practices dedicated to sustainable development. In these twenty years there has been deepening and consolidated research on Global Environmental Change (GEC), the central theme for all the sciences of the Earth system and its prestigious research programs (converging in the Earth System Science Partnership[1], sponsored by the world's largest scientific organization, ICSU - International Council for Science[2]). The Sustainability Science has also been created, with two international conferences which have been already realized and have brought together the confluence of numerous advanced disciplines (ranging from Ecological Economics and Industrial Ecology to Restoration Ecology and Conservation Biology, all the way to Earth System science.[3]

เหนือกว่านั้น, ความร่วมมือสำคัญระหว่างนักวิทยาศาสตร์จากระบบธรรมชาติวิทยา และบัณฑิตจากระบบสังคมวิทยา ได้กลายเป็นความสัมพันธ์ที่สำคัญระหว่างประเทศ ที่สหประชาชาติสนับสนุน, เช่น การประเมินระบบนิเวศสหัสวรรษ และ TEEB, เศรษฐกิจของระบบนิเวศและความหลากหลายเชิงชีวภาพ ที่ได้ประเมินภาวะสุขภาพระบบนิเวศพิภพ, การบริการเพื่อสวัสดิการของมนุษย์และเศรษฐกิจ, การประเมินต้นทุนธรรมชาติ เป็นต้น.  มีการส่งรายงาน 4 ฉบับจากคณะทำงานระหว่างประเทศเรื่อง การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ ที่รวบรวมความรู้ต่างๆ ในระบบภูมิอากาศของเรา, ผลกระทบจากฝีมือของพวกเรา, และคาดการณ์สำหรับอนาคต, นโยบายที่จำเป็นเพื่อบรรเทาและปรับตัวให้เข้ากับอากาศที่เปลี่ยนแปลง ฯลฯ.
Moreover, the important collaboration between scientists of the natural systems and scholars of the social systems has produced important international relations, sponsored by the United Nations, such as the Millennium Ecosystem Assessment[4] and TEEB, The Economics of Ecosystems and Biodiversity[5], which have assessed the state of health of the Earth's ecosystems, the services they provide to human welfare and the economy, the evaluation of natural capital and so on. Four reports of the Intergovernmental Panel on Climate Change[6] were also produced, taking stock of the knowledge of our climate system, the effects of our actions on it, on future scenarios, the policies needed for mitigation and adaptation to climate change, and so on.

ดัชนีความมั่งคั่งและการอยู่ดีมีสุข ตัวไหน?
Which indicators of wealth and well-being?

ดัชนี จีดีพี เป็นตัวชี้วัดนโยบายมหภาคที่รู้จักกันดีที่สุด.  มันถูกกำหนดขึ้นในยุคทศวรรษ 1930s โดยนักเศรษฐศาสตร์ เช่น ไซมอน คุซเนทส์, และถูกผันให้เป็นดัชนีจริงๆ เพื่อวัดความมั่งคั่งและอุดมสมบูรณ์ของประเทศ.  นักวางนโยบายทั่วโลกได้ใช้ จีดีพี เพื่อแสดงผลงานจากการดำเนินนโยบายทั่วไปว่า เป็นบวกหรือลบ และเพื่อจัดลำดับขั้นในระหว่างประเทศต่างๆ.  ภาพสะท้อนและปฏิบัติการที่เล็งที่การทบทวนดัชนีของพวกเราด้านความมั่งคั่งและอุดมสมบูรณ์ กำลังเกิดขึ้น, เพราะได้เป็นที่ประจักษ์กันแล้วว่า บรรดาดัชนีที่พวกเราใช้กันอยู่ทุกวันนี้ ล้วนไม่สามารถ “ถ่ายภาพ” ความจริงเกี่ยวกับมนุษยชาติได้อย่างชัดเจน ตลอดจนแจ้งข้อเท็จจริง, โชคไม่ดี, พวกเขาได้เพิกเฉยต่อสุขภาพของระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพของผืนพิภพ.  ในที่สุด คงถึงเวลาแล้วที่จะผนวกรวมบัญชีเศรษฐกิจคลาสสิค กับบัญชีนิเวศ.   นอกจากนี้ มีกระบวนการที่ครอบคลุมกว้างขวางเพื่อกำหนดนิยามสำหรับระบบเศรษฐกิจใหม่ ซึ่งก็จะเป็นส่วนหนึ่งของการอภิปรายในการประชุม UNCSD ณ กรุงริโอ เดอ จาไนโร.
The gross domestic product (GDP) is the most well known measure of macroeconomic policies. It was formulated in the 30s by economists such as Simon Kuznets, and then turned into an actual indicator of wealth and prosperity of a country. It has been used by policy makers around the world to indicate positive or negative performances of policies in general and to determine rankings among the different countries.
The reflection and actions aimed at revising our indicators of wealth and prosperity are now well under way, since it has been demonstrated that the ones used today are clearly not able to "photograph" the reality of humankind as well as the fact that, unfortunately, they ignore the health of ecosystems and biodiversity of the planet. Finally it seems now time to integrate the classical economic accounting with ecological accounting. Moreover, there is an extensive process to define a new economy that will also be part of the discussion in the UNCSD of Rio de Janeiro.

เกี่ยวกับประเด็นที่สำคัญยิ่งเหล่านี้ต่ออนาคตของพวกเราทั้งหมด, สถาบันทางการเช่น สหประชาชาติ, คณะกรรมาธิการยุโรป, Eurostat, OECD ได้ผลิตผลงานวิเคราะห์มากมาย.   เอ็นจีโอก็ได้มีส่วนร่วมด้วย, เช่น Club of Rome และ WWF, ด้วยการพิมพ์เผยแพร่รายงาน, “เอาธรรมชาติเข้ามาคำนวณด้วย” (1995) และการจัดเตรียมการประชุมสำคัญครั้งแรกด้วยหัวเรื่องในกรุงบรัซเซลส์ ในปี 1995, รวมทั้งการประชุมสำคัญครั้งสุดท้ายกับ คณะกรรมาธิการยุโรป และ รัฐสภายุโรป และการริเริ่มต่างๆ ต่อมา, รวมทั้งการประชุมสำคัญหลังสุดกับ คณะกรรมาธิการยุโรป และ รัฐสภายุโรป ในกรุงบรัซเซลส์ ในปี 2007, ที่ส่งสัญญาณกระตุ้นอย่างแรงให้กระแสการเมืองและเศรษฐกิจตระหนักถึงกระบวนเปลี่ยนผ่าน สู่การรวมสิ่งแวดล้อมเข้ามาคิดบัญชี ร่วมกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ. แน่นอน คุณูปการที่มีนัยสำคัญที่ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการที่ ประธานาธิบดีฝรั่งเศส Sarkozy อันประกอบด้วยผู้ได้รับรางวัลโนเบล 5 ท่าน ที่นั่งอยู่เป็นกรรมการด้วย และประสานงานโดย Joseph Stiglitz, Amartya Sen และJean Paul Fitoussi, และงานของ OECD เกี่ยวกับโครงการระดับโลกว่าด้วย ดัชนีใหม่ของความก้าวหน้าสำหรับสังคม.
On these issues of central importance for the future of us all, official institutions like the United Nations, the European Commission, Eurostat, the OECD have produced much analysis. Non-governmental organizations as well have been involved, such as the Club of Rome and WWF, with the publication of the report, "Taking Nature into Account" (1995) and the organisation of the first major conference with the same title in Brussels in 1995, together with the European Commission and the European Parliament and subsequent initiatives, including the last major conference with the European Commission and European Parliament in Brussels in 2007[7], which have strongly triggered world political and economic forces to realize a transition towards environmental accounting, in conjunction with economic activity. Naturally, significant contributions were also provided by the report of the committee wanted by French President Sarkozy with 5 Nobel Economics Prizes among its members and coordinated by Joseph Stiglitz, Amartya Sen and Jean Paul Fitoussi[8] and the OECD's work on the global project on new indicators of progress for society.[9] 

นอกจากงานของ OECD แล้ว, ยังมี สหประชาชาติ สหภาพยุโรป และสถาบัน-องค์กรระหว่างประเทศอื่นๆ ที่กำลังสรรสร้างกรอบคิดและชุดโครงการนำเสนอ, การริเริ่มในระดับสากล และประสบการณ์ที่นำมาปฏิบัติได้ กำลังเกิดขึ้นผ่านช่องทางงานวิจัยและพัฒนา ที่เสร็จสมบูรณ์ในไม่กี่ปีที่ผ่านมา.  ในแคนาดา (ด้วยดัชนีแคนาดาที่วัดความอยู่ดีมีสุข) และออสเตรเลีย (ผ่านงานของสำนักงานสถิติแห่งออสเตรเลีย), มีความก้าวหน้าที่เป็นรูปธรรมด้วยการใช้ดัชนีวัดความอยู่ดีมีสุข และเสริม จีดีพี.
In addition to all this, besides the work the OECD, the UN, the European Union and other international institutions and organizations are doing in creating a framework and a set of proposals, other international initiatives and practical experiences are underway through the work of research and development matured in recent years. In Canada (with the Canadian Index of Well Being) and Australia (through the work of the Australian Bureau of Statistics), there have been concrete advancements using indicators measuring well-being and supplementing GDP. 

ในบรรดาดัชนีที่ใช้, มี ISEW (ดัชนีของสวัสดิการที่ยั่งยืน), ที่คำนวณต้นทุนสิ่งแวดล้อมและการกระจายรายได้ ที่ได้รับการยอมรับในหลายๆ ประเทศและในบริบทท้องถิ่น.  การทำงบดุลสังคม, การตรวจสอบเชิงเพศสภาพ และการประเมินในทำนองเดียวกัน กำลังแพร่ขยายไปในพื้นที่ท้องถิ่น (แต่มีตัวอย่างของรัฐบาลกลาง เช่น นิวซีแลนด์), และครอบคลุมเทศบาลและรัฐบาลท้องถิ่นหลายร้อยแห่งทั่วโลก.
Among the many indicators used, there is the ISEW (Index of Sustainable Welfare), which calculates the environmental costs and income distribution: it has already been adopted in several national and local contexts. Social budgeting practices, gender auditing and similar assessments are spreading more and more in  local areas (but there are examples of central government such as New Zealand), and cover many hundreds of municipalities and local governments all over the world.

ในบางประสบการณ์ท้องถิ่น, ดัชนีเฉพาะ เช่น รอยเท้านิเวศ หรือ QUARS (คุณภาพของการพัฒนาระดับภูมิภาค) ได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจและการเงิน.  ในอิตาลี, นี่เป็นกรณีของภูมิภาค เช่น Lazio and Tuscany.  โดยเฉพาะ QUARS ที่มีการระบุ 7 ปริมณฑล และ 41 ดัชนีในมิติสังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ได้กลายเป็นเครื่องมือที่ได้รับความนิยมมากขึ้น ในการประเมินผลกระทบของนโยบายเฉพาะเรื่อง.  ได้ถูกใช้ในเมือง Arezzo, ในจังหวัด เช่น Trento, Ascoli Piceno และโรม, โดยถือเป็นจุดอ้างอิงสำหรับการดำเนินแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาจังหวัด.  มีเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นมากมายในอิตาลีที่ทำงานด้านการดำเนินนโยบายสาธารณะ บนพื้นฐานของดัชนีสัสดิภาพเขต, เช่น เครือข่ายเมืองที่มีศีลธรรม และเครือข่ายเทศบาลใหม่.
In some of these local experience, specific indicators such as ecological footprint or QUARS (Quality of Regional Development) are used as a tool to address economic and financial policies. In Italy, this is the case of regions such as Lazio and Tuscany. In particular, the QUARS[10] with the identification of 7 domains and 41 indicators of social, environmental and cultural dimensions, has become an increasingly popular tool in assessing the effects and impacts of specific policies. It is used in the town of Arezzo, in provinces such as those of Trento, Ascoli Piceno and Rome, where it is taken as a reference for the implementation of the strategic plan of development of the province[11]. There are also many local authorities in Italy who are working on the implementation of public policies on the basis of territorial welfare indicators, such as the Network of Virtuous Townships[12] and the Network for a new municipality.[13]

เครือข่ายเมืองใหญ่ที่ใช้ดัชนีใหม่ในนโยบายสาธารณะ
Networking cities that use new indicators in their public policies

ประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรมมากมายได้ดำเนินการโดยเทศบาลและรัฐบาลท้องถิ่น—และในระดับสากล—ภายในกรอบคิดของ วาระ 21
Many concrete experiences have been carried out by municipalities and local governments – and at the international level - within the framework of Agenda 21.

ในบรรดาต้นทุนยุโรป, มีตัวอย่างที่มีนัยสำคัญ—ที่ได้รับแรงดลใจจาก วาระ 21—จากกรุงดับลิน และเฮลซิงกิ (<www.un.org/esa/dsd/agenda21>).  การขับเคลื่อน “ข้อตกลงร่วมของนายกเทศมนตรี” ควรถูกเอ่ยถึงด้วย: มันได้ถูกแปลใส่เป็นสัญญาผูกพันอย่างเป็นรูปธรรมในนโยบายท้องถิ่นว่าด้วย ความมีประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน และการใช้พลังงานหมุนเวียน, ให้เป็นไปตามเป้าหมายของ 20/20/20.  เครือข่ายนี้เชื่อมโยง นายกเมศมนตรีกว่า 2,600 คน, ที่เป็นตัวแทนของประชาชนกว่า 126 ล้นคน (<www.eumayors.eu>).  นี่เป็นเพียงไม่กี่ตัวอย่าง, บ้างเชื่อมกับการประยุกต์ที่มีความยืดหยุ่นของดัชนีสวัสดิการ, ตัวอย่างอื่นๆ จำกัดอยู่ในภาคส่วนเฉพาะ, ที่สะท้อนความสำคัญที่เพิ่มมากขึ้นของการอภิปรายและสาธยายถึงวิธีการที่ปฏิบัติได้ ด้วยการใช้ดัชนีเพื่อการกำหนดนโยบายสาธารณะ.  ด้วยหนทางนี้, จากการใช้อย่างมีขอบเขตในฐานะเป็นตัวแทนและความอยู่ดีมีสุขเชิงสถิติและการสื่อออกที่ครอบคลุมกว้างขวางขึ้น, ดัชนีเหล่านี้กำลังกลายเป็นเครื่องมือที่กำหนดขอบเขต วัตถุประสงค์ ตรวจสอบนโยบายสาธารณะ, ในระดับเดียวกันกับดัชนีอื่นๆ ของเศรษฐกิจมหภาค.
Among the European capitals, there are the significative examples - inspired  by Agenda 21 - of Dublin and Helsinki (<www.un.org/esa/dsd/agenda21>). The movement of the "Covenant of Mayors" must also be mentionned: it has undertaken to translate into concrete commitments local policies on energy efficiency and use of renewable energy, in accordance with the goals of 20/20/20. It networks more than 2,600 mayors, representing over 126 million people (<www.eumayors.eu>). These are only a few examples, some linked to an organic application of welfare indicators, others limited to certain sectors, which reflects the growing importance of the debate and the elaboration of practical means using indicators for public policy making. In this way, from a confined use as broader statistical and articulated representation and well-being,  these indicators are becoming instruments that impose constraints, objectives, audits on public policies, at the same level of other indicators of macroeconomic nature.

จีดีพี ทุกวันนี้ ยังเป็นดัชนีหลักสำหรับการพัฒนาสังคมทั้งมวลและความก้าวหน้าทั่วไป.  ถึงอย่างไร, ด้วยธรรมชาติและจุดประสงค์ของมัน, จีดีพี ไม่สามารถเป็นกุญแจไขความเข้าใจต่อประเด็นทั้งหมดที่อยู่ในวงอภิปรายสาธารณะ.  โดยเฉพาะ, จีดีพี ไม่ได้วัดความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม หรือการโอบรวมเชิงสังคม, และข้อจำกัดเหล่านี้ควรจะถูกพิจารณา เมื่อใช้ จีดีพี ในการวิเคราะห์หรืออภิปรายเชิงนโยบาย.
GDP is still today considered a proxy indicator for overall development of society and progress in general. However, given its nature and its purpose, the GDP can not be the key to understanding all issues subject to public debate. In particular, the GDP does not measure environmental sustainability or social inclusion, and these limitations should be considered when it is used in the analysis or in policy debates.

มองจากมุมนี้, นโยบายที่มีนัยสำคัญได้ถูกรวบรวมในสหภาพยุโรป.  มันไม่ใช่เป็นการบังเอิญที่การสื่อสารของคณะกรรมาธิการยุโรป ต่อสภาและรัฐสภายุโรป เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2009 ในหัวข้อ “จีดีพี มาตรวัดความก้าวหน้าในโลกที่เปลี่ยนแปลง”, ได้คาดการณ์ว่า ในปี 2013 จะมีบัญชีสิ่งแวดล้อมเชิงกายภาพสำหรับทุกประเทศในสหภาพยุโรป, พร้อมกับบัญชีเศรษฐกิจคลาสสิค.
Significant policies, from this point of view, are collected within the European Union. It is no accident that the European Commission's Communication to the Council and the European Parliament dated August 20th, 2009 and titled "GDP. Measuring progress in a changing world", foresees that by 2013 for all EU countries physical environmental accounts will be available, along with the classic economic accounts.

ความพยายามของคณะกรรมาธิการถูกสรุปเป็นดัชนีตัวหนึ่ง ที่สะท้อนสถานภาพสุขภาพของสิ่งแวดล้อมโลก ที่จะบวกเข้ากับ จีดีพี.  เชื่อกันว่า ดัชนีทั้งหลายที่สรุปประเด็นสำคัญๆ ในตัวเลขหลักเดี่ยว เป็นเครื่องมือการสื่อสารที่จำเป็นยิ่ง ที่จะกระตุ้นให้เกิดการอภิปรายสาธารณะ, เผยให้ประชาชนเห็นหากความก้าวหน้าได้เกิดขึ้นจริง.  จีดีพี และอัตราการว่างงานและเงินเฟ้อ เป็นตัวอย่างที่มีนัยสำคัญของดัชนีเชิงสรุปเหล่านี้, แต่จุดประสงค์ของมัน ไม่ใช่เพื่อรวบรวมสถานการณ์ของประเด็นต่างๆ เช่น ความไม่เท่าเทียมเชิงสิ่งแวดล้อมและสังคม.
The attempt that the Commission is making is to also summarize in one indicator the status of global environmental health to be summed to the GDP. It is believed that indicators that summarize important issues in the single digits are essential communication tools that trigger public debate, allowing people to see if progress has been actually achieved. GDP and unemployment rates and inflation are significant examples of such summary indicators, but their purpose is not to take stock of the situation on issues such as environment or social inequalities.

การแทรกแซงสี่เส้นทางของยุโรป
Four lines for European intervention

โดยสรุป, เมื่อเร็วๆ นี้, เราได้พยายามแปลดัชนีสวัสดิการในนโยบายสาธารณะและบทปฏิบัติที่ดี.  ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีและนโยบาย, มีสี่เส้นทางที่รัฐบาล, รัฐสภา และเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นสามารถปฏิบัติตามบนบรรทัดฐานของยุโรป
In recent years, in conclusion, we have tried to translate the welfare indicators in public policy and good practices. Regarding the relationship between indicators and policies, there are the four lines that could be followed by governments, parliaments and local authorities on a European scale.

ประการแรก คือ การยอมรับดัชนีที่เสนอโดย “คณะกรรมาธิการ สติกลิทซ์”, ที่สามารถนำมาใช้ในกฎหมายการเงิน การจัดสรรงบดุล และในเอกสารสำหรับการวางแผนเศรษฐกิจและการเงิน.
The first is the adoption of the indications made by the "Stiglitz Commission”, which could be appropriately used in financial, budgetary laws and in the economic and financial planning documents.

ประการที่สอง คือ คำจำกัดความของ ข้อตกลงเพื่อเสถียรภาพของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม, การกำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตสำหรับนโยบายสาธารณะ ที่เกี่ยวข้องกับดัชนีที่เลือกไว้.
The second is the definition of a "economic, social and environmental stability pact, setting objectives and constraints for public policies related to the chosen indicators.

ประการที่สาม คือ การใช้ดัชนีสวัสดิการในการวางแผนเศรษฐกิจและการเงิน: ขึ้นกับประเทศและอาณาเขต, มีเครื่องมือมากมาย, พื้นที่และสาขาวิชาที่จะนำมาประยุกต์ใช้ ที่สามารถอ้างอิงได้เพื่อสร้างดัชนีที่เป็นรูปธรรม.
The third is the use of welfare indicators in the Economic and Financial Planning: depending on the countries and territories, there are several tools, areas and fields of application which can usefully be referenced to help build the identified indicators.

ในที่สุด, มีจุดที่เรียกว่า “บัญชีโคจร”: ด้วยการจัดสรรงบดุลด้านสิ่งแวดล้อม. การตรวจสอบเชิงสังคมและเพศสภาพ  เป็นไปได้ที่จะสร้างเครื่องมือเพื่อวัดความอยู่ดีมีสุข และเพื่อประเมินผลและผลกระทบของนโยบาย, และที่สามารถช่วยระบุทางเลือก และพิสูจน์ผลลัพธ์ได้.
Finally, there is the point of so-called "satellite accounts": with environmental budgeting, social and gender auditing it is possible to build instruments to measure well-being and to assess the effects and impact of policies, and which are able to help indicate the choices and verify the results.

เรื่องหนึ่งที่ผุดขึ้นจากการอภิปรายระหว่างดัชนีและนโยบายสาธารณะ คือ ความชอบธรรมของการเลือกดัชนีต่างๆ.   ในบริบทนี้, กระบวนการสาธารณะในการสร้างการมีส่วนร่วมและแบ่งปันดัชนีกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหลายที่เกี่ยวข้อง ได้กลายเป็นจุดสำคัญในการนิยามชุดปริมณฑลและดัชนีที่มีความชอบธรรมทางสถาบันและสังคม.
One point that emerges in the debate between indicators and public policies is the legitimacy of the choice of indicators[14]. In this context, the public process of building participatory and shared indicators with all stakeholders concerned becomes a crucial point in defining a set of domains and indicators that have institutional and social legitimacy.

ในบริบทนี้, ตัวอย่างหนึ่ง คือ ความก้าวหน้าในอิตาลี, ซึ่งเป็นการริเริ่มของ สำนักงานสถิติแห่งชาติ และสภาเศรษฐกิจและแรงงานแห่งชาติ ที่ได้จัดตั้ง “กรรมาธิการเชื่อมโยงความริเริ่มระหว่างสถาบันในการพัฒนาดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าและอุดมสมบูรณ์” ได้เริ่มงานในปี 2011 และจะสรุปงานในปี 2012, ด้วยเป้าหมายเพื่อ “พัฒนานิยามร่วมของความก้าวหน้าในสังคมอิตาลี, เพื่อเผยพื้นที่สำคัญๆ ในเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม”.  เหนือกว่านั้น, เราตั้งใจที่จะเลือกชุดดัชนีที่มีคุณภาพสูง และเป็นตัวแทนของปริมณฑลต่างๆ.  แล้วดัชนีเหล่านี้จะได้ถูกเผยแพร่ต่อพลเมือง ผ่านช่องทางการกระจายข้อมูลของวิวัฒนาการของดัชนีเหล่านี้อย่างกว้างขวาง.
In this context, an example is the progress in Italy, where on the initiative of ISTAT (National statistics agency) and CNEL (National Council for Economy and Labour), a "steering committee on the inter-institutional initiative to develop indicators of progress and prosperity" began its work in 2011 and will conclude in 2012, with the aim to "develop a shared definition of the progress of Italian society, to express the economic, social and environmental major areas (...) Furthermore, we intend to select a set of high quality statistical indicators and representative of the various domains (...) these indicators will then be disseminated to citizens through a widespread distribution of the evolution of these indicators.[15]

สำหรับอิตาลี, นี่จะเป็นก้าวสำคัญสู่การใช้ดัชนีอย่างกว้างขวางในนโยบายสาธารณะในระดับชาติและท้องถิ่น.
For Italy, this could be a decisive step towards the widespread use of indicators in public policy at national and local levels.

<www.essp.org>.
<www.icsu.org>.
<www.sustainabilityscience.org>.
<www.maweb.org>.
<www.teebweb.org>.
<www.ipcc.ch>.
See: <www.beyond-gdp.eu>.
<www.stiglitz-sen-fitoussi.fr>.
<www.oecd.org/progress>.
<www.sbilanciamoci.org>.
<capitalemetropolitana.provincia.roma.com>.
<www.comunivirtuosi.org>.
<www.nuovomunicipio.org>.
On the dimension of the relationship between indicators and public policies, an important reference is the document "Health and solidarity" of the campaign Sbilanciamoci (www.sbilanciamoci.org) operating in Italy.
See: <www.cnel.it/19?shadow_comunicati_stampa=3090>.

ดรุณีแปล / 3-24-12
                                                                                                                                                              

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น