วันพุธที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2555

140. แผ่นดินเพื่อปลูกอาหาร หรือ ขุดเจาะน้ำมัน/ก๊าซ/พลังงาน...ใครตัดสิน?



Fracking Our Food Supply
 by Elizabeth Royte
ระเบิดเจาะแหล่งอาหารของพวกเรา
โดย อลิซาเบธ รอยต์

This article was produced in collaboration with the Food & Environment Reporting Network, an investigative reporting nonprofit focusing on food, agriculture and environmental health.
บทความนี้เป็นผลงานความร่วมมือกับ เครือข่ายการรายงานอาหารและสิ่งแวดล้อม, อันเป็นการรายงานเชิงสืบสวนที่ไม่ค้ากำไร เน้นเรื่อง อาหาร, เกษตรกรรม, และสุขภาพเชิงสิ่งแวดล้อม.

In a Brooklyn winery on a sultry July evening, an elegant crowd sips rosé and nibbles trout plucked from the gin-clear streams of upstate New York. The diners are here, with their checkbooks, to support a group called Chefs for the Marcellus, which works to protect the foodshed upon which hundreds of regional farm-to-fork restaurants depend. The foodshed is coincident with the Marcellus Shale, a geologic formation that arcs northeast from West Virginia through Pennsylvania and into New York State. As everyone invited here knows, the region is both agriculturally and energy rich, with vast quantities of natural gas sequestered deep below its fertile fields and forests.
ในไร่องุ่นบรู๊คลิน ยามเย็นที่ร้อนอบอ้าวของเดือนกรกฎาคม, กลุ่มคนท่าทางภูมิฐานจิบไวน์โรเซ่ และชิมปลาเทร้าท์ จากธารน้ำใสดั่งเหล้าจิน ของภาคเหนือของรัฐนิวยอร์ก.   ผู้มารับประทานอาหารเย็นอยู่ที่นี่แล้ว พร้อมกับสมุดเช็ค เพื่อสนับสนุนกลุ่มที่เรียกว่า คนครัว/เช็ฟเพื่อมาร์เซลลัส, ที่ทำงานป้องกันแหล่งอาหาร ที่ภัตตาคารจากฟาร์ม-สู่-ส้อม ในภูมิภาคนับร้อยต้องพึ่งอาศัย.  แหล่งอาหารเหล่านี้ อยู่ในที่เดียวกันกับชั้นหินเปลือกโลก มาร์เซลลัส, ซึ่งเป็นการก่อเกิดทางธรณีวิทยาเป็นแนวโค้งตะวันออกเฉียงเหนือ จากรัฐเวอร์จิเนียตะวันตก ผ่านเพนซิลเวเนีย และเข้าสู่รัฐนิวยอร์ก.   ดังที่ทุกคนที่ได้รับเชิญให้มาที่นี่ทราบ, ภูมิภาคแถบนี้ มีความอุดมสมบูรณ์ทั้งด้านการเกษตรและด้านพลังงาน, มีก๊าซธรรมชาติปริมาณมหาศาล ที่แยกตัวอยู่ในระดับลึก ภายใต้ไร่นาและป่าที่อุดมสมบูรณ์.
In Pennsylvania, the oil and gas industry is already on a tear—drilling thousands of feet into ancient seabeds, then repeatedly fracturing (or “fracking”) these wells with millions of gallons of highly pressurized, chemically laced water, which shatters the surrounding shale and releases fossil fuels. New York, meanwhile, is on its own natural-resource tear, with hundreds of newly opened breweries, wineries, organic dairies and pastured livestock operations—all of them capitalizing on the metropolitan area’s hunger to localize its diet.
ในรัฐเพนซิลเวเนีย, อุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซได้เริ่มต้นไปแล้ว—ด้วยการขุดเจาะหลายพันฟุตทะลุพื้นทะเลโบราณ, และกระแทกให้แตกซ้ำแล้วซ้ำเล่า (หรือ การ “ระเบิดเจาะ”) ในบ่อเหล่านี้ด้วยการอัดฉีดน้ำปนสารเคมีหลายล้านแกลลอนที่อัดให้มีดันสูง, ซึ่งจะระเบิดเปลือกหินรอบๆ ให้ปลดปล่อยเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์.  ในขณะเดียวกัน, นิวยอร์ก ก็อยู่บนทรัพยากรธรรมชาติของตนเอง, มีโรงเหล้าองุ่นที่เพิ่งเปิดใหม่, ไร่องุ่น, โรงงานผลิตนมและปศุสัตว์อินทรีย์ หลายร้อยราย—ทั้งหมดทำธุรกิจป้อนความหิวโหยของมหานคร.
But there’s growing evidence that these two impulses, toward energy and food independence, may be at odds with each other.
แต่มีหลักฐานชัดและมากขึ้นว่า ทั้งสองกระแส, สู่พลังงานและอิสรภาพทางอาหาร, อาจเป็นอริต่อกัน.
Tonight’s guests have heard about residential drinking wells tainted by fracking fluids in Pennsylvania, Wyoming and Colorado. They’ve read about lingering rashes, nosebleeds and respiratory trauma in oil-patch communities, which are mostly rural, undeveloped, and lacking in political influence and economic prospects. The trout nibblers in the winery sympathize with the suffering of those communities. But their main concern tonight is a more insidious matter: the potential for drilling and fracking operations to contaminate our food. The early evidence from heavily fracked regions, especially from ranchers, is not reassuring.
แขกคืนนี้ ได้ยินเรื่องน้ำบ่อของชุมชน ถูกปนเปื้อนด้วยสารเหลวจากการระเบิดเจาะในเพนซิลเวเนีย, ไวโอมิง และ โคโดราโด.  พวกเขาได้อ่านเรื่องผดผื่น, เลือดกำเลาจมูก และ หายใจขัดอย่างแรงที่เรื้อรังในชุมชนที่มีบ่อน้ำมัน, ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในชนบท, ไม่ได้ถูกพัฒนา, และขาดอิทธิพลทางการเมืองและโอกาสทางเศรษฐกิจ.   เหล่าผู้เล็มชิมปลาเทร้าท์ในไร่องุ่น มีความเห็นใจต่อความทุกข์ของชุมชนเหล่านี้.   แต่ความห่วงใยหลักในค่ำคืนนี้ เป็นเรื่องภายในมากกว่า: ความเป็นไปได้ของกระบวนการขุดและระเบิดเจาะ ในการปนเปื้อนอาหารของเรา.  หลักฐานก่อนๆ จากภูมิภาคที่มีการระเบิดเจาะอย่างเข้มข้น, โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จากเจ้าของฟาร์มปศุสัตว์, ไม่ได้ทำให้มั่นใจนัก.



Jacki Schilke and her sixty cattle live in the top left corner of North Dakota, a windswept, golden-hued landscape in the heart of the Bakken Shale. Schilke’s neighbors love her black Angus beef, but she’s no longer sharing or eating it—not since fracking began on thirty-two oil and gas wells within three miles of her 160-acre ranch and five of her cows dropped dead. Schilke herself is in poor health. A handsome 53-year-old with a faded blond ponytail and direct blue eyes, she often feels lightheaded when she ventures outside. She limps and has chronic pain in her lungs, as well as rashes that have lingered for a year. Once, a visit to the barn ended with respiratory distress and a trip to the emergency room. Schilke also has back pain linked with overworked kidneys, and on some mornings she urinates a stream of blood.
แจ๊กกี้ ชิลเก้ และฝูงวัวหกสิบตัวของเธอ อาศัยอยู่ในแถบซ้ายบนสุดของรัฐดาโกตาเหนือ, เป็นที่ราบ, ภูมิทัศน์สีทองในใจกลางของเปลือกโลก เบคเคน.  เพื่อนบ้านของชิลเก้ โปรดปรานเนื้อวัวอังกุสดำของเธอ, แต่ตอนนี้ เธอไม่ได้แบ่งปันหรือกินมันอีกแล้ว—ไม่ตั้งแต่การระเบิดเจาะ เริ่มต้นในบ่อน้ำมันและก๊าซสามสิบสองแห่ง ภายในรัศมีสามไมล์ ในบริเวณฟาร์ม 160 เอเคอร์ ของเธอ และวัวห้าตัวของเธอได้ล้มตายไป.   ตัวชิลเก้เอง ก็มีสุขภาพไม่ดี.  เธอเป็นคนสง่าอายุ 53 ปี มัดผมทองที่เริ่มหงอกของเธอเป็นหางม้า และมีตาสีฟ้า, เธอมักจะรู้สึกเวียนหัวเมื่อเธอเดินออกนอกบ้าน.  เธอเดินกระย่องกระแย่ง และรู้สึกเจ็บต่อเนื่องในปอด รวมทั้งมีผื่นแดงที่อยู่ยงมาเป็นปี.   ครั้งหนึ่ง, เธอออกไปดูวัวในคอก แต่เกิดอาการหายในไม่ออกจนต้องเข้าห้องฉุกเฉิน.  ชิลเก้มีอาการปวดหลังด้วย ที่เกี่ยวโยงกับการทำงานหนักเกินของไต, บางวันตอนเช้า เธอจะปัสสาวะเป็นเลือด.
Ambient air testing by a certified environmental consultant detected elevated levels of benzene, methane, chloroform, butane, propane, toluene and xylene—compounds associated with drilling and fracking, and also with cancers, birth defects and organ damage. Her well tested high for sulfates, chromium, chloride and strontium; her blood tested positive for acetone, plus the heavy metals arsenic (linked with skin lesions, cancers and cardiovascular disease) and germanium (linked with muscle weakness and skin rashes). Both she and her husband, who works in oilfield services, have recently lost crowns and fillings from their teeth; tooth loss is associated with radiation poisoning and high selenium levels, also found in the Schilkes’ water.
จากการทดสอบอากาศในบริเวณโดยผู้ชำนาญที่มีใบรับรองด้านสิ่งแวดล้อม ได้พบสารเบ็นซิน, มีเทน, คลอโรฟอร์ม, บิวเทน, โปรเปน, โทลูอีน และ ไซลีน ในระดับสูง—อันเป็นสารที่เกี่ยวเนื่องกับการขุดและระเบิดเจาะ, และยังก่อมะเร็ง, ความพิการแต่กำเนิด และอวัยวะสึกหรอ.   การตรวจบ่อของเธอ พบว่ามีซัลเฟต, โครเมียม, คลอไรด์ และ สตรอนเตียมในระดับสูง; ในเลือดของเธอ ตรวจพบอะซีโตน, โลหะหลักสารหนู (ที่เชื่อมโยงกับผดผื่นบนผิวหนัง, มะเร็ง และโรคหัวใจ) และ เยอร์มาเนียม (เชื่อมโยงกับกล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย และผื่นคันบนผิวหนัง).   ทั้งเธอและสามีของเธอ, ที่ทำงานในบริการบ่อน้ำมัน, สูญเสียที่ครอบฟันและสารอุดฟันเมื่อเร็วๆ นี้; การสูญเสียฟัน เกี่ยวเนื่องกับพิษกัมมันตรังสี และเซเลเนียมระดับสูง, ซึ่งพบในน้ำของชิลเก้ด้วย.
State health and agriculture officials acknowledged Schilke’s air and water tests but told her she had nothing to worry about. Her doctors, however, diagnosed her with neurotoxic damage and constricted airways. “I realized that this place is killing me and my cattle,” Schilke says. She began using inhalers and a nebulizer, switched to bottled water, and quit eating her own beef and the vegetables from her garden. (Schilke sells her cattle only to buyers who will finish raising them outside the shale area, where she presumes that any chemical contamination will clear after a few months.) “My health improved,” Schilke says, “but I thought, ‘Oh my God, what are we doing to this land?’”
เจ้าหน้าที่รัฐด้านสาธารณสุขและเกษตร ได้รับทราบผลการตรวจสอบอากาศและน้ำในฟาร์มของชิลเก้ แต่ได้บอกเธอว่า ไม่ต้องกังวลอะไร.  แต่หมอของเธอได้วินิจฉัยว่าระบบประสาทของเธอถูกสารพิษทำลาย และทางเดินหายใจตีบ.  “ฉันประจักษ์ว่า ที่แห่งนี้กำลังฆ่าฉันและฝูงวัวของฉัน”, ชิลเก้กล่าว.  เธอเริ่มใช้ยาพ่น, เปลี่ยนไปดื่มน้ำขวด, และเลิกกินเนื้อวัวและผักจากสวนของตัวเอง.   (ชิลเก้ขายวัวของเธอกับผู้ซื้อที่จะเลี้ยงบนนอกพื้นที่แผ่นหินเปลือกโลก, เธอทึกทักว่า การปนเปื้อนสารเคมีใดๆ จะจางหายไปในไม่กี่เดือน.)  “สุขภาพของฉันดีขึ้น”, ชิลเก้กล่าว, “แต่ฉันคิดว่า, โอ พระเจ้า, เรากำลังทำอะไรกับผืนดินของเรา?’”
Schilke’s story reminds us that farmers need clean water, clean air and clean soil to produce healthful food. But as the largest private landholders in shale areas across the nation, farmers are disproportionately being approached by energy companies eager to extract oil and gas from beneath their properties. Already, some are regretting it.
เรื่องเล่าของชิลเก้ เตือนเราว่า เกษตรกรจำเป็นต้องมีน้ำสะอาด, อากาศบริสุทธิ์ และ ดินที่บริสุทธิ์ เพื่อผลิตอาหารที่แข็งแรง.  แต่ในฐานะที่เป็นผู้ถือครองที่ดินเอกชนที่ใหญ่ที่สุดในบริเวณชั้นหินเปลือกโลกทั่วประเทศ, เกษตรกรถูกบริษัทพลังงานเลียบเคียงโดยบริษัทพลังงาน ที่กระหายจะสกัดน้ำมันและก๊าซจากแหล่งใต้พื้นที่ทรัพย์สินของพวกเขา.   บางรายเริ่มเสียใจที่ยอมรับข้อตกลงแล้ว.
Earlier this year, Michelle Bamberger, an Ithaca veterinarian, and Robert Oswald, a professor of molecular medicine at Cornell’s College of Veterinary Medicine, published the first (and, so far, only) peer-reviewed report to suggest a link between fracking and illness in food animals. The authors compiled case studies of twenty-four farmers in six shale-gas states whose livestock experienced neurological, reproductive and acute gastrointestinal problems. Exposed either accidentally or incidentally to fracking chemicals in the water or air, scores of animals have died. The death toll is insignificant when measured against the nation’s livestock population (some 97 million beef cattle go to market each year), but environmental advocates believe these animals constitute an early warning.
ตอนต้นปีนี้, มิชเชล แบมเบอร์เกอร์, สัตวแพทย์ชาวอิธากา, และโรเบิร์ต ออสวอลด์, ศาสตราจารย์การแพทย์ระดับโมเลกุล ที่วิทยาลัยสัตวแพทย์ของมหาวิทยาลัยคอร์เนล, ได้พิมพ์รายงานชิ้นแรก (และตอนนี้ ก็ยังเป็นเพียงชิ้นเดียว) ที่ผ่านการวิพากษ์วิจารณ์จากเพื่อนร่วมวงการ ที่แนะถึงความสัมพันธ์ระหว่างการระเบิดเจาะ และ โรคภัยในปศุสัตว์ (สัตว์ที่ใช้เป็นอาหาร).   ผู้เขียนได้รวบรวมกรณีศึกษาของเกษตรกร 24 ราย ใน 6 มลรัฐที่มีชั้นหินก๊าซ ที่ปศุสัตว์ของพวกเขามีปัญหาทางประสาท, ระบบสืบพันธุ์ และลำไส้อืดลมอย่างแรง.  ด้วยการสัมผัสกับสารเคมีจากการระเบิดเจาะในน้ำหรืออากาศ ทั้งทางตรงและทางอ้อม, สัตว์ได้ตายไปหลายโหล.  สถิติการตายนี้ไม่มีนัยสำคัญ เมื่อเทียบกับประชากรปศุสัตว์ทั้งหมดในประเทศ (วัวเนื้อประมาณ 97 ล้านตัว เดินเข้าตลาดเนื้อทุกปี), แต่นักต่อสู้สิ่งแวดล้อมเชื่อว่า สัตว์เหล่านี้ เป็นเครื่องเตือนภัยระยะแรก.
Exposed animals “are making their way into the food system, and it’s very worrisome to us,” Bamberger says. “They live in areas that have tested positive for air, water and soil contamination. Some of these chemicals could appear in milk and meat products made from these animals.”
สัตว์ที่โดนสารเคมี “กำลังเดินเข้าสู่ระบบอาหาร, และนั่นเป็นเรื่องน่ากังวลยิ่งสำหรับพวกเรา”, แบมเบอร์เกอร์กล่าว.  “พวกมันอาศัยอยู่ในบริเวณที่ตรวจพบสารปนเปื้อนในอากาศ, น้ำ และ ดิน.  สารเคมีพวกนี้ บางตัวสามารถจะไปโผล่ในผลิตภัณฑ์นมและเนื้อสัตว์ ที่ทำจากสัตว์เหล่านี้”.
In Louisiana, seventeen cows died after an hour’s exposure to spilled fracking fluid. (Most likely cause of death: respiratory failure.) In north central Pennsylvania, 140 cattle were exposed to fracking wastewater when an impoundment was breached. Approximately seventy cows died; the remainder produced eleven calves, of which only three survived. In western Pennsylvania, an overflowing waste pit sent fracking chemicals into a pond and a pasture where pregnant cows grazed: half their calves were born dead. The following year’s animal births were sexually skewed, with ten females and two males, instead of the usual 50-50 or 60-40 split.
ในรัฐลุยเซียนา, วัว 17 ตัว ล้มตายหลังจากสัมผัสกับสารเหลวที่กระเด็นจากกระบวนการระเบิดเจาะ ในหนึ่งชั่วโมง.  (สาเหตุที่เป็นไปได้มากที่สุดของความตาย คือ ระบบทางเดินหายใจล้มเหลว.)   ในตอนบนของภาคกลางของรัฐเพนซิลเวเนีย, วัว 140 ตัว ได้สัมผัสกับน้ำเสียจากการระเบิดเจาะ.  วัวประมาณ 70 ตัวล้มตาย; ที่เหลือเกิดลูกวัว 11 ตัว, มีเพียง 3 ตัวที่รอด.  ในเพนซิลเวเนียตะวันตก, บ่อน้ำทิ้งที่ล้นเกินได้ส่งสารเคมีในกระบวนระเบิดเจาะสู่บ่อน้ำและทุ่งหญ้าที่วัวตั้งท้องเล็มหญ้า: ลูกวัวที่เกิดมา ครึ่งหนึ่งตาย.  ปีต่อมา สัตว์ที่เกิดใหม่มีเพศเอียง, เป็นตัวเมีย 10 ตัว และตัวผู้ 2 ตัว, แทนที่จะเป็นครึ่งต่อครึ่ง หรือ 60-40.
In addition to the cases documented by Bamberger, hair testing of sick cattle that grazed around well pads in New Mexico found petroleum residues in fifty-four of fifty-six animals. In North Dakota, wind-borne fly ash, which is used to solidify the waste from drilling holes and contains heavy metals, settled over a farm: one cow, which either inhaled or ingested the caustic dust, died, and a stock pond was contaminated with arsenic at double the accepted level for drinking water.
นอกจากรายงานของแบมเบอร์เกอร์, มีการตรวจปขนของวัวที่ป่วย ที่เล็มหญ้ารอบๆ บ่อขุดเจาะในนิวเม็กซิโก พบว่า มีเศษปิโตรเลียมในสัตว์ 54 จากทั้งหมด 56 ตัว.  ในรัฐดาโกต้าเหนือ, เถ้าถ่านที่ปลิวลมมา, ที่มาจากการทำให้ของเสียจากรูขุดเจาะและที่มีโลหะหนักให้จับตัวกัน, เมื่อตกในพื้นที่ฟาร์ม: วัวตัวหนึ่ง, ที่คงจะสูดหายใจเข้าไป หรือ กลืนกินผงขี้เถ้านี้,  ได้ล้มตาย, และบ่อน้ำหนึ่ง ก็พบมีสารหนูปนเปื้อนสูงเป็นสองเท่าของระดับที่อนุญาตสำหรับน้ำดื่ม.
Cattle that die on the farm don’t make it into the nation’s food system. (Though they’re often rendered to make animal feed for chickens and pigs—yet another cause for concern.) But herd mates that appear healthy, despite being exposed to the same compounds, do: farmers aren’t required to prove their livestock are free of fracking contaminants before middlemen purchase them. Bamberger and Oswald consider these animals sentinels for human health. “They’re outdoors all day long, so they’re constantly exposed to air, soil and groundwater, with no break to go to work or the supermarket,” Bamberger says. “And they have more frequent reproductive cycles, so we can see toxic effects much sooner than with humans.”
วัวที่ล้มตายบนฟาร์ม ไม่เข้าสู่ระบบอาหารของชาติ. (แต่มันก็มักถูกแปรรูปให้เป็นอาหารสำหรับไก่และหมู—นี่ก็เป็นสาเหตุน่าห่วงใยอีกเรื่อง.)   แต่คนต้อนที่ดูเหมือนแข็งแรงดี, ทั้งๆ ที่ได้สัมผัสกับสารอย่างเดียวกัน, มีความกังวล: เกษตรกรไม่ต้องพิสูจน์ว่าปศุสัตว์ของเขาจะปราศจากสารปนเปื้อนจากการระเบิดเจาะ ก่อนที่พ่อค้าคนกลาง จะซื้อพวกมันไป.   แบมเบอร์เกอร์ และ ออสวอลด์ ถือว่า สัตว์เหล่านี้ เป็นยามเฝ้าดูแลสุขภาพของมนุษย์.   “พวกมันอยู่นอกบ้านตลอดวัน, ดังนั้น ก็จะสัมผัสกับอากาศ, ดิน และ น้ำบาดาล ตลอดเวลา, ไม่มีเวลาพัก ที่จะไปทำงาน หรือ ไปซุเปอร์มาร์เก็ต”, แบมเบอร์เกอร์กล่าว.  “และพวกมันก็มีวัฏจักรการสืบพันธุ์ที่ถี่กว่า, ดังนั้น เราสามารถเห็นผลของสารพิษในสัตว์ได้เร็วกว่าในมนุษย์”.
Fracking a single well requires up to 7 million gallons of water, plus an additional 400,000 gallons of additives, including lubricants, biocides, scale and rust inhibitors, solvents, foaming and defoaming agents, emulsifiers and de-emulsifiers, stabilizers and breakers. About 70 percent of the liquid that goes down a borehole eventually comes up—now further tainted with such deep-earth compounds as sodium, chloride, bromide, arsenic, barium, uranium, radium and radon. (These substances occur naturally, but many of them can cause illness if ingested or inhaled over time.) This super-salty “produced” water, or brine, can be stored on-site for reuse. Depending on state regulations, it can also be held in plastic-lined pits until it evaporates, is injected back into the earth, or gets hauled to municipal wastewater treatment plants, which aren’t designed to neutralize or sequester fracking chemicals (in other words, they’re discharged with effluent into nearby streams).
การระเบิดเจาะหนึ่งบ่อ ต้องใช้น้ำมากถึง 7 ล้านแกลลอน, บวกสารเพิ่มอีก 400,000 แกลลอน, รวมทั้งน้ำมันหล่อลื่น, สารฆ่าสิ่งมีชีวิต, สารยับยั้งการลอกและสนิม, สารละลาย, สารทำให้เกิดฟอง และ ลดฟอง, สารที่ทำให้สารละลายสองอย่างรวมเป็นเนื้อเดียวกัน และ สารแยก, สารที่ทำให้เสถียร และ ทำให้แตกตัว.  ประมาณ 70% ของของเหลวที่ใส่ลงไปในรู ในที่สุดก็จะกลับขึ้นมาอีก—ตอนนี้ ยิ่งเปื้อนสารต่างๆ ที่อยู่ในชั้นหินลึก เช่น โซเดียม, คลอไรด์, โบรไมด์, สารหนู, แบเรียม, ยูเรเนียม, เรเดียม, และ เรดอน.  (สารเหล่านี้เกิดขึ้นตามธรรมชาติ, แต่หลายตัวสามารถทำให้เจ็บป่วยได้ หากกลืนกินหรือสูดหายใจเข้าไปเป็นเวลานาน.)   น้ำเกลือซุเปอร์ ที่ “ผลิตขึ้น” นี้, น้ำเค็ม, สามารถเก็บไว้ใช้อีกได้ในที่ใกล้เคียง.   ขึ้นกับกฎข้อบังคับของมลรัฐ, มันสามารถเก็บไว้ในบ่อที่ปูลาดด้วยพลาสติคจนกว่ามันจะระเหยไปหมด, แล้วอัดฉีดกลับลงไปในส่วนลึกของพื้นโลก, หรือขนไปทิ้งในบ่อบำบัดน้ำเสียของเทศบาล, ที่ไม่ได้ถูกออกแบบให้สามารถปรับให้เป็นกลาง หรือ แยกสารเคมีระเบิดเจาะ (หรือ, ทิ้งของเสียลงในลำธารใกล้เคียง).
At almost every stage of developing and operating an oil or gas well, chemicals and compounds can be introduced into the environment. Radioactive material above background levels has been detected in air, soil and water at or near gas-drilling sites. Volatile organic compounds—including benzene, toluene, ethylene and xylene—waft from flares, engines, compressors, pipelines, flanges, open tanks, spills and ponds. (The good news: VOCs don’t accumulate in animals or plants. The bad news: inhalation exposure is linked to cancer and organ damage.)
ในเกือบทุกๆ ขั้นตอนของการพัฒนาและดำเนินการของบ่อน้ำมันหรือก๊าซ, สารเคมีและสารประกอบ สามารถจะถูกนำเข้าสู่สิ่งแวดล้อม.  สารกัมมันตรังสีเหนือกว่าระดับพื้นฐาน ได้ถูกตรวจพบในอากาศ, ดิน และ น้ำ ในบริเวณขุดเจาะก๊าซ หรือใกล้เคียง.  สารประกอบอินทรีย์ระเหย (VOC)—รวมทั้ง เบ็นซีน, โทลูอีน, เอ็ทธีลีน และ ไซลีน—ล่องลอยจากเปลวที่พลุ่ง, เครื่องจักร, เครื่องบีบอัดอากาศ, ท่อ, ช่อง, ถังเปิด, เศษกระเด็น และ บ่อ.  (ข่าวดี: VOC ไม่สะสมในสัตว์หรือต้นไม้.  ข่าวร้าย: การสัมผัสด้วยการสูดดม เชื่อมโยงกับมะเร็งและอวัยวะชำรุด.)
Underground, petrochemicals can migrate along fissures through abandoned or orphaned wells or leaky well casings (the oil and gas industry estimates that 60 percent of wells will leak over a thirty-year period). Brine can spill from holding ponds or pipelines. It can be spread, legally in some places, on roadways to control dust and melt ice. Truck drivers have also been known to illegally dump this liquid in creeks or fields, where animals can drink it or lick it from their fur.
ใต้ดิน, สารปิโตรเคมี สามารถท่องเที่ยวไปตามรอยแตกผ่านบ่อร้าง หรือบ่อกำพร้า หรือบ่อรั่ว (อุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซ ได้ประเมินว่า 60% ของบ่อ จะรั่วในช่วง 30 ปี).   น้ำเค็มสามารถจะกระเซ็นจากบ่อพัก หรือ ท่อ.  มันสามารถกระจายตัว, อย่างถูกกฎหมายในที่บางแห่ง, บนถนนเพื่อควบคุมฝุ่นและละลายน้ำแข็ง.   คนขับรถบรรทุกก็เป็นที่รูกันว่า ทิ้งของเหลวเหล่านี้อย่างผิดกฎหมายในลำธาร หรือ ทุ่งหญ้า, ที่สัตว์สามารถเข้ากินเข้าไปด้วยการดื่ม หรือเลียจากขนของมัน.
Although energy companies don’t make a habit of telling potential lease signers about the environmental risks they might face, the Securities and Exchange Commission requires them to inform potential investors. In a 2008 filing, Cabot Industries cited “well site blowouts, cratering and explosions; equipment failures; uncontrolled flows of natural gas, oil or well fluids; fires; formations with abnormal pressures; pollution and other environmental risks.” In 2011, oil companies in North Dakota reported more than 1,000 accidental releases of oil, drilling wastewater or other fluids, with many more releases likely unreported. Between 2008 and 2011, drilling companies in Pennsylvania reported 2,392 violations of law that posed a direct threat to the environment and safety of communities.
แม้ว่าบริษัทพลังงานจะไม่ฝึกตนจนเป็นนิสัยในการบอกผู้ที่อาจเป็นคู่สัญญาเช่า เกี่ยวกับความเสี่ยงเชิงสิ่งแวดล้อมที่พวกเขาอาจประสบ, คณะกรรมาธิการการลงทุนและแลกเปลี่ยน บังคับให้พวกเขาต้องแจ้งผู้ที่อาจมาลงทุน.  ในประวัติปี 2008, คาบอตอินดัสตรี ได้อ้าง “บริเวณบ่อระเบิด, เหมือนการระเบิดจากปล่องภูเขาไฟ; อุปกรณ์ไม่ทำงาน; การไหลของก๊าซธรรมชาติ, น้ำมัน หรือของเหลวจากบ่อที่ไม่สามารถควบคุมไว้ได้; ไฟไหม้; การเกิดแรงดันที่ผิดปกติ; มลภาวะและความเสี่ยงเชิงสิ่งแวดล้อมอื่นๆ”.  ในปี 2011, บริษัทน้ำมันในรัฐดาโกต้าเหนือ ได้รายงานถึงอุบัติเหตุกว่า 1,000 ครั้ง ที่ปล่อยน้ำมัน, น้ำเสียและของเหลวอื่นๆ จากการขุดเจาะ, พร้อมกับการปล่อยสารอื่นๆ อีกมาก ที่คงไม่ได้รายงาน.   ระหว่างปี 2008 และ 2011, บริษัทขุดเจาะในเพนซิลเวเนีย ได้รายงาน การละเมิดกฎหมายถึง 2,392 ราย ที่สร้างความเสี่ยงโดยตรงต่อสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของชุมชน.
* * *
Schilke looks left and right, twice, for oncoming tanker trucks, then scoots down a gravel road in her camo-patterned four-wheeler. She parks alongside a leased pasture about a mile from her house and folds her body through a barbed-wire fence. “These guys are much healthier than those I’ve got at home,” she says, puffing as she hikes up a straw-colored hill. “There’s Judy…that’s Buttercup…those are my little bulls.” The black-faced animals turn to face her; some amble through the tall grass and present their foreheads for rubbing. “We’re upwind of the drill rigs here,” Schilke says. “They’re high enough to miss some of the road dust, and they’ve got good water.” Ever since a heater-treater unit, which separates oil, gas and brine, blew out on a drill pad a half-mile upwind of Schilke’s ranch, her own creek has been clogged with scummy growth, and it regularly burps up methane. “No one can tell me what’s going on,” she says. But since the blowout, her creek has failed to freeze, despite temperatures of forty below. (Testing found sulfate levels of 4,000 parts per million: the EPA’s health goal for sulfate is 250 parts per million.)
ชิลเก้มองซ้าย มองขวา สองครั้ง เพื่อดูรถบรรทุกแท๊งค์ที่แล่นเข้ามา, แล้วถลาไปที่ถนนลูกรังในรถของเธอ.  เธอจอดรถข้างๆ ทุ่งหญ้าที่ให้เช่า ซึ่งอยู่ห่างจากบ้านของเธอประมาณ 1 ไมล์ แล้วก็มุดผ่านรั้วลวดหนาม.  “หนุ่มๆ พวกนี้ สมบูรณ์กว่าพวกที่อยู่ที่บ้าน” เธอพูดไปหอบไป ขณะเดินขึ้นเนินเขาสีฟาง.  “นั่นจูดี้...นั่นบัตเตอร์คัพ...พวกนั้นเป็นโคน้อยๆ ของฉัน”.   เจ้าสัตว์หน้าดำหันหน้ามาหาเธอ; บ้างเดินช้าๆ ผ่านหญ้าสูง และยื่นหน้าผากให้ลูบถู.  “ตรงนี้ เราอยู่เหนือลมของบ่อเจาะขุด”, ชิลเก้กล่าว.   “มันอยู่สูงมากพอที่จะรอดพ้นจากฝุ่นถนน, และพวกมันก็มีน้ำดีๆ ดื่ม”.   ตั้งแต่เครื่องบำบัด-ทำความร้อน, ที่แยกน้ำมัน, ก๊าซ และน้ำเค็ม, ระเบิดบนบริเวณขุดเจาะ ที่อยู่ครึ่งไมล์เหนือลมของฟาร์มของชิลเก้, ลำธารของเธอก็เริ่มมีคราบเหนียวงอกเงยทำให้ตีบตัน, และมันก็สะอึกเป็นก๊าซมีเทนอยู่เรื่อย.   “ไม่มีใครบอกฉันได้ว่าเกิดอะไรขึ้น”, เธอกล่าว.  แต่ตั้งแต่ระเบิดเกิดขึ้น, ลำธารของเธอก็ไม่แข็งตัว, ทั้งๆ ที่อุณหภูมิลดต่ำกว่า 40 องศา”. (การตรวจสอบพบว่า ระดับซัลเฟตสูง 4,000 หน่วยต่อล้าน: ระดับรับได้ของ สำนักปกป้องสิ่งแวดล้อม คือ 250 หน่วยต่อล้าน)
Schilke’s troubles began in the summer of 2010, when a crew working at this site continued to force drilling fluid down a well that had sprung a leak. Soon, Schilke’s cattle were limping, with swollen legs and infections. Cows quit producing milk for their calves; they lost from sixty to eighty pounds in a week; and their tails mysteriously dropped off. (Lab rats exposed to the carcinogen 2-butoxyethanol, a solvent used in fracking, have lost their tails, but a similar connection with cattle hasn’t been shown. In people, breathing, touching or consuming enough of the chemical can lead to pulmonary edema and coma.)
ทุกข์ของชิลเก้เริ่มต้นในฤดูร้อนของปี 2010, เมื่อกลุ่มคนงานในบริเวณนี้ ดึงดันที่จะเจาะด้วยของเหลวต่อไปในบ่อจนเกิดรอยรั่ว.  ไม่นาน, วัวของชิลเก้เริ่มเดินโขยกเขยก, ขาบวมและติดเชื้อ.  แม่วัวเริ่มหยุดผลิตนมเลี้ยงลูกวัว; น้ำหนักหายไป 60 ถึง 80 ปอนด์ทุกอาทิตย์; และหางของมันก็หลุดออกอย่างลึกลับ.  (ในห้องแล็บ หนูที่สัมผัสกับสารก่อมะเร็ง 2-butoxyethanol, สารละลายที่ใช้ในการระเบิดเจาะ, ก็เสียหางไป, แต่ยังไม่มีการทดลองกับวัว.  ในผู้คน, การสูดหายใจ, แตะต้อง หรือ กลืนกิน สารเคมีในปริมาณมากพอ จะทำให้เกิดน้ำท่วมปอดและเข้าขั้นโคม่าได้).


An inveterate label reader who obsessively tracks her animals’ nutritional intake, Schilke couldn’t figure out what was wrong. Neither could local veterinarians. She nursed individual cows for weeks and, with much sorrow, put a $5,000 bull out of its misery with a bullet. Upon examination, the animal’s liver was found to be full of tunnels and its lungs congested with pneumonia. Before the year was out, five cows had died, in addition to several cats and two dogs. (A feline autopsy came back inconclusive, but subsequent hair testing of cows, cats and dogs revealed sulfate levels high enough to cause polio in cattle.) Inside Schilke’s house today, where the china cabinets are kept empty for fear of a shattering drill-site explosion, nearly a dozen cats sneeze and cough, some with their heads tilted at a creepy angle.
ในฐานะที่เป็นคนติดนิสัยอ่านป้าย ผู้หมกมุ่นกับการตามรอยสารอาหารที่ปศุสัตว์ของเธอกินเข้าไป, ชิลเก้คิดไม่ออกว่าทำอะไรผิด.   สัตวแพทย์ท้องถิ่นก็บอกไม่ได้.  เธอพยาบาลวัวแต่ละตัวอยู่หลายสัปดาห์ และ, ด้วยความเศร้าโศกอย่างยิ่ง, จำต้องยิงโคราคา $5,000 ให้พ้นจากความเจ็บปวด.  จากการตรวจสอบ, พบว่า ตับของวัวเต็มไปด้วยโพรง และปอดบวม.  ก่อนสิ้นปี, วัวอีกห้าตัวล้มตายลง, แถมแมวหลายตัวและสุนัขสองตัว.  (ผลการตรวจซากแมวหาการสรุปไม่ได้, แต่การตรวจขนของแม่วัว, แมว และ สุนัข ภายหลัง เผยว่าระดับซัลเฟตสูงมากพอที่จะทำให้วัวเป็นโปลิโอ.)   ภายในบ้านของชิลเก้ทุกวันนี้, ชั้นตู้สำหรับวางถ้วยชาม กลับว่างเปล่า เพราะความกลัว แรงสะเทือนจากการระเบิดของบ่อเจาะขุด, มีแมวเกือบโหลนอนและไอ, บางตัวเอียงหัวเป็นมุมอย่างน่ากลัว.
Before the drilling started, two cars a day traveled down Schilke’s gravel road. Now, it’s 300 trucks hauling sand, fresh water, wastewater, chemicals, drill cuttings and drilling equipment. Most of the tankers are placarded for hazardous or radioactive material. Drilling and fracking a single well requires 2,000 truck trips, and each pass of a vehicle sends a cyclone of dust and exhaust fumes into the air. Mailbox numbers are obliterated, conversations are choked off, and animals die of “dust pneumonia.” (More formally known as bovine respiratory disease, the illness is associated with viral, fungal and bacterial infection.)
ก่อนที่การขุดเจาะจะเริ่มต้น, มีรถสองคันแล่นผ่านทางลูกรังทุกวัน.  ตอนนี้, มีรถบรรทุก 300 คัน ขนทราย, น้ำสะอาด, น้ำเสีย, สารเคมี, อุปกรณ์การขุดเจาะและตัด.  แท๊งค์ส่วนใหญ่ติดป้ายประกาศว่า เป็นสารอันตราย หรือกัมมันตรังสี.  การขุดเจาะและระเบิดเจาะแต่ละบ่อ ต้องใช้รถบรรทุก 2,000 เที่ยว, และการผ่านมาของยานพาหนะแต่ละเที่ยว ทำให้เกิดพายุไซโคลนฝุ่น และควันจากท่อไอเสียสู่อากาศ.  ตัวเลขบนตู้จดหมายหมองมัวจนอ่านไม่ออก, การสนทนากลายเป็นการสำลัก, และสัตว์ตายด้วย “ฝุ่นท่วมปอด”.   (รู้จักกันอย่างเป็นทางการว่า โรคทางเดินหายใจของวัว, เป็นโรคที่เกี่ยวโยงกับการติดเชื้อไวรัส, รา และ แบคทีเรีย.)
Ordinarily, Schilke hauls her calves to auction when they’re eight months old. “Buyers come from everywhere for Dakota cows,” she says. The animals are then raised on pasture or in feedlots until they are big enough for slaughter. No longer Schilke cattle, they’re soon part of the commodity food system: anonymous steaks and chops on supermarket shelves. Now, Schilke is diffident about selling her animals. “I could get good money for these steers,” she says, cocking her head toward a pair of sleek adolescents. “They seem to be in very good shape and should have been butchered. But I won’t sell them because I don’t know if they’re OK.”
ตามปกติ, ชิลเก้จะขนลูกวัวของเธอไปประมูลเมื่อพวกมันโตได้  8 เดือน.  “ผู้ซื้อมาจากทุกที่เพื่อซื้อวัวดาโกต้า”, เธอกล่าว.   จากนั้น สัตว์จะถูกเลี้ยงบนทุ่งหญ้า หรือในคอกจนกว่าจะโตพอเพื่อฆ่าเอาเนื้อ.  ไม่มีวัวชิลเก้อีกแล้ว, พวกมันได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของระบบอาหารสินค้า: สเต็กนิรนาม และเนื้อเขียงตามชั้นซุเปอร์มาเก็ต.  ตอนนี้ ชิลเก้รู้สึกกระดากกับการขายสัตว์ของเธอ.  “ฉันน่าจะได้เงินดีจากพวกนี้”, เธอกล่าว, พร้อมเอียงหัวไปที่วัวรุ่นคู่หนึ่งของเธอ.  “พวกมันดูดีและควรอยู่ในโรงฆ่าสัตว์ได้แล้ว.  แต่ฉันจะไม่ขายมัน เพราะฉันไม่รู้ว่าพวกมันยังโอเคไหม”.
* * *
Nor does anyone else. By design, secrecy shrouds the hydrofracking process, casting a shadow that extends over consumers’ right to know if their food is safe. Federal loopholes crafted under former Vice President Dick Cheney have exempted energy companies from key provisions of the Clean Air, Clean Water and Safe Drinking Water Acts, the Toxics Release Inventory, the Resource Conservation and Recovery Act, and the National Environmental Policy Act, which requires a full review of actions that may cause significant environmental impacts. If scientists and citizens can’t find out precisely what is in drilling or fracking fluids or air emissions at any given time, it’s difficult to test whether any contaminants have migrated into the water, soil or food—and whether they can harm humans. It gets even more complicated: without information on the interactions between these chemicals and others already existing in the environment, an animal’s cause of death, Bamberger says, “is anyone’s guess.”
คนอื่นก็ไม่เช่นกัน.  จากการออกแบบ, กระบวนการระเบิดเจาะด้วยแรงดันน้ำ ถูกเคลือบคลุมเป็นความลับ, กลายเป็นเงามืดทอดยาวทับสิทธิ์ผู้บริโภคที่จะรู้ว่า อาหารของตนปลอดภัยหรือไม่.  ช่องโหว่ที่ประดิษฐ์ขึ้นภายใต้อดีตรองประธานาธิบดี ดิ๊ค เชนีย์ ได้ยกเว้นบริษัทพลังงานให้อยู่นอกกฎระเบียบของ พรบ อากาศสะอาด, น้ำสะอาด และน้ำดื่มปลอดภัย, การเปิดเผยรายการสารพิษ, พรบ อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากร, และ พรบ นโยบายสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ, ที่บังคับให้มีการทบทวนเต็มที่ในกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบเชิงสิ่งแวดล้อมอย่างมีนัยสำคัญ.   หากนักวิทยาศาสตร์ และพลเมือง ไม่สามารถหาหรือระบุอย่างแม่นยำว่า ตัวอะไรกันแน่ในกระบวนการเจาะหรือสารเหลวใช้ระเบิดเจาะ หรือในอากาศที่ปล่อยออกมา ในเวลาหนึ่งๆ, มันก็ยากที่จะตรวจสอบว่า สารปนเปื้อนอะไรที่พลัดลงไปในน้ำ, ดิน หรือ อาหาร—และมันทำอันตรายต่อมนุษย์ไหม.  มันกลายเป็นเรื่องซับซ้อนยิ่งขึ้น: เมื่อปราศจากข้อมูลเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารเคมีเหล่านี้และสารอื่นๆ ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมแล้ว, สาเหตุการตายของสัตว์, แบมเบอร์เกอร์กล่าว, “เป็นการเดาของใครก็ได้”.
Fracking proponents criticize Bamberger and Oswald’s paper as a political, not a scientific, document. “They used anonymous sources, so no one can verify what they said,” Steve Everley, of the industry lobby group Energy In Depth, says. The authors didn’t provide a scientific assessment of impacts—testing what quaternary ammonium compounds might do to cows that drink it, for example—so treating their findings as scientific, he continues, “is laughable at best, and dangerous for public debate at worst.” (Bamberger and Oswald acknowledge this lack of scientific assessment and blame the dearth of funding for fracking research and the industry’s use of nondisclosure agreements.)
ผู้สนับสนุนการระเบิดเจาะด้วยแรงดันน้ำ วิจารณ์บทความของแบมเบอร์เกอร์และออสวอลด์ว่าเป็นเอกสารทางการเมือง, ไม่ใช่วิทยาศาสตร์.   “พวกเขาใช้แหล่งนิรนาม, ดังนั้น ไม่มีใครสามารถจะไปพิสูจน์สิ่งที่พวกเขาพูดได้”, สตีฟ เอเวอร์ลีย์, หนึ่งในกลุ่มนักล๊อบบี้ พลังงานในที่ลึก, กล่าว.   ผู้เขียนไม่ได้แสดงถึงการประเมินทางวิทยาศาสตร์ถึงผลกระทบ—ด้วยการทดลองให้วัวกินสารประกอบแอมโมเนียหนึ่งในสี่ แล้วติดตามดูว่า จะเกิดอะไรขึ้นกับวัว, เป็นต้น—ดังนั้น การถือว่า รายงานนี้เป็นวิทยาศาสตร์, เขากล่าวต่อไป, “อย่างดีที่สุดก็เป็นเรื่องน่าหัวร่อ, อย่างเลวที่สุด เป็นอันตรายต่อการอภิปรายสาธารณะ”.  “แบมเบอร์เกอร์และออสวอลด์ ยอมรับว่าขาดการประเมินเชิงวิทยาศาสตร์ และโทษการขาดทุนสนับสนุนสำหรับงานวิจัยเรื่องการระเบิดเจาะด้วยแรงดันน้ำ และ อุตสาหกรรมก็ใช้ข้อตกลงไม่เปิดเผยข้อมูล.)
No one doubts that fracking fluids have the potential to do serious harm. Theo Colborn, an environmental health analyst and former director of the World Wildlife Fund’s wildlife and contaminants program, identified 632 chemicals used in natural-gas production. More than 75 percent of them, she said, could affect sensory organs and the respiratory and gastrointestinal systems; 40 to 50 percent have potential impacts on the kidneys and on the nervous, immune and cardiovascular systems; 37 percent act on the hormone system; and 25 percent are linked with cancer or mutations.
ไม่มีใครสงสัยเลยว่าสารเคมีระเบิดเจาะ มีศักยภาพที่จะเป็นอันตรายร้ายแรง.  ธีโอ โคลบอร์น, นักวิเคราะห์สุขภาพเชิงสิ่งแวดล้อม และอดีต ผอ. โครงการสัตว์ป่าและสารปนเปื้อน ของกองทุนสัตว์ป่า, ได้ระบุ สารเคมี 632 ตัวที่ใช้ในกระบวนการผลิตก๊าซธรรมชาติ.  เธอกล่าวว่า, กว่า 40% ของมัน มีผลกระทบต่ออวัยวะด้านความรู้สึก, ทางเดินหายใจ และระบบลำไส้; 40-50% มีผลกระทบที่เป็นไปได้ต่อไต, ระบบประสาท, ภูมิคุ้มกัน และระบบหัวใจ; 37% มีผลต่อระบบฮอร์โมน ; และ 25% เชื่อมโยงกับมะเร็ง หรือ การแปรพันธุ์.
Thanks to public pressure, several states have started to tighten regulations on the cement casings used to line wells, and the Obama administration recently required energy companies to disclose, on the industry-sponsored website fracfocus .org, the fracking chemicals used on public land. (States regulate fracking on private land and set different requirements.) Still, information about quantities and concentrations of the chemicals remains secret, as do compounds considered proprietary. Further, no state requires a company to disclose its ingredients until a fracking job is complete. At that point, it’s easy to blame the presence of toxins in groundwater on a landowner’s use of pesticides, fertilizers or even farm equipment.
ต้องขอบคุณแรงกดดันจากสาธารณชน, หลายๆ มลรัฐ ได้เริ่มกระชับกฎระเบียบของการทำปลอกซีเมนต์ที่ใช้ในการทำบ่อ, และรัฐบาลโอบามา เมื่อเร็วๆ นี้ ได้บังคับให้บริษัทพลังงานให้เปิดเผย, บนเว็บไซต์ที่อุตสาหกรรม (พลังงาน) ให้เงินสนับสนุน ชื่อ fracfocus .org, ถึงสารเคมีใช้ในการระเบิดเจาะบนพื้นที่สาธารณะ.  (รัฐบาลมลรัฐ ควบคุมการระเบิดเจาะบนที่เอกชน/ส่วนตัว และได้จัดข้อบังคับชุดใหม่ขึ้น.)   ถึงกระนั้น, ข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณและความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ ก็ยังเป็นความลับอยู่, ประหนึ่งว่า สารเคมีเหล่านั้น เป็นสมบัติส่วนตัว.  เหนือกว่านั้น, เป็นการง่ายที่จะโทษว่า สารพิษมีอยู่แล้วในน้ำบาดาล ในที่ๆ เจ้าของที่ดินที่ใช้ยากำจัดศัตรูพืช, ปุ๋ย หรือ แม้แต่อุปกรณ์ของเกษตรกรเอง.
Clearly, the technology to extract gas from shale has advanced faster, and with a lot more public funding, than has the study of its various effects. To date, there have been no systematic, peer-reviewed, long-term studies of the health effects of hydraulic fracturing for oil and gas production (one short-term, peer-reviewed study found that fracking emissions may contribute to acute and chronic health problems for people living near drill sites). And the risks to food safety may be even more difficult to parse.
ชัดเจนอยู่แล้วที่เทคโนโลยีเพื่อการสกัดก๊าซจากชั้นหิน ได้ก้าวหน้าไปรวดเร็วกว่า, และด้วยการทุ่มเงินสาธารณะมหาศาล, มากกว่าสนับสนุนการศึกษาถึงผลกระทบต่างๆ ของมัน.   ทุกวันนี้, ยังไม่มีการศึกษาระยะยาวที่เป็นระบบ, ที่ได้รับการวิพากษ์จากเพื่อนร่วมวงการ ถึงผลกระทบเชิงสุขภาพจากการระเบิดเจาะด้วยแรงดันน้ำ เพื่อการผลิตน้ำมันและก๊าซ (งานศึกษาระยะสั้น, เพื่อนร่วมวงการวิพากษ์ ชิ้นหนึ่ง พบว่า การปล่อยสารระเหย/ก๊าซ จากการระเบิดเจาะ อาจทำให้เกิดปัญหาสุขภาพรุนแรงและเรื้อรังสำหรับประชาชนที่อาศัยอยู่ใกล้การขุดเจาะ).  และความเสี่ยงต่อความปลอดภัยของอาหาร อาจยากยิ่งขึ้นในการวิเคราะห์และเขียนเป็นคำพูด.
“Different plants take up different compounds,” says John Stolz, an environmental microbiologist at Duquesne University. For example, rice and potatoes take up arsenic from water, but tomatoes don’t. Sunflowers and rape take up uranium from soil, but it’s unknown if grasses do. “There are a variety of organic compounds, metals and radioactive material that are of human health concern when livestock meat or milk is ingested,” says Motoko Mukai, a veterinary toxicologist at Cornell’s College of Veterinary Medicine. These “compounds accumulate in the fat and are excreted into milk. Some compounds are persistent and do not get metabolized easily.”
“โรงงานต่างกัน ใช้สารเคมีต่างกัน”, จอห์น สโตลซ์, นักจุลชีววิทยาเชิงสิ่งแวดล้อมที่ Duquesne University กล่าว.  ยกตัวอย่าง, ข้าวและมันฝรั่ง ดูดซับสารหนูจากน้ำ, แต่มะเขือเทศ ไม่ทำเช่นนั้น.  ดอกทานตะวัน และต้นเร็บ ดูดซับยูเรเนียมจากดิน, แต่ยังไม่รู้ว่า ต้นหญ้าทำเช่นนั้นไหม.  “มีสารประกอบอินทรีย์หลายชนิด, โลหะ และสารกัมมันตรังสี ที่เป็นเรื่องน่าห่วงใยต่อสุขภาพมนุษย์ ถ้ากินเนื้อปศุสัตว์ หรือนม”, โมโตโกะ มูคาอิ, นักพิษวิทยาสัตวบาล ที่มหาวิทยาลัยคอร์เนล, กล่าว.   “สารประกอบเหล่านี้ สะสมอยู่ในไขมัน และผ่านต่อไปในนม.  บางสารอยู่ยงคงกะพัน และไม่ถูกย่อย/เผาผลาญ/สลายไปง่ายๆ”.
Veterinarians don’t know how long the chemicals may remain in animals, and the Food Safety Inspection Service, part of the US Department of Agriculture, isn’t looking for them in carcasses. Inspectors in slaughterhouses examine organs only if they look diseased. “It’s gross appearance, not microscopic,” Bamberger says of the inspections—which means that animals either tainted or sickened by those chemicals could enter the food chain undetected.
สัตวแพทย์ไม่รู้ว่า สารเคมีจะอยู่ในตัวของสัตว์อีกนานเท่าไร, และหน่วยบริการตรวจสอบความปลอดภัยของอาหาร, ส่วนหนึ่งของกระทรวงเกษตร, ก็ไม่ได้ค้นหามันในซากสัตว์.  ผู้ตรวจในโรงฆ่าสัตว์ ทำการตรวจอวัยวะก็ต่อเมื่อสัตว์ดูเหมือนมีโรค.   “มันเป็นเพียงดูผิวเผิน, ไม่ใช่ดูแบบส่องกล้อง”. แบมเบอร์เกอร์กล่าวถึงการตรวจ—ซึ่งหมายความว่า สัตว์ถูกปนเปื้อน หรือ ป่วย ด้วยสารเคมีเหล่านั้น สามารถเข้าสู่ห่วงโซ่อาหารโดยไม่มีการตรวจจับ.
“The USDA focuses mostly on pathogens and pesticide residues,” says Tony Corbo, a senior lobbyist for Food and Water Watch. “We need to do risk assessments for these fracking chemicals and study tolerance levels.” The process, he adds, could take more than five years. In the meantime, fractivists are passing around a food-pyramid chart that depicts chemicals moving from plants into animals, from animals into people, and from people into… zombies.
“กระทรวงเกษตร เล็งส่วนมากที่เชื้อโรคและเศษซากยากำจัดศัตรูพืช”, โทนี คอร์โบ, นักล๊อบบี้อาวุโส ของกลุ่มเฝ้าระวังอาหารและน้ำ, กล่าว.  “เราจำเป็นต้องทำการประเมินความเสี่ยงเพื่อตรวจสารเคมีที่ใช้ในกระบวนระเบิดเจาะ และศึกษาถึงระดับที่ทนได้”.  เขาเสริมว่า กระบวนการนี้อาจต้องใช้เวลาห้าปี.  ในเวลาเดียวกัน, นักกิจกรรม ก็กำลังแจกผังปิรามิดอาหาร ที่แสดงว่า สารเคมีเคลื่อนตัวจากโรงงานสู่สัตว์, จากสัตว์สู่ประชาชน, และจากประชาชนสู่...ศพเดินได้.
* * *
The relatively small number of animals reported sick or dead invites the question: If oil and gas operations are so risky, why aren’t there more cases? There likely are, but few scientists are looking for them. (“Who’s got the money to study this?” Colborn asks rhetorically.) Rural vets won’t speak up for fear of retaliation. And farmers aren’t talking for myriad reasons: some receive royalty checks from the energy companies (either by choice or because the previous landowner leased their farm’s mineral rights); some have signed nondisclosure agreements after receiving a financial settlement; and some are in active litigation. Some farmers fear retribution from community members with leases; others don’t want to fall afoul of “food disparagement” laws or get sued by an oil company
for defamation (as happened with one Texan after video of his flame-spouting garden hose was posted on the Internet. The oil company won; the homeowner is appealing).
ตัวเลขที่ค่อนข้างน้อยของสัตว์ที่รายงานว่าป่วยหรือตาย ชวนให้ตั้งคำถาม: หากการดำเนินขุดเจาะน้ำมันและก๊าซมีความเสี่ยงเช่นนี้, ทำไมจึงไม่มีกรณีมากกว่านี้?  คงมีมากกว่านี้, แต่นักวิทยาศาสตร์น้อยคนที่ค้นหาพวกมัน.  (“ใครได้เงินไปศึกษาเรื่องนี้?” โคลบอร์นถามซ้ำๆ.)  สัตวแพทย์ชนบทจะไม่พูดดังๆ เพราะกลัวถูกแก้แค้น.  และเกษตรกรก็ไม่พูดเพราะเหตุผลมากมาย: บางคนได้รับเช็คค่าลิขสิทธิ์จากบริษัทพลังงานแล้ว (อาจด้วยความสมัครใจ หรือเพราะเจ้าของที่ดินคนก่อน ได้ปล่อยเช่าลิขสิทธิ์สินแร่ในฟาร์มของพวกเขา);  บ้างได้เซ็นข้อตกลงที่ไม่เปิดเผย หลังจากได้รับเงินสมยอม; และบ้างก็กำลังฟ้องร้อง.  เกษตรกรบางคนกลัวการแก้แค้นจากสมาชิกชุมชนที่ปล่อยเช่า; คนอื่นไม่ต้องการตกในภาวะปะทะกัน ของ กฎหมาย “อาหารไม่ดี” หรือถูกบริษัทน้ำมันฟ้องว่าดูหมิ่น (ดังที่เกิดขึ้นกับชาวเท็กซัสคนหนึ่ง หลังจากเขาถ่ายวีดีโอเปลวไปที่พุ่งออกจากสายยางรดน้ำในสวนของเขา และแปะไว้บนอินเตอร์เน็ต.  บริษัทน้ำมันชนะ; เจ้าของบ้านกำลังอุทธรณ์.
And many would simply rather not know what’s going on. “It takes a long time to build up a herd’s reputation,” says rancher Dennis Bauste, of Trenton Lake, North Dakota. “I’m gonna sell my calves, and I don’t want them to be labeled as tainted. Besides, I wouldn’t know what to test for. Until there’s a big wipeout, a major problem, we’re not gonna hear much about this.” Ceylon Feiring, an area vet, concurs. “We’re just waiting for a wreck to happen with someone’s cattle,” she says. “Otherwise, it’s just one-offs”—a sick cow here and a dead goat there, easy for regulators, vets and even farmers to shrug off.
และอีกหลายๆ คน ก็เพียงไม่อยากรู้ว่าเกิดอะไรขึ้น.  “มันต้องใช้เวลานานกว่าจะรวบรวมให้เป็นฝูงความน่าเชื่อถือได้”, เจ้าของไร่ปศุสัตว์ เดนนิส เบ๊าสท์, แห่งทะเลสาบ เทรนตัน, รัฐดาโกต้าเหนือ.  “ผมจะขายลูกวัวของผม, และผมไม่ต้องการให้พวกมันถูกติดป้ายว่า ปนเปื้อน.  นอกจากนี้, ผมก็ไม่รู้ว่าจะตรวจหาอะไร.  จนกว่าจะมีการล้มตายขนานใหญ่, จนเป็นปัญหาใหญ่, พวกเราก็จะไม่ได้ยินเรื่องนี้มากนัก”.  ซีลอน เฟริง, สัตวแพทย์ในท้องถิ่น, กล่าว.   “พวกเราเพียงแต่คอยให้หายนะเกิดขึ้นกับวัวของบางคน”, เธอกล่าว.  “มิฉะนั้น, มันก็แค่ตัวเดียวที่เสียไป”—วัวตายตัวหนึ่งที่นี่ และแพะตายตัวหนึ่งที่นั่น, เป็นเรื่องง่ายที่ คนควบคุม, สัตวแพทย์ และแม้แต่เกษตรกรที่จะยักไหล่อย่างไม่สนใจ.
The National Cattlemen’s Beef Association takes no position on fracking, nor has it heard from members either concerned by or in favor of the process. And yet it’s ranchers and farmers—many of them industry-supporting conservatives—who are, increasingly, telling their stories to the media and risking all. These are the people who have watched helplessly as their livestock suffer and die. “It’s not our breeding or nutrition destroying these animals,” Schilke says, her voice rising in anger. “It’s the oilfield industry.”
สมาคมผู้ผลิตเนื้อวัวแห่งชาติ ไม่ได้มีจุดยืนกับการระเบิดเจาะ, หรือเคยได้ยินจากสมาชิกว่า ห่วงใย หรือ เห็นด้วยกับกระบวนการนี้.  ถึงกระนั้น สมาชิกที่เป็นเจ้าของไร่ปศุสัตว์และเกษตรกร—หลายๆ คนเป็นนักอนุรักษ์นิยมที่สนับสนุนอุตสาหกรรม—ผู้ซึ่ง, เริ่มมากขึ้น, เล่าเรื่องของพวกเขาให้สื่อแม้จะต้องเสี่ยง.   พวกเขาเป็นคนที่ได้นั่งเฝ้ามองอย่างช่วยอะไรไม่ได้ในขณะที่ปศุสัตว์ของพวกเขาเจ็บป่วยและล้มตาย.  “มันไม่ใช่เพราะสายพันธุ์ของเราไม่ดีพอ หรืออาหารที่ทำลายสัตว์”, ชิลเก้กล่าว, เสียงของเธอกร้าวด้วยความโกรธ.  “มันมาจากอุตสาหกรรมทุ่งน้ำมัน”.
However, some institutions that specialize in risk have started to connect the dots. Nationwide Mutual Insurance, which sells agricultural insurance, recently announced that it would not cover damages related to fracking. Rabobank, the world’s largest agricultural bank, reportedly no longer sells mortgages to farmers with gas leases. And in the boldest move yet by a government official, Christopher Portier, director of the National Center for Environmental Health at the Centers for Disease Control and Prevention, called for studies that “include all the ways people can be exposed, such as through air, water, soil, plants and animals.” While the EPA is in the midst of a $1.9 million study of fracking’s impact on water, no government agency has taken up Portier’s challenge to study plants and animals.
ถึงอย่างไร, บางสถาบันที่เชี่ยวชาญเรื่องความเสี่ยง ได้เริ่มเชื่อมจุดต่างๆ เข้าด้วยกัน.  Nationwide Mutual Insurance, ซึ่งขายประกันเกษตรกรรม, เมื่อเร็วๆ นี้ ได้ประกาศว่า จะไม่ครอบคลุมความเสียหายที่เกิดจากการระเบิดเจาะ.  ธนาคารราโด, ธนาคารเกษตรที่ใหญ่ที่สุดในโลก, ได้รายงานว่าจะไม่ขายการจำนองแก่เกษตรกรที่มีก๊าซรั่ว.  และการเคลื่อนตัวที่หาญกล้าที่สุดโดยเจ้าหน้าที่รัฐบาลคนหนึ่ง, คริสโตเฟอร์ ปอร์เตียร์, ผอ. ศูนย์เพื่อสุขภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ที่ศูนย์สำหรับการควบคุมและป้องกันเชื้อโรค, ได้สั่งให้ทำการศึกษาที่ “ครอบคลุมทุกช่องทางที่ประชาชนจะสัมผัสได้ เช่น ผ่านทางอากาศ, น้ำ, น้ำมัน, ต้นไม้ และ สัตว์”.   ในขณะที่ EPA อยู่ในระหว่างการใช้งบ  $1.9 ล้าน เพื่อศึกษาผลกระทบของการเจาะขุดต่อน้ำ, ไม่มีหน่วยงานรัฐบาลอื่น ที่ได้ขานรับคำท้าทายของปอร์เตียร์ ให้ศึกษาต้นไม้และสัตว์ด้วย.
* * *
The possibility of chemical contamination aside, oil and gas operations have already affected food producers. “I lost six acres of hayfields when the gas company put roads in,” says Terry Greenwood, a rancher in western Pennsylvania. “Now I have to buy more feed for my cattle.” (Like other farmers hurt by drilling and fracking, he still pays taxes on his unproductive land.) Others have lost the use of stock ponds or creeks to brine spills.
นอกจากความเป็นไปได้ของการปนเปื้อนสารเคมี, การดำเนินงานของน้ำมันและก๊าซ ได้กระทบผู้ผลิตอาหารแล้ว.  “ผมสูญเสียที่ดินที่ผลิตฟาง หกเอเคอร์ เมื่อบริษัทก๊าซสร้างเป็นถนน”, เทอร์รี กรีนวูด, เจ้าของไร่ปศุสัตว์ในเพนซิลเวเนียตะวันตก.  “ตอนนี้ ผมต้องซื้อฟางเลี้ยงวัวของผม”.  (เช่นเดียวกับเกษตรกรอื่นๆ ที่ถูกทำร้ายโดยการขุดเจาะและระเบิดเจาะ, เขายังต้องจ่ายภาษีสำหรับที่ดินที่ไม่ได้ผลิตอะไรให้เขา.)  คนอื่นๆ สูญเสียการใช้บ่อน้ำหรือลำธาร ให้กับน้ำเค็มที่กระเซ็นเข้าไป.
“We’ve got 12,000 wells in the Bakken, and they each take up six acres,” says Mark Trechock, former director of the Dakota Resource Council. “That’s 72,000 acres right there, without counting the waste facilities, access roads, stored equipment and man camps that go along with the wells.” Before the drilling boom, that land might have produced durum wheat, barley, oats, canola, flax, sunflowers, pinto beans, lentils and peas. In Pennsylvania, where nearly 6,500 wells have been drilled since 2000, the Nature Conservancy estimates that thirty acres are directly or indirectly affected for every well pad.
“เรามี 12,000 บ่อในเบคเคน, และแต่ละแห่งใช้ที่ถึง หกเอเคอร์”, มาร์ค เทรโชค, อดีต ผอ. สภาทรัพยากรดาโกต้า, กล่าว.  “นั่นหมายถึง 72,000 เอเคอร์ตอนนี้, โดยไม่รวมสิ่งอำนวยอื่นๆ เช่น การจัดการของเสีย, ถนน, ที่เก็บอุปกรณ์ และที่พักคนงาน ที่ไปพร้อมกับบ่อ”.   ก่อนที่การขุดเจาะจะแพร่หลาย, ที่ดินตรงนั้น อาจผลิตข้าวสาลี, ข้าวบาร์เลย์, ข้าวโอ๊ต, คาโนลา, แฟล็กซ์, ทานตะวัน, ถั่วปินโต, และถั่วอื่นๆ.  ในเพนซิลเวเนีย, เกือบ 6,500 บ่อ ถูกเจาะตั้งแต่ปี 2000,  กลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติ ประเมินว่า แต่ละบ่อ ส่งผลกระทบทางตรงหรือทางอ้อมต่อพื้นที่ 30 เอเคอร์.
East of the Rockies, intensive drilling and fracking have pushed levels of smog, or ground-level ozone, higher than those of Los Angeles. Ozone significantly diminishes crop yields and reduces the nutritional value of forage. Flaring of raw gas can acidify soil and send fine particulate matter into the air; long-term exposure to this material has been linked to human heart and lung diseases and disruption to the endocrine system. Earlier this year, the Environmental Protection Agency finalized standards that require reductions in airborne emissions from gas wells, although the industry has more than two years to comply.
ทางตะวันออกของร๊อคกี้, การขุดเจาะและระเบิดเจาะอย่างเข้มข้น ได้ทำให้ระดับหมอกฝุ่นสูงขึ้น, หรือโอโซนในระดับพื้นดิน, สูงกว่าในลอสแองเจิลลิส.  โอโซนได้ทำลายผลผลิตพืชและลดคุณค่าโภชนาการในผักอย่างมีนัยสำคัญ.  ก๊าซทีพวยพุ่งขึ้นมา ทำให้ดินเป็นกรด และส่งอนุภาคละเอียดสู่อากาศ; การสัมผัสอนุภาคเหล่านี้เป็นเวลานาน ได้ถูกเชื่อมโยงกับโรคหัวใจและปอดของมนุษย์ และการแตกกระเจิงของระบบต่อมไร้ท่อ.  เมื่อต้นปีนี้, สน ป้องกันสิ่งแวดล้อม ได้ออกมาตรฐานที่บังคับให้ลดการปล่อยอนุภาคจากบ่อก๊าซสู่อากาศ, แม้ว่า อุตสาหกรรมจะมีเวลากว่าสองปีในการปฏิบัติตาม.
Besides clean air, farmers need clean water—lots of it. But some farmers now find themselves competing with energy companies for this increasingly precious resource. At water auctions in Colorado, the oil and gas industry has paid utilities up to twenty times the price that farmers typically pay. In Wyoming, ranchers have switched from raising beef to selling their water. Unwilling to risk her animals’ health to creek water that’s possibly tainted, Schilke spent $4,000 last summer hauling safe water from town to her ranch. “I’d wait in line for hours,” she says, “usually behind tanker trucks buying water to frack wells.” 
นอกจากอากาศสะอาด, เกษตรกรต้องการน้ำสะอาด—มากมายเสียด้วย.   แต่เกษตรกรบางคนพบว่า ตนเองกำลังแข่งกับบริษัทพลังงานในการแย่งชิงทรัพยากรที่กำลังมีค่ายิ่งขึ้น.   ในการประมูลน้ำในโคโลราโด, อุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซ ได้จ่ายค่าสาธารณูปโภคสูงถึง 20 เท่าของราคาที่เกษตรกรจ่ายตามปกติ. ในไวโอมิง, เจ้าของไร่ปศุสัตว์ ได้เปลี่ยนจากเลี้ยงวัวเนื้อไปเป็นขายน้ำ.  ด้วยไม่ต้องการจะเสี่ยงสุขภาพสัตว์ของเธอด้วยการให้กินน้ำในลำธาร ที่อาจถูกปนเปื้อน, ชิลเก้ จ่ายเงิน $4,000 ในฤดูร้อนที่แล้ว เพื่อขนน้ำที่ปลอดภัยจากเมืองสู่ไร่ของเธอ.  “ฉันต้องยืนเข้าแถวรอหลายชั่วโมง”, เธอกล่าว, “ปกติต้องยืนข้างหลังรถบรรทุกแท๊งค์น้ำที่ซื้อน้ำไปที่บ่อระเบิดเจาะ”.
* * *
Given the absence of studies on the impacts of drilling and fracking in plants and animals, as well as inadequate inspection and scant traceability in the food chain, it’s hard to know what level of risk consumers face when drinking milk or eating meat or vegetables produced in a frack zone. Unless, of course, you’re Jacki Schilke, and you feel marginally healthier when you quit eating the food that you produced downwind or downstream from drill rigs. But many consumers—those intensely interested in where and how their food is grown—aren’t waiting for hard data to tell them what is or isn’t safe. For them, the perception of pollution is just as bad as the real thing. Ken Jaffe, who raises grass-fed cattle in upstate New York, says, “My beef sells itself. My farm is pristine. But a restaurant doesn’t want to visit and see a drill pad on the horizon.”
เนื่องจากไม่มีงานศึกษาเรื่องผลกระทบของการขุดเจาะและระเบิดเจาะในพืชและสัตว์, รวมทั้งการตรวจที่ไม่พอ และสมรรถภาพในการตามรอยปนเปื้อนในห่วงโซ่อาหารที่น้อยมาก, จึงเป็นยากที่จะรู้ว่าผู้บริโภคมีความเสี่ยงในระดับไหน เมื่อดื่มนมหรือกินเนื้อหรือผักที่ผลิตในบริเวณระเบิดเจาะ.  แน่นอน, นอกจากว่าคุณเป็นแจ๊คกี้ ชิลเก้, และคุณรู้สึกสุขภาพดีขึ้นนิดหน่อยเมื่อเลิกกินอาหารที่คุณผลิตในที่ใต้ลม หรือปลายน้ำของบ่อระเบิดเจาะ.   แต่ผู้บริโภคหลายคน—พวกที่สนใจจริงจังว่าอาหารของพวกเขามาจากไหนและปลูกอย่างไร—จะไม่รอจนกว่าข้อมูลระดับลึกที่บอกว่าอะไรปลอดภัยหรือไม่.  สำหรับพวกเขา, แนวคิดเรื่องมลภาวะก็แย่พอๆ กับของจริงแล้ว.  เคน จาฟฟี, ผู้เลี้ยงวัวด้วยหญ้าในภาคเหนือของรัฐนิวยอร์ก กล่าวว่า, “เนื้อวัวของผมขายตัวเองได้.  ฟาร์มของผมบริสุทธิ์.  แต่ภัตตาคารไม่ต้องการไปเยี่ยมและเห็นบ่อระเบิดเจาะอยู่ที่ขอบฟ้า”.
Nor do the 16,200 members of the Park Slope Food Co-op in Brooklyn, which buys one cow per week from Jaffe. “If hydrofracking is allowed in New York State, the co-op will have to stop buying from farms anywhere near the drilling because of fears of contamination,” says Joe Holtz, general manager of the co-op. That’s $4 million in direct sales, with economic multipliers up and down the local food chain, affecting seed houses, creameries, equipment manufacturers and so on.
สมาชิก 16,200 คนของสหกรณ์อาหาร พาร์คสโลป ในบรู๊คลิน, ที่ซื้อวัวหนึ่งตัวทุกสัปดาห์จากจาฟฟี.  “หากการระเบิดเจาะด้วยแรงดันน้ำ ได้รับอนุญาตในรัฐนิวยอร์ก, สหกรณ์ของเราก็ต้องหยุดซื้อจากฟาร์มไหนๆ ที่อยู่ใกล้บ่อนระเบิดเจาะ เพราะความกลัวการปนเปื้อน”, โจ ฮอลท์, ผู้จัดการทั่วไปของสหกรณ์.  นั่นเป็นการขายตรง $4 ล้าน, พร้อมกับการทวีคูณทางเศรษฐกิจทั้งขาขึ้นและขาลงในห่วงโซ่อาหารท้องถิ่น, มีผลต่อร้านค้าเมล็ด, โรงงานทำเนย, อุปกรณ์อุตสาหกรรมต่างๆ ฯลฯ.
Already, wary farmers in the Marcellus are seeking land away from the shale. The outward migration is simultaneously raising prices for good farmland in the Hudson River Valley, which lies outside the shale zone, and depressing the price of land over the Marcellus. According to John Bingham, an organic farmer in upstate New York who is involved in regional planning, lower prices entice absentee investors to buy up farmland and gain favorable “farm rate” tax breaks, even as they speculate on the gas boom. “Fracking is not a healthy development for food security in regions near fracking or away from it,” Bingham concludes.
เกษตรกรที่ระวังตัวในมาร์เซลลัส กำลังมองหาที่ดินที่ไกลจากชั้นหิน.  การย้ายถิ่นออก ได้เกิดขึ้นพร้อมกับราคาที่ดินฟาร์มดีๆ ที่สูงขึ้นในแถบลุ่มน้ำฮัดสัน, ซึ่งตั้งอยู่นอกเขตชั้นหิน, และก็กดราคาของที่ดินในมาร์เซลลัส.  ตามความเห็นของจอห์น บิงแฮม, เกษตรกรอินทรีย์ในภาคเหนือของนิวยอร์ก ผู้มีส่วนร่วมในการวางแผนภูมิภาค, บอกว่า ราคาที่ตกลง ล่อใจให้นักลงทุนที่ไม่อยู่ติดที่ให้มาซื้อที่ดินและได้รับการลดหย่อนภาษีในอัตรา “ที่ดินเกษตร”, แม้ว่าที่แท้พวกเขาต้องการจะเก็งกำไรจากการขยายตัวของการขุดหาก๊าซ.  “การระเบิดเจาะไม่ใช่เป็นพัฒนาการที่ดีสำหรับความมั่นคงทางอาหารในภูมิภาคทั้งที่ใกล้หรือไกลจากมัน”, บิงแฮมสรุป.
Only recently has the Northeast’s local-foods movement reached a critical mass, to the point where colleges and caterers trip over themselves in the quest for locally sourced and sustainably grown products. (New York has the fourth-highest number of organic farms in the nation.) But the movement’s lofty ideals could turn out to be, in shale-gas areas, a double-edged sword. “People at the farmers’ market are starting to ask exactly where this food comes from,” says Stephen Cleghorn, a Pennsylvania goat farmer.
เมื่อเร็วๆ นี้เอง ที่การเคลื่อนไหวของอาหารท้องถิ่นในแถบตะวันออกเฉียงเหนือ ได้บรรลุมวลวิกฤต, ถึงจุดที่ว่า วิทยาลัยและผู้ประกอบการโภชนาการ หันไปใช้ผลิตภัณฑ์ที่มาจากแหล่งในท้องถิ่นและเลี้ยง/ปลูกด้วยวิธีที่ยั่งยืน.  (นิวยอร์กมีฟาร์มอินทรีย์มากเป็นอันดับสี่ของประเทศ)   แต่อุดมคติสูงส่งของการขับเคลื่อนนี้ อาจกลายเป็นดาบสองคมในบริเวณที่มีก๊าซชั้นหิน.   “ผู้คนที่ตลาดนัดเกษตรกร เริ่มถามว่า อาหารที่จะซื้อนั้น มาจากที่ไหนแน่”, สตีเฟน เคล็กฮอร์น, เกษตรกรเลี้ยงแพะ, ในเพนซิลเวเนียกล่าว.
With a watchful eye on Pennsylvania’s turmoil, many New York farmers have started to test their water pre-emptively, in the event that Governor Andrew Cuomo lifts the state’s current moratorium on fracking. And in the commercial kitchens of a city obsessed with the provenance of its prosciutto, chefs like Heather Carlucci-Rodriguez, a founder of Chefs for the Marcellus and the executive pastry chef at Manhattan’s Print Restaurant, are keeping careful tabs on their regional suppliers.
ด้วยสายตาที่เฝ้าระวังต่อความสับสนวุ่นวายในเพนซิลเวเนีย, เกษตรกรนิวยอร์กได้เริ่มกรวดน้ำก่อน, ในโอกาสที่ ผู้ว่าแอนดรูว์ คูโอโม ได้ยกเลิกคำสั่งห้ามการระเบิดเจาะ
ของรัฐ.   และในครัวพาณิชย์ของเมืองที่หมกมุ่นอยู่กับแหล่งผลิตวัสดุ, เช็ฟ เช่น เฮตเตอร์ คาร์ลูซี-รอดริกัส, ผู้ก่อตั้ง “เช็ฟเพื่อมาร์เซลลัส” และ เช็ฟขนมอบระดับบริหารของภัตตาคารปริ๊นท์, กำลังเฝ้าติดตามแหล่งผลิตในภูมิภาคอย่างระมัดระวัง.
“I have a map of the Marcellus and my farmers on my office wall,” Carlucci-Rodriguez says at the Brooklyn winery event. “So far, I haven’t stopped buying from any- one. But I’m a believer in the precautionary principle.” She nods to a colleague who’s dishing up summer squash with peach slices and ricotta. “We shouldn’t have to be defending our land and water,” she says with a sigh. “We should be feeding people.”
“ฉันมีแผนที่ของมาร์เซลลัส และ เกษตรกรของฉันบนผนังออฟฟิศของฉัน”, คาร์ลูซี-รอดริกัส กล่าวที่กิจกรรมที่ไร่องุ่นบรู๊คลิน.  “ถึงเดี๋ยวนี้, ฉันยังไม่ได้หยุดซื้อจากใครเลย,  แต่ฉันเป็นคนที่เชื่อในหลักการระวังไว้ก่อน”.  เธอผงกหัวให้เพื่อนร่วมงาน ที่กำลังกินน้ำเต้ากับชิ้นพีชและริคอตตา.  “เราไม่ควรจะต้องมานั่งปกป้องที่ดินและน้ำ”, เธอกล่าวพร้อมกับถอนหายใจ.  “เราควรจะทำอาหารเลี้ยงประชาชน”.
© 2012 The Nation

Elizabeth Royte is the author of Garbage Land: On the Secret Trail of Trash and Bottlemania: How Water Went On Sale and Why We Bought It.
อลิซาเบธ รอยต์ เป็นผู้เขียน “แดนขยะ: บนรอยทางลับของกากเดน” และ “ขวดบ้าคลั่ง: น้ำกลายเป็นสินค้าขายได้อย่างไร และ ทำไมเราถึงซื้อมัน”.
Published on Friday, November 30, 2012 by The Nation
ดรุณี ตันติวิรมานนท์ แปล

Solid State Max • 4 days ago

NO to fracking, YES to hemp for agricultural victory !
3  
Southernfink > Solid State Max • 3 days ago

Before fracking was allowed the way it is done on the scale that this fine article implies certain laws having to do with the water ,were changed by the Bush administration.
I am totally in favour of having all people responsible charged with negligence ,But what a huge Irony with Bush owning that huge ranch in Paraguay.... the one with enough fresh water to start exporting it globally.
2  
Solid State Max > Southernfink • 3 days ago

I was checking out the extended documentary on fracking and it looks like more Texans are just as pissed off on this in large part due to this taking place in the suburban areas of the state. Interestingly, most of those places are "flaming red" politically speaking. Would like to see Bush's ranch in Midland, TX fracked there and fall apart. That said, I still don't forget Obama proudly endorsing fracking in his convention speech. Crummy politicians !
2  
Southernfink > Solid State Max • 3 days ago

From memory that place is of the grid and was set up for self sufficiency ,it even has its own gas well.
Due to security concerns he had to move to a smaller place but he still owns it.If anything I agree he should reap what he sowed and go drink the water he helped pollute and breath the air and absorb the pollution he has been part of creating.
1  
beaglebailey > Southernfink • 3 days ago

Can't laws passed ny one administration be changed back?
Couldn't Barry reverse what the Dick did or open up the secrets?
I am asking could.
I know Barry is crooked, just wondering.
The things humans have done to the animals is beyond abhorrent.
From slaughtering the buffalo, wolves and so many others is beyond sick.
My heart breaks reading what the cows in just this story have suffered.
Add in the factory farms, the slaughter houses,....
And then what we do to other humans.
If man was really made in God's image, he is one sick fuck.
Sorry for the rant.
1  
Southernfink > beaglebailey • 3 days ago

Barry might be head of state and the recipient of a nobel ,but when it comes to looking after the interests of the commoners they are left wanting while the interests of big money is carefully looked after.
The backbone of any succesfull society is a healthy & working farming industry in which both beef and vegestables are dependent on water.
In times of drought rain fed dams will run low and farmers will need to drill down to irrigate their crops and to give livestock their drink.
When this live saving resource is deliberately polluted by fracking,every single future generation after us will suffer ,in a way this is some sort of ethnic cleansing as only the very rich will end up with clean drinking water.
No considering the circumstances about what is happening I didnt mind youre little rant at all.

Btw Bush Cheney and Obama are all distant cousins
1  
Plains_Edge • 4 days ago

Incredible article. Thank you, Nation! This needs to be shared widely...
3  
MonkesTale • 4 days ago

I'm surprised that there are not more comments on this article. We live in troubled times not knowing quite what to think. We want cheap energy, but it is killing us slowly.
2  
Inspector47 • 4 days ago

I'm sure the oil companies and natural gas companies will be glad to get into the food business and sell us some food after they destroy our food. The free market, capitalism at it's best, this is America!
1  
Matthew Grebenc • 4 days ago −

Energy is money is power. To give up energy you have to give up power. And so much of it is simply wasted on pointless wars intended to maintain the status quo. We have to get our energy from somewher other than fossil fuels, and we know how. We don't need to be divided into haves and have nots. We don't need to waste our hard-earned luck maintaining a pointless consumption behavior akin to nihilism. When you stare into the abyss, it stares back. Let people live the way they wish to live, free to speak, create, and cooperate towards a common goal. Don't hinder them with this illusion of debt that steals their power to act. The game of capitalism and who is on top is not more important than all future generations. It is madness to believe otherwise, and blindness to not see that this is the very choice we have to make, between those two things.

http://youtu.be/CsgaFKwUA6g

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น