สู่เป้าหมายของระบบอาหารที่ยั่งยืนด้วยเกษตรอินทรีย์
สุปรียา กุมาร
ดรุณี ตันติวิรมานนท์ แปล
New
Worldwatch Institute report examines the growth of global organic agricultural
practices and their impact on food security and the environment
รายงานฉบับใหม่ของสถาบัน เวิล์ดวอต์ช (เฝ้าระวังโลก)
ศึกษาการขยายตัวของเกษตรกรรมอินทรีย์ทั่วโลก และ ผลกระทบด้านความมั่นคงทางอาหาร
และ สิ่งแวดล้อม
WASHINGTON - January 15 - Despite a
slight decline between 2009 and 2010, since 1999 the global land area farmed
organically has expanded more than threefold to 37 million hectares, according
to new research conducted by the Worldwatch Institute for its Vital Signs
Online service (www.worldwatch.org). Regions with the largest certified organic agricultural
land in 2010 were Oceania, including Australia, New Zealand, and Pacific Island
nations (12.1 million hectares); Europe (10 million hectares); and Latin
America (8.4 million hectares), write report authors Catherine Ward and Laura
Reynolds.
วอชิงตัน-15 มค—แม้จะมีการลดหย่อนลงในระหว่างปี 2009
และ 2010, ตั้งแต่ปี 1999 ที่ดินทำเกษตรกรรมอินทรีย์ทั่วโลก ได้ขยายตัวกว่าสามเท่า เป็น 37 ล้านเฮตเตอร์, ตามงานวิจัยใหม่ที่จัดทำโดย สถาบัน เวิล์ดวอต์ช ให้แก่การบริการออนไลน์ Vital Signs Online (www.worldwatch.org). ภูมิภาคที่มีอาณาบริเวณที่ได้รับการรับรองว่าเป็นแปลงอินทรีย์กว้างขวางที่สุดในปี
2010 คือ โอเวียเนีย, ซึ่งรวม ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, และ ชนชาติในหมู่เกาะแปซิฟิค
(12.1 ล้านเฮตเตอร์), ในยุโรป (10 ล้านเฮตเตอร์),
และในลาตินอเมริกา (8.4 ล้านเฮตเตอร์), ดังที่ แคเธอลีน
วอร์ด และ ลอรา เรโนลด์ เขียน.
Organic farming is now established
in international standards, and 84 countries had implemented organic
regulations by 2010, up from 74 countries in 2009. Definitions vary, but
according to the International Federation of Organic Agriculture Movements,
organic agriculture is a production system that relies on ecological processes,
such as waste recycling, rather than the use of synthetic inputs, such as
chemical fertilizers and pesticides.
ตอนนี้
เกษตรอินทรีย์ มีมาตรฐานระดับนานาชาติแล้ว, และ 84
ประเทศได้ใช้กฎระเบียบอินทรีย์ในปี 2010, เพิ่มขึ้นจาก 74
ประเทศในปี 2009. แม้คำจำกัดความจะต่างกันบ้าง, แต่ตาม IFOAM (International Federation of Organic Agriculture Movements, สหพันธ์การขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ระหว่างประเทศ), เกษตรกรรม คือ
ระบบการผลิตที่พึ่งพากระบวนการทางนิเวศ, เช่น การหมุนเวียนปรับขยะกลับมาใช้เป็นประโยชน์/รีไซเคิล,
แทนการใช้วัสดุสังเคราะห์, เช่นปุ๋ยและยากำจัดวัชพืชที่เป็นสารเคมี.
"Although organic agriculture
often produces lower yields on land that has recently been farmed
conventionally, it can outperform conventional practices---especially in times
of drought---when the land has been farmed organically for a longer time,"
said Reynolds, a researcher with Worldwatch's Food and Agriculture Program.
"Conventional agricultural practices often degrade the environment over
both the long and short term through soil erosion, excessive water extraction,
and biodiversity loss."
“แม้ว่า
เกษตรอินทรีย์มักให้ผลผลิตต่ำกว่าในพื้นที่ๆ เพิ่งผ่านการเพาะปลูกตามกระแสหลัก,
มันก็สามารถจะก้าวข้ามหน้าเกษตรกระแสหลักได้—โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงหน้าแล้ง—เมื่อที่ดินผืนนั้น
ได้เพาะปลูกแบบอินทรีย์มาเป็นเวลานาน”, เรโนลด์, นักวิจัยในโครงการอาหารและเกษตรของเวิล์ดวอต์ช,
กล่าว. “เกษตรกรรมกระแสหลักมักจะทำลายสิ่งแวดล้อมทั้งในระยะใกล้และไกล
ด้วยการทำให้ดินสึกกร่อนและพังทลาย, ใช้น้ำมากเกินไป,
และทำให้สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ”.
Organic farming has the potential to
contribute to sustainable food security by improving nutrition intake and
sustaining livelihoods in rural areas, while simultaneously reducing
vulnerability to climate change and enhancing biodiversity. Sustainable
practices associated with organic farming are relatively labor intensive.
Organic agriculture uses up to 50 percent less fossil fuel energy than
conventional farming, and common organic practices---including rotating crops,
applying mulch to empty fields, and maintaining perennial shrubs and trees on
farms---also stabilize soils and improve water retention, thus reducing
vulnerability to harsh weather patterns. On average, organic farms have 30
percent higher biodiversity, including birds, insects, and plants, than
conventional farms do.
เกษตรอินทรีย์
มีศักยภาพที่จะทำให้เกิดความมั่นคงทางอาหารอย่างยั่งยืน ด้วยการเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการในอาหารที่กินเข้าไป
และ ช่วยธำรงวิถีชีวิตในชนบท,
ในขณะเดียวกันก็ลดความเปราะบางต่อภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง
และเพิ่มพูนความหลากหลายทางชีวภาพ. การปฏิบัติที่ยั่งยืนเกี่ยวโยงกับเกษตรอินทรีย์
ค่อนข้างใช้แรงงานมาก. เกษตรอินทรีย์ใช้พลังงานจากเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์น้อยกว่าเกษตรกระแสหลักและเกษตรสามัญถึง
50%--รวมทั้งการปลูกพืชหมุนเวียน, การใช้ใบไม้เน่าเปื่อยคลุมที่นาว่างเปล่า, และการธำรงพุ่มไม้และต้นไม้ในฟาร์ม—มันยังช่วยทำให้ดินเสถียร
และ การอุ้มน้ำดีขึ้น, จึงช่วยลดความเปราะบางต่ออากาศที่โหดร้าย. โดยเฉลี่ย, ฟาร์มอินทรีย์จะมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงกว่าถึง
30%, รวมทั้งนก, แมลง, และพืช, เมื่อเทียบกับในฟาร์มกระแสหลัก.
Certifications for organic
agriculture are increasingly concentrated in wealthier countries. From 2009 to
2010, Europe increased its organic farmland by 9 percent to 10 million
hectares, the largest growth in any region. The United States has lagged behind
other countries in adopting sustainable farming methods. When national sales
rather than production are considered, however, the U.S. organic industry is
one of the fastest-growing industries in the nation, expanding by 9.5 percent
in 2011 to reach $31.5 billion in sales.
การรับรองเกษตรอินทรีย์กระจุกตัวสูงขึ้นในแถบประเทศร่ำรวย.
จากปี 2009 ถึง 2010,
ยุโรปได้เพิ่มพื้นที่เพาะปลูกอินทรีย์ขึ้น 9% เป็น
10 ล้านเฮตเตอร์, เป็นการขยายตัวที่มากที่สุดในภูมิภาคใดๆ. สหรัฐฯ
รั้งท้ายประเทศอื่นๆในการยอมรับกรรมวิธีเกษตรยั่งยืน. แต่พอหันไปดูที่การขาย แทนการผลิต, อุตสาหกรรมอินทรีย์เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมที่เติบโตเร็วที่สุดในประเทศ,
ขยายตัวในอัตรา 9.5% ในปี 2011 บรรลุยอดขาย
$31.5 พันล้าน.
Sustainable food production will
become increasingly important in developing countries, as the majority of
population growth is concentrated in the world's poorest countries. Agriculture
in developing countries is often far more labor intensive than in industrial
countries, so it is not surprising that approximately 80 percent of the 1.6
million global certified organic farmers live in the developing world. The
countries with the most certified organic producers in 2010 were India (400,551
farmers), Uganda (188,625), and Mexico (128,826). Non-certified organic
agriculture in developing countries is practiced by millions of indigenous
people, peasants, and small family farms involved in subsistence and local
market-oriented production.
การผลิตอาหารอย่างยั่งยืน
จะมีความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆในประเทศกำลังพัฒนา,
เพราะอัตราเกิดของประชากรส่วนใหญ่กระจุกตัวอยู่ในกลุ่มประเทศที่ยากจนที่สุดของโลก. เกษตรกรรมในประเทศกำลังพัฒนามักจะใช้แรงงานมากกว่ามากๆ
ในประเทศอุตสาหกรรม, ดังนั้น จึงไม่น่าประหลาดใจเลยว่า ประมาณ 80% ของเกษตรกรอินทรีย์โลกที่ผ่านการรับรองแล้ว 1.6 ล้านคน
อาศัยอยู่ในประเทศกำลังพัฒนา. ประเทศที่มีผู้ผลิตอินทรีย์ที่ผ่านการรับรองแล้วมากที่สุดในปี
2010 คือ อินเดีย (400,551 คน), อูกานดา
(188,625), และเม็กซิโก (128,826). เกษตรอินทรีย์ที่ไม่ได้ถูกรับรองในประเทศกำลังพัฒนา
เป็นวิถีปฏิบัติของชนพื้นเมือง, ชาวนา, และครอบครัวชาวนาพื้นบ้าน หลายล้านคน
ที่มีส่วนในการผลิตเพื่อการยังชีพและขายในตลาดท้องถิ่น.
Further highlights from the report:
ประเด็นสำคัญอื่นๆ
ในรายงาน
·
In 2010, the most recent year for
which data are available, certified organic farming accounted for approximately
0.9 percent of the world's agricultural land.
o
ในปี
2010, อันเป็นปีใกล้ที่สุดที่มีข้อมูล,
เกษตรอินทรีย์แบบรับรอง มีอยู่ประมาณ 0.9%
ของที่ดินเกษตรในโลก.
·
Africa is home to 3 percent of the
world's certified organic agricultural land, with just over 1 million hectares
certified. Asia has 7 percent, with a total of 2.8 million hectares.
o
อาฟริกามี
3%
ของผืนดินเกษตรอินทรีย์แบบรับรองในโลก,
มีกว่าหนึ่งล้านเฮตเตอร์ที่ได้รับการรับรอง. เอเชียมี 7%, คิดเป็น 2.8 ล้านเฮตเตอร์.
·
Despite a decline in organically
farmed land in China and India between 2009 and 2010, India's export volume of
organic produce increased by 20 percent.
o
แม้จะมีการลดลงของที่ดินเพาะปลูกเชิงอินทรีย์ลดลงในจีนและอินเดียในระหว่างปี
2009
และ 2010, ปริมาณผลผลิตอินทรีย์ส่งออกของอินเดียกลับเพิ่มขึ้น
20%.
###
The Worldwatch Institute is an
independent research organization recognized by opinion leaders around the
world for its accessible, fact-based analysis of critical global issues. Its
mission is to generate and promote insights and ideas that empower decision
makers to build an ecologically sustainable society that meets human needs.
สถาบันเวิล์ดวอต์ช
(เฝ้าระวังโลก) เป็นองค์กรวิจัยอิสระ ที่ได้รับการยอมรับจากผู้นำด้านความคิดเห็นทั่วโลก
ในแง่ที่ว่า มันเข้าถึงได้ง่าย, การวิเคราะห์บนพื้นฐานของข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประเด็นสำคัญๆ
ของโลก. พันธกิจของสถาบัน คือ สร้างและส่งเสริมปัญญาและความคิดเห็นที่เสริมอำนาจแก่ผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจในการสร้างสังคมที่มีความยั่งยืนเชิงนิเวศ
ที่ตอบรับความจำเป็น/ต้องการของมนุษย์.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น