Monsanto
vs. The People
มอนซานโต ปะทะ มนุษยชน
โดย
ชาร์ล็อต ซิลเวอร์
ดรุณี ตันติวิรมานนท์ แปล
Last week Monsanto announced
staggering profits from 2012 to celebratory shareholders while American farmers
filed into Washington, DC to challenge the Biotech giant’s right to sue farmers
whose fields have become contaminated with Monsanto’s seeds. On January 10 oral
arguments began before the U.S. Court of Appeals to decide whether to reverse
the cases' dismissal last February.
สัปดาห์ก่อน
มอนซานโต ได้ประกาศตัวเลขกำไรมหาศาลจากปี 2012 แก่ผู้ถือหุ้นที่ดีใจเฉลิมฉลอง ในขณะที่ เกษตรกรอเมริกัน
ได้ยื่นฟ้องร้องใน กรุงวอชิงตัน ดีซี เพื่อท้าทายสิทธิของยักษ์ใหญ่แห่งไบโอเทค
(เทคโนโลยีทางชีวภาพ) ในการเอาผิดดำเนินคดีกับเกษตรกร
ที่แปลงเพาะปลูกของพวกเขาได้กลายเป็นผืนดินที่ปนเปื้อนไปด้วยเมล็ดของมอนซานโต. ในวันที่ 10 มกราคม
การโต้เถียงปากเปล่าได้เริ่มขึ้นต่อหน้าศาลอุทธรณ์ของสหรัฐฯ เพื่อตัดสินว่า
จะพลิกกลับคดีที่ได้ยกเลิกไปเมื่อวันศุกร์ที่แล้วได้หรือไม่.
Monsanto has established a
conveniently intimidating reputation as "a ruthless prosecutor of non-GMO
farmers" whose fields have been "contaminated by their neighbours'
genetically engineered crops". (Photo: Reuters)
มอนซานโตได้สร้างชื่อเสียงที่ข่มขู่ตามความสะดวกของตัวเองว่าเป็น
“โจทก์อำมหิตของเกษตรกรที่ไม่เอา จีเอ็มโอ” ผู้ที่ผืนดินเพาะปลูกได้ถูก
“ปนเปื้อนด้วยพืชที่ได้ถูกตัดแต่งทางพันธุกรรมแล้วของเพื่อนบ้าน”
Monsanto's earnings nearly doubled analysts' projections and its total revenue reached $2.94bn
at the end of 2012. The increased price of Roundup herbicide, continued market
domination in the United States and, perhaps most significant, expanded markets
in Latin America are all contributing factors to Monsanto's booming
business.
รายได้ของมอนซานโต
เพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัวของตัวเลขที่นักวิเคราะห์ได้คาดการณ์ไว้ และ ยอดรวมรายได้ทั้งหมดได้บรรลุ
$2.94 พันล้านดอลลาร์ ณ
สิ้นปี 2012.
ราคาที่สูงขึ้นของยากำจัดวัชพืช ราวน์อัพ, การครองตลาดในสหรัฐฯ
อย่างต่อเนื่อง และ, คงจะเป็นสิ่งที่มีนัยสำคัญสูงสุด,
การขยายตลาดเข้าสู่ลาตินอเมริกา เหล่านี้
ล้วนเป็นปัจจัยทำให้ธุรกิจของมอนซานโตเจริญรุ่งเรือง.
Exploiting their patent on
transgenic corn, soybean and cotton, Monsanto asserts an insidious control of
those agricultural industries in the US, effectively squeezing out conventional
farmers (those using non-transgenic seeds) and eliminating their capacity to
viably participate and compete on the market. (Until the end of 2012, Monsanto was under investigation by the Department of
Justice for violating anti-trust laws by practicing anticompetitive activities
towards other biotech companies, but that investigation was quietly closed
before the year's end.)
การฉวยโอกาสขูดรีดด้วยการใช้กรรมสิทธิ์ของการตัดแต่งพันธุกรรมของข้าวโพด,
ถั่วเหลือง และ ฝ้าย,
มอนซานโตได้ยืนกรานถือสิทธิ์ในการควบคุมที่ซ่อนเงื่อนในอุตสาหกรรมการเกษตรเหล่านี้ในสหรัฐฯ,
ทำการบีบขับเกษตรกรธรรมดา (ที่ยังคงใช้เมล็ดที่ไม่ได้รับการตัดแต่งทางพันธุกรรม)
อย่างมีประสิทธิผล
และกำจัดความสามารถของพวกเขาในการมีส่วนร่วมและแข่งขันได้เต็มที่ในระบบตลาด. (จวบจนสิ้นปี 2012, มอนซานโตถูกกระทรวงยุติธรรมสอบสวนด้วยข้อหา
ละเมิดกฎหมายด้วยการทำกิจกรรมที่สวนทางกับการแข่งขัน (ขัดขา)
กับบริษัทไบโอเทคอื่นๆ, แต่การสอบสวนดังกล่าวกลับถูกปิดลงหีบเงียบๆก่อนสิ้นปี.)
The seemingly modest objective of
the current lawsuit, OSGATA et al v Monsanto, originally filed in March
2011, is to acquire legal protection for organic and conventional farmers from
Monsanto's aggressive prosecution of inadvertent patent infringements. But the
implications of the suit are momentous. If the DC Court of Appeal reverses the
dismissal, a process of discovery will be instigated that could unveil a
reservoir of information, access to which Monsanto has withheld from public
knowledge - both by not disclosing it and preventing independent
research.
วัตถุประสงค์ที่ดูเหมือนพื้นๆ
ของคดีปัจจุบัน, OSGATA et al v Monsanto, ซึ่งยื่นฟ้องเมื่อเดือนมีนาคม 2011, คือ ขอให้มีกฎหมายพิทักษ์เกษตรกรอินทรีย์ และเกษตรกรธรรมดาทั่วไป
จากการรุกคืบฟ้องร้องอย่างดุเดือดของมอนซานโตในข้อหาฝ่าฝืนสิทธิบัตรโดยไม่ตั้งใจ. แต่นัยของคดีนี้เป็นจุดผกผัน. หากศาลอุทธรณ์ในดีซี
พลิกคำตัดสินที่ว่าให้ยกเลิกคำฟ้องร้อง, กระบวนการเปิดเผยตีแผ่จะถูกกระตุ้น ที่จะเผยคลังข้อมูล,
การเข้าถึงที่มอนซายโตได้เก็บกักไม่ให้เป็นความรู้สาธารณะ—ทั้งด้วยการไม่ยอมเปิดเผย
และ กีดกันการศึกษาวิจัยอิสระ.
Monsanto's abuse of patents
มอนซานโตใช้สิทธิบัตรในทางที่ผิด
Between 1997 and 2010, Monsanto filed 144 lawsuits against family farmers and settled 700 cases
out of court. Furthermore, food groups estimate that Monsanto investigates
hundreds of farmers each year as potential culprits of patent
infringement.
ในระหว่างปี
1997 และ 2010, มอนซานโตได้ยื่นฟ้อง 144 คดีกับครอบครัวเกษตรกร และ
ยอมความนอกศาล 700 คดี. ยิ่งกว่านั้น, กลุ่มรณรงค์เรื่องอาหารประเมินว่า
มอนซานโตทำการสอบสวนเกษตรกรหลายร้อยรายในแต่ละปีในโทษฐานฝ่าฝืนสิทธิบัตร.
Victims of Monsanto's predatory
lawsuits include farmers who used Monsanto seed but violated the licensing
agreement, as well as those farmers who never had any intention of growing GE
plants. OSGATA et al v Monsanto deals with the latter group and represents 31 farms and
farmers, 13 seed-selling businesses, and 31 agricultural organisations that
represent more than 300,000 individuals and 4,500 farms or farmers.
เหยื่อของคดีความแบบจี้ปล้นของมอนซานโต
รวมถึงเกษตรกรที่ใช้เมล็ดของมอนซานโต แต่ละเมิดข้อตกลงในใบอนุญาต,
รวมทั้งเกษตรกรอื่นๆ ที่ไม่เคยต้องการปลูกพืช จีอี. OSGATA et al v Monsanto เจาะจงกับกลุ่มหลัง และเป็นตัวแทนของฟาร์มและเกษตรกร 31 ราย, ธุรกิจขายเมล็ดพันธุ์ 13 แห่ง, และ องค์กรเกษตรกรรมอีก 31 กลุ่ม
ที่เป็นตัวแทนของคนกว่า 300,000
และฟาร์มและเกษตรกรกว่า 4,500.
Plaintiffs requested a declaratory judgment that would ensure Monsanto was not
entitled to sue the plaintiffs for patent infringement. Jim Gerritson,
president of OSGATA (Organic Seed Growers and Trade Association) and lead
plaintiff in the case, explained to me that organic and non-GMO farmers are a
"Classic example of why Congress passed the Declaratory Judgment Act: if
you have a group that fears being bullied by a large company, they can petition
for protection from claims of patent infringement."
ฝ่ายเจ้าทุกข์ได้ขอให้มีการแถลงคำพิพากษาที่จะทำให้มั่นใจว่า
มอนซานโตไม่มีสิทธิ์ที่จะฟ้องร้องเอาผิดกับเจ้าทุกข์ในข้อหาฝ่าฝืนสิทธิบัตร. จิม เกอริตสัน, ประธานของ OSGATA (Organic Seed Growers and Trade Association, สมาคมผู้เพาะและค้าเมล็ดอินทรีย์) และเป็นเจ้าทุกข์นำในคดีดังกล่าว,
อธิบายว่า เกษตรกรอินทรีย์ และ ที่ไม่ใช้ จีเอ็มโอ เป็น “ตัวอย่างดั้งเดิมที่ว่า
ทำไมคองเกรสต้องผ่านคำพิพากษาแบบแถลงการณ์: หากคุณมีคนกลุ่มหนึ่งที่กลัวว่าจะถูกระรานกลั่นแกล้งโดยบริษัทใหญ่แล้ว,
พวกเขาก็สามารถร้องเรียนขอให้ช่วยพิทักษ์จากข้อกล่าวหาว่าได้ฝ่าฝืนสิทธิบัตร.”
But the federal courts have always
protected Monsanto's rights to profit via a patenting system that increasingly
impinges on individual and market freedom, allowing Monsanto to abuse its
patent rights. In a natural alliance, OSGATA is represented by attorney Dan
Ravicher and Public Patent Foundation,
an organisation dedicated to creating a just patent system that balances
individual freedom and the ethical issuing of patents.
แต่ศาลของรัฐบาลกลางมีแต่ปกป้องสิทธิ์ของมอนซานโตให้เอากำไรผ่านระบบสิทธิบัตร
ที่เริ่มรุกรานเสรีภาพของปัจเจกชนและตลาดมากขึ้นทุกทีๆ, อนุญาตให้มอนซานโตใช้สิทธิบัตรของตนในทางที่ผิด. ในพันธมิตรตามธรรมชาติ, OSGATA มีทนายว่าต่างโดย อัยการ แดน ราวิเชอร์ และ
มูลนิธิสิทธิบัตรสาธารณะ, องค์กรที่อุทิศตัวให้กับการสรรค์สร้างระบบสิทธิบัตรที่เป็นธรรม
ที่รักษาสมดุลระหว่างเสรีภาพปัจเจกและประเด็นเชิงจริยธรรมของสิทธิบัตร.
Monsanto has established a
conveniently intimidating reputation as a ruthless prosecutor of non-GMO
farmers whose fields have been contaminated by their neighbours' genetically
engineered corn - either through cross-pollination or accidental seed mixing
during harvest.
มอนซานโตได้สร้างชื่อเสียงอันธพาลตามอำเภอใจตัวเองในฐานะ
โจทก์โหดเหี้ยมของบรรดาเกษตรกรที่ไม่ใช้ จีเอ็มโอ ผู้ที่ผืนดินเพาะปลูกได้ถูก
“ปนเปื้อนด้วยพืชที่ได้ถูกตัดแต่งทางพันธุกรรมแล้วของเพื่อนบ้าน—ด้วยการผสมเกสร หรือ
เมล็ดกระเด็นมาปนโดยอุบัติเหตุในระหว่างเก็บเกี่ยว.
With these terrifying exemplars in
mind, farmers have taken on the burden of preventing contamination by setting
up buffer zones, conducting genetic testing and in some cases, giving up on
planting the crop altogether.
ด้วยตัวอย่างที่น่าสะพรึงกลัวเหล่านี้ในใจ,
เกษตรกรได้เป็นธุระเองในการกีดกันไม่ให้เกิดการปนเปื้อนด้วยการกั้นเขตกันชน,
ทำการตรวจพันธุกรรม และในบางกรณี, เลิกอาชีพเพาะปลูกไปทั้งหมด.
Monopolising effect
ผลกระทบในการผูกขาดสิทธิ์
By detailing how many conventional
farmers have given up trying to grow certain crops, OSGATA's motion to appeal
emphasises the monopolisation that has resulted from Monsanto's aggressive
pursuit of patent infringement cases. It is estimated that 88 percent of corn and 93 percent of
soybeans are genetically modified, most of
them by Monsanto. Bryce Stephens, an organic farmer in the northwest of Kansas,
is one of those farmers who have decided to forego growing corn and soybeans
due to the inevitable contamination that will result.
ด้วยการให้รายละเอียดจำนวนเกษตรกรธรรมดาๆ
ที่ได้เลิกปลูกพืชบางชนิด, OSGATA ยื่นอุทธรณ์ขอให้เน้นที่การผูกขาด
อันเป็นผลจากการที่มอนซานโตรุกคืบอย่างดุเดือดแจ้งคดีละเมิดสิทธิบัตร. มีการประเมินว่า 88% ของข้าวโพด และ 93% ของถั่วเหลือง
เป็นพืชที่ได้รับการตัดแต่งทางพันธุกรรม, ส่วนมากทำโดยมอนซานโต. ไบรซ์ สตีเฟน, เกษตรกรอินทรีย์ผู้หนึ่ง
ในแคนซัสตะวันตกเฉียงเหนือ, เป็นหนึ่งในผู้ที่เลิกล้มปลูกข้าวโพดและถั่วเหลือง
เพราะหลีกเลี่ยงการถูกปนเปื้อนไม่ไหว.
"My fear of contamination by
transgenic corn and soybeans and the resulting risk of being accused of patent
infringement prevent me from growing corn and soybeans on my farm. There is no
other reason why I do not grow those crops, and I would very much like to do
so."
“ความกลัวของผมว่าจะถูกปนเปื้อนโดยข้าวโพดและถั่วเหลืองข้ามสายพันธุ์
และความเสี่ยงอันเป็นผลจากการถูกกล่าวหาว่า ฝ่าฝืนสิทธิบัตร
เป็นตัวกีดกันไม่ให้ผมปลูกข้าวโพดและถั่วเหลืองในไร่ของผม. ไม่มีเหตุผลอื่นใดเลยที่อธิบายได้ว่าทำไมผมจึงไม่ปลูกพืชเหล่านี้,
และตัวผมเองก็อยากปลูกมากๆ.”
As Gerritson described to me,
"Farmers have suffered economic loss because they've abandoned growing
corn and soybeans because they are certain they will be contaminated. They
cannot put their farms and families at risk of being sued for patent
infringement."
ดังที่
เกอริตสัน บรรยาย, “เกษตรกรได้รับความทุกข์ร้อนจากการสูญเสียทางเศรษฐกิจ
เพราะพวกเขาได้ละทิ้งการปลูกข้าวโพดและถั่วเหลือง เพราะพวกเขาแน่ใจว่า มันจะต้องถูกปนเปื้อน.
พวกเขาไม่สามารถเอาไร่และคนครอบครัวเข้าเสี่ยงต่อการถูกฟ้องร้องหาว่าฝ่าฝืนสิทธิบัตร.”
Monsanto knows that consumers won't
voluntarily buy their products - a lesson they learned in Europe when GE foods
there were required to be labelled as such. In America, the company and its
allies have spent millions to defeat local labelling initiatives, most recently in California. But if the company successfully crowds out conventional
farmers, Americans won't have a choice - with or without a label.
มอนซานโตรูว่า
ผู้บริโภคจะไม่ยอมซื้อผลิตภัณฑ์ของพวกเขาอย่างสมัครใจ—บทเรียนที่พวกเขาได้รับในยุโรป
เมื่ออาหาร จีอี ที่นั่น ถูกบังคับให้ติดฉลากแจ้ง. ในอเมริกา, ตัวบริษัทและพันธมิตรของมัน
ได้ทุ่มเงินหลายล้าน เพื่อต้านการริเริ่มของประชาชนท้องถิ่นที่เรียกร้องให้ติดฉลาก,
เมื่อไม่นานมานี้ในแคลิฟอร์เนีย. แต่หากตัวบริษัทกีดกันเกษตรกรธรรมดาได้สำเร็จ,
ชาวอเมริกันจะไม่มีทางเลือก—ไม่ว่าจะมีฉลากหรือไม่มีฉลากก็ตาม.
In spite of the creation of this
dangerous monopoly, in February 2012, Judge Naomi Reice Buchwald granted
Monsanto's request and dismissed the initial suit, casting the farmers'
concerns as "overstated"; urging the plaintiffs to trust Monsanto's
(non-legally binding) promises to not exercise their patent rights over
inadvertent acquisition of traces of GE plants; and insisting that farmers have
created "a controversy where none exists".
ทั้งๆ
ที่ได้สร้างการผูกขาดที่อันตรายเช่นนี้, ในเดือนกุมภาพันธ์ 2012, ผู้พิพากษา นาโอมิ ไรซ์ บุชวาลด์ ได้ขานรับคำขอของมอนซานโต และ โยนทิ้งคดีร้องทุกข์ครั้งแรก,
บอกว่า ความห่วงใยของเกษตรกรเป็นเรื่อง “คิดมากเกินไปเอง”; แนะนำให้เจ้าทุกข์เชื่อถือคำสัญญาของมอนซานโต
(ที่ไม่มีข้อผูกพันทางกฎหมาย) ว่าจะไม่ใช้อภิสิทธิ์จากสิทธิบัตรในการจัดการกับกรณีที่
เศษ จีอี เกิดเป็นต้นอย่างไม่ได้ตั้งใจ; และแถมยัดเยียดว่า
เกษตรกรได้สร้างเรื่อง “ขัดแย้งกันเองในตัวที่ไม่มีอะไรเกิดขึ้น”.
If the farmers' case is allowed to
go forward, the very least that will happen is of supreme importance: that is,
through the process of discovery the public will gain access to a trove of
information that Monsanto has successfully stashed away. Ravicher believes that
it can then be established that the products Monsanto peddles are not healthy
and, hence, are not for the good of society. Quoting a
150-year-old case, Ravicher reminds us that "an invention to poison the
people is not patentable".
หากคดีของเกษตรกร
ถูกปล่อยให้เดินหน้าได้, อย่างน้อยที่สุดที่จะเกิดขึ้น มีความสำคัญยิ่ง
ยวด: นั่นคือ, ด้วยกระบวนการค้นพบตีแผ่
สาธารณชนจะเข้าถึงกรุข้อมูลที่มอนซานโตได้เก็บซ่อนไว้สำเร็จมาตลอด. ราวิเชอร์ เชื่อว่า
มันจะช่วยสถาปนาความจริงที่ว่า ผลิตผลของมอนซานโตเที่ยวเร่ขาย ไม่มีประโยชน์ต่อสุขภาพร่างกายคน
และ, ด้วยเหตุนี้, ไม่ดีสำหรับสังคม. ด้วยการกล่าวอ้างคดีที่มีอายุ
150 ปี, ราวิเชอร์ เตือนพวกเราว่า “ประดิษฐกรรมที่เป็นยาพิษต่อประชาชน
ไม่สามารถจดสิทธิบัตรได้”.
It's clear that the movement to
defeat Monsanto is growing. Win or lose this round, the people are not giving
up on taking down this monster.
เห็นชัดอยู่แล้วว่า
การขับเคลื่อนเพื่อเอาชนะมอนซานโตกำลังขยายตัว. ในรอบนี้ ชนะ หรือ แพ้, ประชาชนจะไม่ยกเลิกในการล้มสัตว์ประหลาดมหึมาตัวนี้.
© 2012 Al-Jazeera
Charlotte Silver is a journalist
based in San Francisco and the West Bank, Palestine. She is a graduate of Stanford
University.
ชาร์ล็อต
ซิลเวอร์ เป็นนักวารสารศาสตร์ ใน ซานฟรานซิสโก และ เวสต์แบงค์, ปาเลสไตน์. เธอสำเร็จปริญญาจากแสตนฟอร์ด.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น