วันพุธที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

37. โลกาภิบาลอินเตอร์เน็ต



Civil Society Statement at the upcoming UN meeting on democratizing global governance of the Internet  
แถลงการณ์ประชาสังคม ณ ที่ประชุมสหประชาชาติเร็วๆ นี้ เรื่อง การทำให้โลกาภิบาลอินเตอร์เน็ตเป็นประชาธิปไตย

Call to support a joint civil society statement on democratising the global governance of the Internet, proposed by Focus on the Global South (Thailand), Instituto Nupef (Brazil), IT for Change (India), Knowledge Commons (India), Other News (Italy) and Third World Network (Malaysia),
ขอเรียกร้องให้สนับสนุนแถลงการณ์ร่วมภาคประชาสังคมว่าด้วย การทำให้มีประชาธิปไตยในโลกาภิบาลอินเตอร์เน็ต ซึ่งนำเสนอโดย Focus on Global South (ประเทศไทย)   Instituto Nupef (บราซิล), IT for Change (อินเดีย), Knowledge Commons (อินเดีย), Other News (อิตาลี) and Third World Network (มาเลเซีย)

Greetings from IT for Change!
สวัสดีจาก ไอทีเพื่อการเปลี่ยนแปลง!

As per the UN General Assembly resolution of December 2011, the UN Commission on Science and Technology for Development is holding a one day meeting on 'Enhanced Cooperation on Public Policy Issues Pertaining to the Internet' on 18th of May in Geneva. This important meeting will take stock of the future directions for global Internet governance and what may be needed to democratise it.  A joint statement by civil society organisations and individuals is being proposed on this occasion. The statement is enclosed and also provided below. A document on 'background' information is also enclosed.
ตามมติจากที่ประชุมสามัญสหประชาชาติ ธันวาคม 2011 คณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาของสหประชาชาติ กำลังเตรียมการประชุมหนึ่งวันเรื่อง “เพิ่มความร่วมมือในประเด็นนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับอินเตอร์เน็ต” ในวันที่ 18 พฤษภาคม ที่เจนีวา   การประชุมครั้งสำคัญนี้ จะเป็นการเก็บเกี่ยวข้อเสนอถึงทิศทางอนาคตสำหรับโลกาภิบาลอินเตอร์เน็ต และสิ่งที่จำเป็นต้องทำเพื่อทำให้มีความเป็นประชาธิปไตยในพื้นที่ใหม่นี้   องค์กรประชาสังคมและปัจเจกบุคคลได้ร่วมกันร่างแถลงการณ์ และนำเสนอในโอกาสนี้   จดหมายนี้ได้แนบแถลงการณ์และปะต่อท้าย พร้อมกับแนบเอกสารบรรยายถึงภูมิหลัง

This is a call to support and endorse the statement. We urge you to please pass this on to your networks as well. We are happy to provide any clarification that may be needed, and to engage further on this subject. If you would like to support this statement, kindly send your endorsement – organisational or personal – to itfc@itforchange.net, before 16th May.
นี่เป็นจดหมายเรียกร้องให้สนับสนุนและรับรองแถลงการณ์นี้  เราขอให้ท่านโปรดส่งต่อจดหมายนี้ไปยังเครือข่ายของท่านด้วย  เรายินดีที่จะให้รายละเอียดเพิ่มหากต้องการ และจะร่วมเสวนาต่อไปในหัวข้อนี้   หากท่านประสงค์จะสนับสนุนแถลงการณ์นี้ กรุณาส่งการรับรองของท่าน—ทั้งองค์กรหรือส่วนตัว—ไปที่  itfc@itforchange.net ก่อนวันที่ 16 พฤษภาคม

Srinidhi Raghavan (ศรีนิธิ รัขวาน ในนามขององค์กรร่วมเสนอ)
IT for Change (www.ITforChange.net)
On behalf of the proposing organisations

…………….

Global Governance of the Internet must be Democratised!
โลกาภิบาลอินเตอร์เน็ต จะต้องมีความเป็นประชาธิปไตย

A joint statement by civil society organisations for the UN CSTD meeting on 'Enhanced Cooperation on Public Policy Issues Pertaining to the Internet' to take place in Geneva on May 18th, 2012
แถลงการณ์ร่วมโดยองค์กรประชาสังคม สำหรับการประชุม UN CSTD เรื่อง
“เพิ่มความร่วมมือในประเด็นนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับอินเตอร์เน็ต”
ที่จะจัดขึ้นที่เจนีวา ในวันที่ 18 พฤษภาคม 2012

proposed by
นำเสนอโดย
Focus on the Global South (Thailand), Instituto Nupef (Brazil), IT for Change (India),
Knowledge Commons (India), Other News (Italy), Third World Network (Malaysia)

and endorsed by
และรับรองโดย
organisations and individuals listed at the end of the statement
องค์กรและบุคคลดังปรากฏข้างท้ายแถลงการณ์

The Internet is a major force today, restructuring our economic, social, political and cultural systems. Most people implicitly assume that it is basically a beneficent force, needing, if at all, some caution only at the user-end. This may have been true in the early stages when the Internet was created and sustained by benevolent actors, including academics, technologists, and start-up enterprises that challenged big businesses. However, we are getting past that stage now. What used to be a public network of millions of digital spaces, is now largely a conglomeration of a few proprietary spaces. (A few websites like Google, Facebook, Twitter and Amazon together make much of what is considered the Internet by most people today.) We are also moving away from a browser-centric architecture of the 'open' Internet to an applications-driven mobile Internet, that is even more closed and ruled by proprietary spaces (like App Store and Android Market). In fact, some Internet plans for mobiles come only with a few big websites and applications, without the open 'public' Internet, which is an ominous pointer to what the future Internet may look like. What started off as a global public resource is well on its way to becoming a set of monopoly private enclosures, and a means for entrenching dominant power. At this stage, it is crucial to actively defend and promote the Internet's immense potential as a democratic and egalitarian force, including through appropriate principles and policies at the global level.
อินเตอร์เน็ตเป็นกระแสสำคัญทุกวันนี้ มีอำนาจในการบูรณะระบบเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรมของเรา   คนส่วนมากตั้งสมมติฐานอย่างไร้ข้อกังขาว่า มันเป็นพลังบวก เพียงแต่ผู้ใช้ต้องใช้อย่างระมัดระวัง   นี่อาจเป็นความจริงในระยะเริ่มแรกเมื่ออินเตอร์เน็ตถูกสร้างขึ้น และมีคนจิตใจใฝ่ทางกุศลดูแลมันอยู่ รวมทั้งนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญทางเทคโนโลยี และก่อตั้งให้เป็นกิจการที่ท้าทายธุรกิจขนาดใหญ่   แต่ ตอนนี้เรากำลังก้าวผ่านพ้นฉากดังกล่าว    สิ่งที่เคยเป็นเครือข่ายสาธารณะที่มีพื้นที่ดิจิตอลนับล้าน ส่วนใหญ่กำลังกลายเป็นสมบัติส่วนตัวของคนไม่กี่กลุ่ม  (เว็บไซต์ไม่กี่แห่ง เช่น กูเกิล เฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์ และอเมซอน รวมทั้งหมด กินพื้นที่ส่วนใหญ่ของสิ่งที่ถูกมองว่าเป็นอินเตอร์เน็ตโดยคนส่วนใหญ่ทุกวันนี้)   เรากำลังขยับเคลื่อนออกห่างจากแบบแปลนของอินเตอร์เน็ต “เปิด” ที่ใช้ช่องทางการเสาะหา (browser) ไปเป็นอินเตอร์เน็ตเคลื่อนที่ๆ ถูกขับเคลื่อนด้วยนักประยุกต์ ซึ่งเป็นพื้นที่ปิดยิ่งขึ้น และถูกปกครองโดยเจ้าของพื้นที่ (เช่น ร้าน App และตลาด Android)   อันที่จริง บางแผนของอินเตอร์เน็ตสำหรับมือถือ มาพร้อมกับไม่กี่เว็บไซต์ใหญ่ๆ และกลไกต่างๆ โดยไม่มีอินเตอร์เน็ตเปิด “พื้นที่สาธารณะ” ซึ่งเป็นลางร้ายชี้บอกโฉมหน้าที่เป็นไปได้ของอินเตอร์เน็ตในอนาคต    สิ่งที่เริ่มต้นด้วยเจตนาให้เป็นทรัพยากรสาธารณะของโลก ตอนนี้ได้กลายพันธุ์เป็นพื้นที่ส่วนตัวควบคุมโดยชุดเอกชนที่ผูกขาดการใช้ และเป็นหนทางสำหรับการฝังตัวของผู้มีอำนาจครอบงำ   ในระยะนี้ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการปกป้องและส่งเสริมศักยภาพมหาศาลของอินเตอร์เน็ต ให้เป็นพลังกระแสประชาธิปไตยและเสมอภาค รวมทั้งด้วยหลักการและนโยบายที่เหมาะสมในระดับโลก

Who governs the Internet
ใครปกครองอินเตอร์เน็ต

It is a myth that 'the Internet is not governed by anyone'. It is also not a coincidence nor a natural order of things that the Internet, and through it, our future societies, are headed in the way of unprecedented private gate-keeping and rentier-ing. The architecture of the Internet is being actively shaped today by the most powerful forces, both economic and political. A few US based companies increasingly have monopoly control over most of the Internet. The US government itself controls some of the most crucial nodes of the global digital network. Together, these two forces, in increasing conjunction, are determining the techo-social structure of a new unipolar world. It is important for progressive actors to urgently address this situation, through seeking globally democratic forms of governance of the Internet.
มันเป็นเรื่องโกหกที่ว่า “ไม่มีใครปกครองอินเตอร์เน็ต”  และก็ไม่ใช่เรื่องบังเอิญเลย หรือเป็นการจัดเรียงตามธรรมชาติของสิ่งต่างๆ บนอินเตอร์เน็ต และผ่านทางอินเตอร์เน็ต สังคมอนาคตของพวกเรา ถูกนำไปสู่ประตูเข้าออกที่มีเอกชนเป็นผู้ควบคุมและการเช่าในชั้นต่างๆ ลดหลั่นกัน อย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน   แบบแปลนของอินเตอร์เน็ตกำลังถูกปรุงปั้นอย่างขมีขมันทุกวันนี้โดยพลังที่มีอำนาจสูงสุด ทั้งทางเศรษฐกิจและการเมือง   บริษัทที่มีฐานในสหรัฐฯ ไม่กี่แห่ง กำลังขยายการควบคุมแบบผูกขาดอินเตอร์เน็ตส่วนใหญ่    รัฐบาลสหรัฐฯ เอง ได้ควบคุมเพียงบางปุ่มที่มีความสำคัญที่สุดในเครือข่ายดิจิตอลโลก   กระแสพลังทั้งสองรวมกัน ในลักษณะที่เชื่อมต่อกันยิ่งขึ้น กำลังตัดสินโครงสร้างสังคม-เทคโนโลยี สำหรับโลกใหม่ขั้วเดี่ยว   จึงสำคัญอย่างยิ่งที่ผู้ขับเคลื่อนสังคมที่มีหัวคิดก้าวหน้า จะให้ความสนใจต่อสถานการณ์นี้อย่างเร่งด่วน แสวงหารูปแบบการปกครองอินเตอร์เน็ตที่เป็นประชาธิปไตยระดับโลก

While the US government and US based monopoly Internet companies already have a close working relationship to support and further each other's power, this relationship is now being formalised through new power compacts; whether in the area of extra-territorial IP enforcement (read, global economic extraction) through legislations like SOPA , or in the area of security (read, global extension of coercive power) through cyber-security legislations like CIPSA.
ในขณะที่รัฐบาลสหรัฐฯ และบริษัทผูกขาดอินเตอร์เน็ตที่มีฐานในสหรัฐฯ มีความสัมพันธ์เชิงทำงานใกล้ชิดกันในลักษณะเกื้อกูลและขยายอำนาจของกันและกัน  ความสัมพันธ์นี้กำลังขึ้นรูปให้เป็นทางการด้วยการกระชับอำนาจแบบใหม่  ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่นอกเขตการบังคับใช้ลิขสิทธิ์ทางปัญญา (หมายถึง การสกัดผลประโยชน์เศรษฐกิจระดับโลก) ด้วยกฎหมายเช่น SOPA หรือในพื้นที่ของความมั่นคง (หมายถึง การแผ่ขยายอำนาจการกดขี่ระดับโลก) ด้วยกฎหมายความมั่นคงไซเบอร์ เช่น CIPSA

The US government has stubbornly refused to democratise the oversight of the Internet's root server and domain name system, which it controls. While the US pooh-poohs the security concerns expressed by other countries vis-a-vis such unacceptable unilateralism, rather hypocritically, it seeks to contractually obligate the non-profit managing these key infrastructures to appoint its security officials only on US government advice. (The chief security officer of this non-profit body is already, in fact, a sworn member of the 'Homeland Security Advisory Council' of the US!)
รัฐบาลสหรัฐฯ ได้ดื้อรั้น ปฏิเสธที่จะทำให้มีความเป็นประชาธิปไตยในการดูแลเซิฟเวอร์ระดับรากของอินเตอร์เน็ต และระบบชื่อโดเมน ซึ่งตนเป็นผู้ควบคุมอยู่   ในขณะที่สหรัฐฯ ร้องโห่ตอบคนเดียว เมื่อประเทศอื่นๆ แสดงความห่วงใยต่อความมั่นคง  มันกลับพยายามใช้สัญญาผูกมัดให้มีการจัดการสาธารณูปโภคสำคัญเหล่านี้อย่างไม่มีกำไร โดยกำหนดให้แต่งตั้งเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยที่รัฐบาลสหรัฐฯ แนะนำเท่านั้น  (หัวหน้าเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยของสำนักงานที่ไม่ทำกำไรนี้ เป็นสมาชิกที่ผ่านการสาบานตนแล้วคนหนึ่งของ “สภาที่ปรึกษาความมั่นคงของถิ่นเกิด” ของสหรัฐฯ!)

Apart from the direct application of US law and whims (think Wikileaks) over the global Internet, and Internet-based social activity (increasingly a large part of our social existence), default global law is also being written by the clubs of powerful countries that routinely draft Internet policies and policy frameworks today. The OECD and Council of Europe are two active sites of such policy making, covering areas like cyber-security, Internet intermediary liability, search engines, social networking sites etc. Last year, OECD came out with its 'Principles for Internet Policy-Making'. These Principles, heavy on IP enforcement and private policing through large North-based Internet companies, are to guide Internet policies in all OECD countries. Recently, OECD decided to 'invite' other, non-OECD, countries to accede to these Principles. This is the new paradigm of global governance, where the powerful countries make the laws and the rest of the world must accept and implement them.
นอกเหนือจากการใช้กฎหมายสหรัฐฯ โดยตรง และปรากฏการณ์เป็นครั้งคราว (เช่น วิกิลีคส์) เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตโลก และกิจกรรมสังคมที่ใช้อินเตอร์เน็ต (ซึ่งได้กลายเป็นสภาวะส่วนใหญ่ของสังคมของเรา) และกฎหมายโลกที่กำลังถูกเขียนขึ้นโดยชมรมของประเทศทรงอำนาจ ที่ทำการร่างนโยบายอินเตอร์เน็ตและกรอบนโยบายเป็นประจำทุกวันนี้   OECD และ สภายุโรป เป็นสองแหล่งที่ทำงานด้านกำหนดนโยบายอย่างขะมักเขม้น ครอบคลุมพื้นที่ เช่น ความมั่นคงทางไซเบอร์ ข้อผูกพันที่มีอินเตอร์เน็ตเป็นสื่อกลาง  กลไกค้นหา  แหล่งเชื่อมเครือข่ายทางสังคม ฯลฯ   ปีกลาย OECD ออกมาพร้อมกับ “หลักการสำหรับกำหนดนโยบายอินเตอร์เน็ต”  หลักการเหล่านี้ เน้นหนักที่การบังคับใช้ลิขสิทธิ์ทางปัญญา และการใช้ตำรวจเอกชนโดยผ่านบริษัทอินเตอร์เน็ตใหญ่ๆ ที่ตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือ จะเป็นผู้นำทางในการวางนโยบายอินเตอร์เน็ตในประเทศ OECD ทั้งหมด   เมื่อเร็วๆ นี้ OECD  ได้ตัดสินใจ “เชิญ” ประเทศอื่นๆ ที่ไม่ใช่สมาชิก OECD ร่วมลงนามยอมรับหลักการเหล่านี้   นี่เป็นกรอบคิดใหม่ในโลกาภิบาล ซึ่งประเทศทรงอำนาจบัญญัติกฎหมาย และส่วนอื่นของโลกต้องยอมรับและดำเนินการตามพวกเขา

Who is not allowed at the governance table
ใครมั่งที่ไม่ถูกยอมให้อยู่ที่โต๊ะการปกครอง



While Northern countries are very active at Internet related policy- and law-making, which have extra-territorial ambition and reach, they strongly resist any UN based initiative for development of global Internet principles and policies. This is in keeping with the increasingly common Northern efforts at undermining UN/ multi-lateral frameworks in other global governance arenas like trade, IP etc. For instance; trying to keep global financial systems out of UNCTAD's purview at the recent Doha UNCTAD meeting, and bringing in Anti-Counterfeiting Trade Agreement (ACTA) as a new instrument of extra-territorial IP enforcement by the OECD, bypassing WIPO.
ในขณะที่ประเทศในโลกซีกเหนือกำลังขะมักเขม้นกับการกำหนดนโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีความทะเยอทะยานและล้วงลึกข้ามพรมแดน พวกเขาก็ต่อต้านการริเริ่มที่มี UN เป็นฐานเพื่อการพัฒนาหลักการและนโยบายอินเตอร์เน็ตโลกอย่างแข็งขัน    นี่เป็นการกระทำที่คู่ขนานไปกับความพยายามร่วมของซีกโลกเหนือที่เพิ่มมากขึ้น ในการกัดกร่อนกรอบการทำงานของ UN และพหุภาคีในวงการอื่นของโลกาภิบาล เช่น การค้า ลิขสิทธิ์ทางปัญญา ฯลฯ   ยกตัวอย่าง ความพยายามที่จะกันระบบการเงินโลกให้อยู่นอกสายตาของ UNCTAD ในที่ประชุม UNCTAD ที่โดฮา เร็วๆ นี้ และนำข้อตกลงการค้าเรื่องการปราบปรามของปลอม (ACTA) ให้เป็นเครื่องมือใหม่สำหรับการบังคับใช้การสงวนลิขสิทธิ์ทางปัญญานอกพรมแดนโดย OECD ที่ข้ามหัว WIPO

The mandate of the World Summit on the Information Society (WSIS) for building a globally democratic space for developing Internet related global policies is quite clear. The WSIS outcome document states that, “the process towards enhanced cooperation (on Internet-related international public policies), (is) to be started by the UN Secretary-General ... by the end of the first quarter of 2006”. However, six years down the line, developed countries do not seem to be willing to even formally discuss how to operationalise this very important WSIS mandate of 'enhanced cooperation', much less do something concrete about it.
คำสั่งของสมาคมสารสนเทศโลกสุดยอด (WSIS) เพื่อการสร้างพื้นที่ประชาธิปไตยระดับโลก เพื่อพัฒนานโยบายโลกที่เกี่ยวข้องกับอินเตอร์เน็ต ได้ระบุไว้อย่างชัดเจนในเอกสารของสมาคมฯ ว่า “กระบวนการที่นำไปสู่การเพิ่มความร่วมมือ (ในนโยบายสาธารณะระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต) จะเริ่มได้โดยเลขาธิการ UN ... ก่อนสิ้นสามเดือนแรกของปี 2006”   แต่หกปีได้ผ่านไปแล้ว  ประเทศพัฒนาแล้วดูเหมือนจะไม่ยินยอมที่จะแม้แต่เข้าร่วมอภิปรายอย่างเป็นทางการว่า ทำอย่างไรจึงจะทำให้คำสั่งที่สำคัญของ WSIS นี้ “เพิ่มความร่วมมือ” ได้ และที่ยิ่งน้อยกว่า คือ ทำอะไรที่เป็นรูปธรรม

OUR DEMAND - Internet Governance must be democratised
ข้อเรียกร้องของพวกเรา—อินเตอร์เน็ตภิบาล จะต้องมีความเป็นประชาธิปไตย

We, the undersigned civil society organisations, affirm that the Internet must be governed democratically, with the equal involvement of all people, groups and countries. Its governance systems must be open, transparent and inclusive, with civil society given adequate avenues of meaningful substantive participation. While we denounce statist control over the Internet sought by many governments at national levels, we believe that the struggle at the global level also has significant dynamics of a different kind. Our demands with respect to 'global' Internet Governance espouse a simple and obvious democratic logic. On the technical governance side, the oversight of the Internet's critical technical and logical infrastructure, at present with the US government, should be transferred to an appropriate, democratic and participative, multi-lateral body, without disturbing the existing distributed architecture of technical governance of the Internet in any significant way. (However, improvements in the technical governance systems are certainly needed.) On the side of larger Internet related public policy-making on global social, economic, cultural and political issues, the OECD-based model of global policy making, as well as the default application of US laws, should be replaced by a new UN-based democratic mechanism. Any such new arrangement should be based on the principle of subsidiarity, and be innovative in terms of its mandate, structure, and functions, to be adequate to the unique requirements of global Internet governance. It must be fully participative of all stakeholders, promoting the democratic and innovative potential of the Internet.
พวกเรา องค์กรประชาสังคมที่เซ็นชื่อข้างท้ายนี้ ขอยืนยันว่า อินเตอร์เน็ตจะต้องถูกปกครองในครรลองประชาธิปไตย ด้วยการมีส่วนร่วมอย่างเสมอภาคของประชาชน กลุ่มคน และประเทศทั้งมวล   ระบบการปกครองดังกล่าวจะต้องเปิดกว้าง มีความโปร่งใส และโอบรวมทุกภาคส่วน โดยต้องจัดให้ภาคประชาสังคมมีช่องทางเพียงพอที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมเชิงสาระอย่างมีความหมาย  ในขณะที่เราประณามการควบคุมในอินเตอร์เน็ต ที่หลายๆ รัฐบาลได้พยายามกระทำในระดับประเทศ เราเชื่อว่า การดิ้นรนต่อสู้ในระดับโลก ก็มีพลวัตรที่มีนัยสำคัญเช่นกัน   ข้อเรียกร้องของเราเกี่ยวกับ “โลกา” ภิบาลอินเตอร์เน็ต นำไปสู่ตรรกะประชาธิปไตยเรียบง่ายและชัดเจน   ในด้านการปกครองทางเทคนิค การดูแลสาธารณูปโภคเชิงเทคนิคและตรรกะที่สำคัญของอินเตอร์เน็ต  ในปัจจุบันที่ยังผูกติดอยู่กับรัฐบาลสหรัฐฯ ควรจะถูกผ่องถ่ายไปให้หน่วยงานที่เหมาะสม มีความเป็นประชาธิปไตย มีส่วนร่วม และพหุภาคี โดยไม่กระทบกระเทือน แบบแปลนเพื่อการกระจายที่มีอยู่ในการปกครองเชิงเทคนิคของอินเตอร์เน็ต  (ถึงอย่างไร จำเป็นต้องมีการปรับปรุงในระบบการปกครองเชิงเทคนิค)   ในอีกด้านของการวางนโยบายสาธารณะเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตที่ใหญ่กว่าในประเด็นสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการเมืองโลก  ต้นแบบของการกำหนดนโยบายโลกที่มีฐานใน OECD ตลอดจนการใช้กฎหมายสหรัฐฯ โดยอัตโนมัตินั้น ควรจะถูกแทนที่โดยกลไกใหม่ที่เป็นประชาธิปไตยและมีฐานใน UN    การจัดเตรียมใหม่ๆ ดังกล่าว ควรจะตั้งอยู่ในหลักการที่ว่าจะได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้สมบูรณ์ และมีนวัตกรรมในเชิงอาณัติ โครงสร้าง และบทบาทหน้าที่ ที่มากพอรองรับบทบาทพิเศษของโลกาภิบาลอินเตอร์เน็ต   จะต้องเปิดกว้างให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดเข้าไปมีส่วนร่วมเต็มที่ ในการส่งเสริมศักยภาพเชิงประชาธิปไตยและนวัตกรรมของอินเตอร์เน็ต

The Internet should be governed on the principles of human liberty, equality and fraternity. It should be based on the accepted principle of the indivisibility of human rights; civil, political, economic, social and cultural rights, and also people's collective right to development. A rights-based agenda should be developed as an alternative to the current neo-liberal model driving the development of the Internet, and the evolution of an information society. The UN is the appropriate place for developing and implementing such an alternative agenda. Expedient labelling by the most powerful forces in the Internet arena, of the UN, and of developing countries, as being interested only in 'controlling the Internet', and under this cover, continually shaping the architecture of the Internet and its social paradigm to further their narrow interests, is a bluff that must be called.
อินเตอร์เน็ตควรจะถูกปกครองด้วยหลักการเสรีภาพของมนุษย์ ความเสมอภาคและภราดรภาพ  ควรจะตั้งอยู่บนฐานของหลักการที่ได้รับการยอมรับแล้ว เช่น สิทธิมนุษยชนที่ไม่สามารถลดทอนแบ่งแยกได้ สิทธิพลเมือง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม  และสิทธิหมู่ของประชาชนในการเข้าถึงการพัฒนา    วาระที่ตั้งบนสิทธิ์ ควรจะถูกพัฒนาให้เป็นทางเลือกของต้นแบบเสรีนิยมใหม่ที่ใช้อยู่ปัจจุบัน ที่ขับเคลื่อนการพัฒนาของอินเตอร์เน็ต และวิวัฒนาการของสังคมสารสนเทศ   UN เป็นที่ๆ เหมาะสมสำหรับการพัฒนาและดำเนินการวาระทางเลือกดังกล่าว   การติดป้ายโดยกระแสที่ทรงอำนาจที่สุดในวงการอินเตอร์เน็ต ของ UN และของประเทศกำลังพัฒนา กำลังได้รับความสนใจเพียงเพื่อการ “ควบคุมอินเตอร์เน็ต” และภายใต้คราบนี้ ก็ทำการปั้นแต่งแบบแปลนของอินเตอร์เน็ตและกรอบคิดเชิงสังคมต่อไป เพื่อขยายผลประโยชน์อันคับแคบของตน  สิ่งเหล่านี้เป็นเรื่องหลอกลวงทั้งสิ้น ที่จะต้องถูกเรียกร้อง

We demand that a Working Group of the UN Commission on Science and Technology for Development (CSTD) be instituted to explore possible ways of implementing 'enhanced cooperation' for global Internet-related policies. (Such a CSTD Working Group is also being sought by some developing countries.) 'Enhanced cooperation' must be implemented through innovative multi-lateral mechanisms, that are participatory. Internet policy-making cannot be allowed to remain the preserve of one country or clubs of rich countries. If the Internet is to promote democracy in the world, which incidentally is the much touted agenda of the US and other Northern countries, the Internet itself has, first, to be governed democratically.
เราขอเรียกร้องให้มีการสถาปนากลุ่มทำงานในคณะกรรมาธิการของสหประชาชาติว่าด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับการพัฒนา (CSTD) เพื่อสำรวจหาหนทางที่เป็นไปได้เพื่อดำเนินการ “เพิ่มความร่วมมือ” ในการวางนโยบายเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตระดับโลก  (บางประเทศที่กำลังพัฒนาก็กำลังผลักดันให้เกิดกลุ่มทำงาน CSTD ดังกล่าวเช่นกัน)    “การเพิ่มความร่วมมือ” จะต้องถูกดำเนินผ่านกลไกพหุภาคี และอย่างมีส่วนร่วม   การกำหนดนโยบายอินเตอร์เน็ตไม่สามารถยอมให้ยังคงเป็นบทบาทสงวนของประเทศหนึ่ง หรือชมรมของประเทศร่ำรวย   หากอินเตอร์เน็ตมีอยู่เพื่อส่งเสริมประชาธิปไตยในโลก ซึ่งก็เป็นวาระที่สหรัฐฯ และประเทศในซีกโลกเหนืออื่นๆ คอยชักชวนอยู่ร่ำไปอยู่แล้ว ตัวอินเตอร์เน็ตเองจะต้องถูกปกครองตามแบบประชาธิปไตยเป็นลำดับแรก


Click here to endorse the statement
Click here for the current list of signatories to the joint civil society statement
******
Srinidhi Raghavan, Research Assistant
 IT for Change
 In special consultative status with the United Nations ECOSOC
www.ITforChange.net
Tel:+91-80-2665 4134, 2653 6890. Fax:+91-80-4146 1055
Have you heard about the CITIGEN programme? Visit www.gender-IS-citizenship.net
………..
ได้รับทางอีเมลจาก
apww-meet@apww-slwngof.org  <apww-meet@apww-slwngof.org>        
Tue, May 15, 2012 at 6:47 PM



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น